1 / 35

การส่งเสริมพัฒนาการ สำหรับเด็กวัยต่าง ๆ

การส่งเสริมพัฒนาการ สำหรับเด็กวัยต่าง ๆ. หน้าต่างของโอกาสการเรียนรู้. หน้าต่างของโอกาสการเรียนรู้. การเล่น. คือ การเรียนรู้ คือ การพัฒนาอย่างมีชีวิตชีวา คือ งานของเด็ก. การเล่น ... ช่วยเปิดประตูสู่การเรียนรู้ การเล่น ... คือช่วงเวลาที่มีความสุขของวัยเด็ก.

Télécharger la présentation

การส่งเสริมพัฒนาการ สำหรับเด็กวัยต่าง ๆ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การส่งเสริมพัฒนาการสำหรับเด็กวัยต่าง

  2. หน้าต่างของโอกาสการเรียนรู้หน้าต่างของโอกาสการเรียนรู้

  3. หน้าต่างของโอกาสการเรียนรู้หน้าต่างของโอกาสการเรียนรู้

  4. การเล่น • คือ การเรียนรู้ • คือ การพัฒนาอย่างมีชีวิตชีวา • คือ งานของเด็ก การเล่น ... ช่วยเปิดประตูสู่การเรียนรู้ การเล่น ... คือช่วงเวลาที่มีความสุขของวัยเด็ก

  5. การเล่นคือ ธรรมชาติและงานของเด็ก

  6. การเล่น คือการเรียนรู้ของเด็ก

  7. การเล่นที่เหมาะสมกับพัฒนาการการเล่นที่เหมาะสมกับพัฒนาการ แรกเกิดถึง 3 เดือน • ของเล่นที่กระตุ้นประสาทสัมผัสทั้ง 5 • พ่อแม่และคนเลี้ยง เป็นของเล่นที่ดีที่สุด • อุ้มพูดคุย มองหน้าสบตา ร้องเพลงกล่อมเด็ก การเล่นปูไต่ • แขวนของเล่น เช่น ปลาตะเพียน มองกระจก หัดเป่าปาก

  8. การเล่นที่เหมาะสมกับพัฒนาการการเล่นที่เหมาะสมกับพัฒนาการ 4 - 6 เดือน • เริ่มเล่นอย่างมีจุดมุ่งหมาย มีความสังเกต สนใจการเคลื่อนไหวแขนขา คว้าของใกล้ตัว • ร้องเพลงโยกเยก กรุ๊งกริ๊ง ตุ๊กตานุ่มๆ พื้นผิวต่างๆ • เล่นร่วมไปกับการใช้ชีวิตประจำวันของเด็ก เช่น การอาบน้ำ • เลียนแบบเสียงพูดคุย คำซ้ำ ๆ

  9. การเล่นที่เหมาะสมกับพัฒนาการการเล่นที่เหมาะสมกับพัฒนาการ 6 – 9 เดือน • เริ่มเคลื่อนไหวได้เอง มีทักษะภาษาที่ดีขึ้น • เล่นจ๊ะเอ๋ ตบแปะ ร้องเพลงที่มีการตอบสนอง มีท่าประกอบ เช่น นิ้วโป้งอยู่ไหน จับปูดำ แมงมุมขยุ้มหลังคา • เล่นกลิ้งลูกบอล (พัฒนากล้ามเนื้อ สร้างปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น) • ของเล่นสำหรับกัด (ในช่วงต้นเด็กจะเริ่มสำรวจของ เล่นด้วยปาก ต่อมาจึงเริ่มใช้มือ นิ้วในการ สำรวจสิ่งของ)

  10. การเล่นที่เหมาะสมกับพัฒนาการการเล่นที่เหมาะสมกับพัฒนาการ 9 -12 เดือน • เริ่มเข้าใจภาษาท่าทางของพ่อแม่ • หัดให้เด็กชี้รูปภาพจากหนังสือ • ร้องเพลงที่มีภาษาคล้องจอง เพลงกล่อมเด็ก ฝึกให้เด็กคุ้นเคยกับเสียงต่าง ๆ • ตุ๊กตาหุ่น ของเล่นลากจูง

  11. การเล่นที่เหมาะสมกับพัฒนาการการเล่นที่เหมาะสมกับพัฒนาการ 12 - 24 เดือน • เริ่มเคลื่อนไหวได้อย่างเป็นอิสระ สื่อสารกับผู้อื่นได้ • อยากทำสิ่งต่าง ๆ ด้วยตัวเอง • เกมไล่จับ เลียนแบบงานบ้าน การร้องเพลง ทำท่าประกอบเข้าจังหวะ • อ่านหนังสือให้ลูกฟัง และให้เด็กมีส่วนร่วม

  12. การเล่นที่เหมาะสมกับพัฒนาการการเล่นที่เหมาะสมกับพัฒนาการ 24 - 36 เดือน • พัฒนาการทางภาษาเพิ่มขึ้นอย่างมาก • การเล่านิทาน ช่วยสร้างความรักผูกพัน เด็กมีจินตนาการ ปลูกฝังคุณธรรม เสริมสร้างพัฒนาการทางภาษา • การเล่นภาพต่อง่าย ๆ ฝึกขีดเขียน การเล่นสมมติ • พูดคุย ตอบคำถามของเด็กด้วยท่าทีที่สนใจ

  13. สิ่งสำคัญ : ความปลอดภัย • ตรวจสภาพอุปกรณ์ ของเล่นที่ซื้อมาให้ดี ทั้งในเรื่องความปลอดภัย การใช้งาน และข้อจำกัด รวมทั้งประโยชน์ของอุปกรณ์ เช่น • รถเข็นเด็กอ่อน • เปลเด็ก เตียงเด็ก • รั้วกั้น • เครื่องเล่น เช่น ชิงช้า • ฯลฯ

  14. เลือกของเล่นให้ปลอดภัยเลือกของเล่นให้ปลอดภัย • ผ่านมาตรฐานบังคับอุตสาหกรรม (เครื่องหมาย มอก.) • ไม่มีเหลี่ยมมุมคม • ชิ้นส่วนไม่เลื่อนหลวม • ไม่มีชิ้นส่วนเล็ก ๆ ที่อาจเลื่อนหลุดมาได้ • แน่ใจว่าสีที่ใช้ไม่เป็นพิษ • ตรวจสอบความน่าเชื่อถือของบริษัทห้างร้าน ที่ซื้อของเล่น

  15. ของเล่นที่ไม่ควรให้เด็กเล็กเล่นของเล่นที่ไม่ควรให้เด็กเล็กเล่น • ใช้กระแสไฟฟ้าในการทำงาน • ปล่อยชิ้นส่วนให้พุ่งออกไปได้ • มีเสียงดังมาก ซึ่งจะทำอันตรายประสาทหู • มีเชือกหรือสายที่ยาวกว่า 20 ซม. • มีส่วนประกอบที่แหลมคม • ไม่ทนทาน ดึงหลุดออกเป็นชิ้นเล็ก ๆ ได้ • ทำจากสีชนิดที่เป็นพิษต่อร่างกาย

  16. ทารกอายุ 3-5 เดือนขึ้นไป จะเรียนรู้ • สิ่งแวดล้อมด้วยการเอาสิ่งของเข้าปาก อาจทำให้สำลัก อุดตันทางเดินหายใจ • อย่าให้เด็กอยู่กับของชิ้นเล็กโดยลำพัง • ควรเลือกกุ๊งกิ๊ง ที่ไม่มีชิ้นส่วนเล็กที่แตกหักออกได้ง่าย • ขนาดของหัวและด้ามต้องใหญ่พอที่เด็กจะเอาเข้า • ปากไม่ได้ • ไม่สามารถลอดช่องขนาด 3.5 X 5 ซม. ได้

  17. เด็กเล็กอายุต่ำกว่า 3 ปี ต้องเลือกของเล่นที่มีขนาดใหญ่กว่าที่เด็กจะใส่เข้าปากได้เพื่อป้องกันการสำลักเศษชิ้นส่วนไปอุดกั้นทางเดินหายใจ - โดยตรวจดูรายละเอียดที่ ฉลากของเล่น สังเกตอายุ เด็กและคำเตือน - หาแกนกระดาษชำระ มาใช้เทียบขนาดของเล่น 4.4 ซม. (1 ¾ นิ้ว) ไม่ควรให้เด็กเล่นของเล่นที่มีขนาดเล็กกว่าทรงกระบอกขนาด เส้นผ่าศูนย์กลาง 3.17 ซม. และความยาว 5.17 ซม.

  18. “ลูกโป่ง”ไม่ใช่สิ่งที่ควรนำมาให้เด็กเล่น“ลูกโป่ง”ไม่ใช่สิ่งที่ควรนำมาให้เด็กเล่น • ทำมาจากแผ่นยางบาง ๆ ถ้าเด็กคว้าลูกโป่งที่ยังไม่ได้เป่ามาอมในปาก อาจหลุดลงคอไปอุดทางเดินหายใจได้ • ถ้าเด็กโตพอจะเป่าลูกโป่งได้ เป่าแล้วลูกโป่งเกิดแตก แล้วเด็ก สูดหายใจเข้า ทำให้ เศษยางหลุดเข้าในคอได้ ไม่ควรให้เด็กอายุน้อยกว่า 8 ปี เล่นลูกโป่งที่ยังไม่ได้เป่าหรือเศษลูกโป่งโดยลำพัง

  19. ของเล่นที่เขย่ามีเสียง ควรมีน้ำหนักเบา เพราะอาจเขย่ามาฟาดหน้าได้ • ยางที่ใช้กัด ไม่ควรมีส่วนยืดยาวมากจนมากระแทกบริเวณคอ • ไม่ควรมีช่องเล็กมากจนเด็กอาจเอามือเข้าไปติด • ตุ๊กตาสัตว์อาจทำให้เด็กที่เป็นภูมิแพ้ เกิดอาการมากขึ้น และต้องระวังชิ้นส่วนตา หูของตุ๊กตา

  20. ของเล่นที่ใช้ถ่านควรเป็นถ่านก้อนใหญ่ หรือถ้า ใช้ถ่านขนาดเล็กจะต้องใช้ไขควงไขก่อนจะถึง ก้อนถ่าน • ของเล่นในสนาม ควรวางบนพื้นที่นิ่ม (พื้นยางสังเคราะห์ พื้นทรายที่ลึก 20 ซม.ขึ้นไป) ไม่ควรอยู่บนคอนกรีต • ไม่ปล่อยให้เด็กเล็กเล่นในสระน้ำพลาสติกคนเดียว แม้ว่าระดับน้ำไม่สูงนัก เด็กก็อาจจะจมน้ำได้ • หมั่นตรวจตราความปลอดภัย สอนกฎระเบียบความปลอดภัย

  21. สิ่งสำคัญ : ความผูกพัน • เด็กทารกต้องการความอบอุ่น และต้องการให้คนในครอบครัวเล่นด้วย • อย่าลืมพูดคุย ร้องเพลง และเล่นกับลูก • กระตุ้นพัฒนาการอย่างนุ่มนวล ด้วยเลียงดนตรี สีสัน เสียงพูด การโยกเบา ๆ • ของเล่นชิ้นใหญ่ที่สุดของลูก คือ พ่อแม่ • สร้างสายใยแห่งความผูกพันที่ลึกซึ้งกับลูก

  22. สิ่งสำคัญ : ของเล่นทำเอง • สอนให้ลูกมีทักษะต่าง ๆ เช่น ส่งเสริมการประสานระหว่างมือและตา • พัฒนาความคิดสร้างสรรค์ • เป็นของพิเศษสำหรับลูก ยิ่งกว่าของเล่นชิ้นใด ๆ

  23. สรุป : สื่อช่วยพัฒนาเด็ก การเล่นและของเล่น การอ่าน การเล่านิทาน ดนตรี การวาด และศิลปะ

  24. การอ่านและการเล่านิทานสำหรับเด็กปฐมวัยการอ่านและการเล่านิทานสำหรับเด็กปฐมวัย

  25. ช่วยให้เกิดเพลิดเพลิน สนุกสนาน พัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ ความคิดสร้างสรรค์และการแก้ปัญหา พัฒนาทักษะภาษา และการฟัง การจับประเด็นเรื่องราว ช่วยเสริมสร้างจินตนาการตามเนื้อเรื่อง ลดความเครียด ความกลัว หรือ ความวิตกกังวลที่มีในเด็กได้ด้วย ประโยชน์ของการเล่นนิทานในเด็ก

  26. เล่านิทานให้เด็กวัยก่อนเรียนฟังทุกวัน อย่างน้อยวันละ 15 นาที เลือกช่วงเวลาที่ผ่อนคลาย เช่นก่อนนอน หรือ ตอนเย็น เล่าด้วยท่าทีสนุกสนาน และ หาจุดสนใจในเรื่อง เลือกหนังสือนิทาน ที่เหมาะสม ให้ดูรูปภาพ พร้อมกับให้เด็กชี้ตาม เล่านิทานบางเรื่องที่เด็กชอบซ้ำๆ แล้วให้เด็กเล่าเองบ้าง หรือบางครั้งให้เด็กเติมประโยค หรือ คำพูดที่ขาดหายไป ถ้าเด็กมีจินตนาการที่จะเล่าเรื่องที่คิดขึ้นได้เอง พ่อแม่ควรเปิดโอกาสให้เด็กได้เล่า และแนะนำเพิ่มเติมให้กับเด็ก เทคนิคการเล่านิทาน

  27. แรกเกิดถึง 6 เดือน: พูดคุย ให้เด็กรู้จักเสียงสูงต่ำ ร้องเพลงให้เด็กฟัง 7 – 12 เดือน: หัดให้เลียนเสียง เริ่มให้ดูรูปภาพหรือหนังสือที่มีภาพประกอบ อ่านคำบรรยายให้เด็กฟังบ่อย ๆ 1-2 ปี: - หาหนังสือที่มีภาพประกอบ ชี้ให้เด็กดู ถามว่าเป็นรูปอะไร เปิดโอกาสให้เด็กเปิดหนังสือดูเอง - อ่านหนังสือหรือเล่านิทานให้เด็กฟังทุกวัน กิจกรรมการอ่านและเล่านิทาน

  28. 3 ปี: ให้เด็กดูหนังสือที่มีรูปภาพประกอบ อ่านนิทานที่มีความยาวเพิ่มขึ้น ให้เด็กพูดคุยเกี่ยวกับนิทาน อ่านโคลงกลอนสั้น ๆให้เด็กฟัง 4 ปี: อ่านหนังสือให้เด็กฟังบ่อย ๆ เปิดโอกาสให้เด็กหัดอ่านหรือสะกดคำ ทำอย่างสม่ำเสมอ เล่านิทานที่ซับซ้อนมากขึ้น เปิดโอกาสให้เด็กเล่า หรือทำท่าประกอบ 5 ปี: พ่อแม่เป็นตัวอย่างที่ดีในการอ่านหนังสือให้เด็กเห็น อ่านไปพร้อมกับเด็ก ชมเชยถ้าเด็กอ่านได้ถูกต้อง พาเด็กไปห้องสมุด กิจกรรมการอ่านและเล่านิทาน

  29. ดนตรีและเสียงเพลง ช่วยในการพัฒนาภาษา ทักษะด้านมิติสัมพันธ์ และความภาคภูมิใจในตนเองของเด็ก Mozart effect ช่วยให้เพิ่มความยืดหยุ่นด้านการคิด เพิ่มทักษะด้านการใช้เหตุผล พัฒนาการทำงานที่เป็นระบบมากขึ้น

  30. กิจกรรมทางดนตรี พยายามร้องเพลงให้เด็กฟังบ่อย ๆ ขณะอุ้มเด็ก ควรร้องเพลงและเคลื่อนไหวตาม จังหวะเพลง อ่านบทอาขยาน คำสัมผัสให้เด็กฟังบ่อย ๆ เปิดโอกาสให้เด็กรับรู้เสียงรอบตัว เลียนเสียง ตาม ประกอบเครื่องดนตรีง่าย ๆ ให้เด็กลองเล่น

  31. กิจกรรมทางดนตรี เปิดเพลงหลายชนิด หลายจังหวะ ให้เด็กฟัง และร้องตาม อธิบายเนื้อหาของบทเพลงให้ เด็กฟัง เล่านิทานประกอบเพลง หรือมีกิจกรรมเข้า จังหวะ บันทึกเทปการแสดงให้เด็กดู ชมเชยอย่าง สม่ำเสมอ สนับสนุนให้เด็กมีโอกาสเล่นเครื่องดนตรีง่าย ๆ

  32. Thank you for your attention

More Related