1 / 27

C. นโยบายเกี่ยวกับความยากจนและการกระจายรายได้

C. นโยบายเกี่ยวกับความยากจนและการกระจายรายได้. แบ่งนโยบายได้ 4 กลุ่ม : เศรษฐกิจมหภาค รายสาขา พัฒนาสถาบัน เน้นเฉพาะกลุ่มเป้าหมาย. นโยบายเศรษฐกิจมหภาค : การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจโดยรวม ช่วยลดความยากจน นโยบายการคลัง-การเงิน นโยบายส่งเสริมการส่งออก การลงทุน. นโยบายรายสาขา :

Télécharger la présentation

C. นโยบายเกี่ยวกับความยากจนและการกระจายรายได้

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. C. นโยบายเกี่ยวกับความยากจนและการกระจายรายได้

  2. แบ่งนโยบายได้ 4 กลุ่ม: • เศรษฐกิจมหภาค • รายสาขา • พัฒนาสถาบัน • เน้นเฉพาะกลุ่มเป้าหมาย

  3. นโยบายเศรษฐกิจมหภาค: • การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจโดยรวม ช่วยลดความยากจน • นโยบายการคลัง-การเงิน • นโยบายส่งเสริมการส่งออก การลงทุน

  4. นโยบายรายสาขา: • เกษตรกรรม: สินเชื่อ พยุงราคา วิจัย&พัฒนา กรรมสิทธิ์ในที่ดิน พัฒนาแหล่งน้ำ • อุตสาหกรรม: ส่งเสริมอุตสาหกรรมส่งออก กระจายนิคมฯ ไปภูมิภาค • การศึกษา: บริการศึกษาพื้นฐานฟรี 15 ปี

  5. นโยบายการพัฒนาสถาบัน • พัฒนาชุมชนชนบท • ส่งเสริมกลุ่มออมทรัพย์ • ปฏิรูประบบบริหารราชการ

  6. เน้นเฉพาะกลุ่มเป้าหมายเน้นเฉพาะกลุ่มเป้าหมาย • พัฒนาแหล่งน้ำในหมู่บ้านเป้าหมาย • สวัสดิการสังคมสำหรับกลุ่มคนจนดักดาน

  7. วิเคราะห์นโยบายที่มีผลโดยตรงต่อการแก้ปัญหาความยากจนและการกระจายรายได้วิเคราะห์นโยบายที่มีผลโดยตรงต่อการแก้ปัญหาความยากจนและการกระจายรายได้ • แผนพัฒนาฯ 4 – 7 + 9: ระบุวัตถุประสงค์/เป้าหมายการแก้ปัญหาความยากจนและการกระจายรายได้ เช่น • การกระจายความเจริญสู่ชนบท • สัดส่วนคนจนไม่เกิน 12% ในปี 2529 • ใช้ภาษีมรดก และภาษีทรัพย์สิน

  8. โครงการจ้างงานในชนบท (เงินผัน) ปี 2518 เน้นการจ้างงานนอกฤดูกาล • โครงการอีสานเขียว ปี 2530 เน้นพัฒนาแหล่งน้ำและทรัพยากรธรรมชาติในอีสาน

  9. การใช้จ่ายของรัฐบาลในด้านเกษตร:การใช้จ่ายของรัฐบาลในด้านเกษตร: • เป้าหมาย: เพิ่มรายได้และศักยภาพของเกษตรกร (เน้นรายย่อยและยากจน) • การผลิต: แหล่งน้ำ ดิน/ที่ดิน วิจัยพันธุ์พืช/สัตว์ แนะนำ/ส่งเสริม/ถ่ายทอดเทคโนโลยี ลดการปลูกพืชเดี่ยว แต่การผลิตต่อไร่ของพืชหลักเพิ่มขึ้นไม่มาก

  10. การใช้จ่ายของรัฐบาลในด้านเกษตร:การใช้จ่ายของรัฐบาลในด้านเกษตร: • การตลาด: • เน้นแทรกแซงเพื่อพยุงราคา (ข้าว มันสำปะหลัง ยางพารา) • พยุงราคาข้าวโดย “คุมปริมาณข้าวเปลือกออกสู่ตลาด” เช่น รับจำนำข้าวเปลือก และโดย “แทรกแซงราคาข้าวสาร”

  11. การใช้จ่ายของรัฐบาลในด้านเกษตร:การใช้จ่ายของรัฐบาลในด้านเกษตร: การตลาด: ยังไม่ได้ผลนัก และขาดการเชื่อมโยงกับแผนผลิต เพิ่งเริ่มตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้า รัฐบาลทักษิณริเริ่มการรวมกลุ่มประเทศผู้ผลิตยางและข้าว รัฐบาลอภิสิทธิ์ริเริ่มการประกันรายได้เกษตรกร สินเชื่อผ่าน ธกส. ลดบทบาทสินเชื่อนอกระบบ และช่วยเกษตรกรได้ระดับหนึ่ง 12

  12. การใช้จ่ายของรัฐบาลในด้านการศึกษา:การใช้จ่ายของรัฐบาลในด้านการศึกษา: • พรบ. การศึกษาแห่งชาติ 2542 ระบุภารกิจของรัฐจัดบริการศึกษาพื้นฐาน 15 ปี • ลงทุนสูงกว่าหลายประเทศ แต่อัตราการเข้าเรียนมัธยมยังต่ำ และความสามารถด้านการแข่งขันทางการศึกษายังน้อย • ยังมีความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาระหว่างเมืองกับชนบท

  13. การใช้จ่ายของรัฐบาลในด้านการศึกษา:การใช้จ่ายของรัฐบาลในด้านการศึกษา: • รัฐลงทุนในระดับอุดมศึกษามากเกินไป เทียบกับระดับอื่น • วิธีการอุดหนุนการศึกษายังไม่ช่วยให้พ่อแม่ส่งลูกเข้าเรียน • เงินกู้เพื่อการศึกษา ปล่อยกู้ให้นักเรียนที่ยากจนจริง?

  14. การใช้จ่ายของรัฐบาลในด้านสาธารณสุข:การใช้จ่ายของรัฐบาลในด้านสาธารณสุข: • ตัวชี้วัดสุขภาพของไทยดีขึ้นมากในช่วง 30 ปี • แต่ปัญหา: บริการสาธารณสุขระหว่างเมืองกับชนบทยังต่างกันมาก • ในปี 2539 ประชากรกว่า 50% ไม่มีประกันสุขภาพ

  15. การใช้จ่ายของรัฐบาลในด้านสาธารณสุข:การใช้จ่ายของรัฐบาลในด้านสาธารณสุข: • “30 บาท รักษาทุกโรค” ของรัฐบาลทักษิณ ช่วยได้ระดับหนึ่ง แต่ • คุณภาพบริการด้อยลง เพราะคนไข้มากขึ้น • ไม่เป็นธรรม: คนรวย คนจน จ่ายเท่ากัน • ภาระผูกพันงบประมาณรัฐสูง

  16. การใช้จ่ายของรัฐบาลในด้านสวัสดิการสังคม:การใช้จ่ายของรัฐบาลในด้านสวัสดิการสังคม: • หลักประกันรายได้ (ชดเชยเมื่อเจ็บป่วยหรือชรา) มีเฉพาะกลุ่มข้าราชการ (บำนาญ รักษาฟรี) รัฐวิสาหกิจ (สวัสดิการ) และลูกจ้างเอกชน (กองทุนประกันสังคม จ่ายโดยลูกจ้าง นายจ้าง และรัฐ) • ประมาณ 10 – 15 ล้านคนมีหลักประกันรายได้ แต่ที่เหลือ (ส่วนใหญ่ของประชากร) ไม่มีเลย เช่นเกษตรกร แรงงานนอกระบบ

  17. การใช้จ่ายของรัฐบาลในด้านสวัสดิการสังคม:การใช้จ่ายของรัฐบาลในด้านสวัสดิการสังคม: • ระบบคุ้มครองสังคมจึงยังจำกัด ไม่ทั่วถึงกลุ่มเป้าหมาย ไม่ช่วยแก้ปัญหายากจนและกระจายรายได้ • ควรมีระบบตาข่ายคุ้มครองทางสังคม (social safety net) คุ้มครองคนจนและคนเดือดร้อนอย่างทั่วถึง

  18. การใช้จ่ายของรัฐบาลในด้านสวัสดิการสังคม:การใช้จ่ายของรัฐบาลในด้านสวัสดิการสังคม: ระบบคุ้มครองสังคม (ตาข่ายคุ้มครองทางสังคม social safety net) คุ้มครองกรณีใด ใครบ้าง (ใครยากจนบ้าง?) ผู้ได้รับประโยชน์ควรมีส่วนจ่ายเข้าระบบหรือไม่ เท่าใด อย่างไร มีรัฐบาล/นายจ้างช่วยสมทบอย่างไร ทำอย่างไรจึงจะไม่ทำให้คนไม่อยากทำงาน/พึ่งตนเอง 19

  19. ชุดนโยบายแก้จนของรัฐบาลทักษิณ: ชุดนโยบายแก้จนของรัฐบาลทักษิณ: • หนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) สร้างงาน สร้างรายได้ ใช้วัตถุดิบ/ภูมิปัญญาพื้นบ้าน ปัญหาคือการผลิตไม่สอดคล้องกับการตลาด • กองทุนหมู่บ้าน หมู่บ้านละ 1 ล้านบาท ทุนหมุนเวียน ใช้ในการประกอบอาชีพ ปัญหาคือวินัยทางการเงิน (ใช้เงินผิดประเภท เบี้ยวหนี้ แบมือขอเงินรัฐ)

  20. ชุดนโยบายแก้จนของรัฐบาลทักษิณ: ชุดนโยบายแก้จนของรัฐบาลทักษิณ: • พักชำระหนี้เกษตรกร บรรเทาภาระหนี้เกษตรกรจำนวนมาก แต่เสียวินัยการเงิน และควรให้เฉพาะที่เดือดร้อน • อื่นๆ: บ้านเอื้ออาทร ธนาคาร SME ธนาคารประชาชน • ส่วนใหญ่เป็นมาตรการกึ่งการคลัง (quasi fiscal ไม่ผ่านสภาฯ) อาจก่อปัญหาภาระการคลังได้

  21. Thaksin Government Initiatives

  22. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง: ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง: • แนวคิดของในหลวงฯ • ประกอบด้วย “ทางสายกลาง” และ “เงื่อนไข” • ทางสายกลาง 3 ประการ: พอประมาณ มีเหตุผล และภูมิคุ้มกัน • เงื่อนไข 2 ประการ: ความรู้ และคุณธรรม • ในทางปฏิบัติ นำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างไร?

  23. เอา “เศรษฐกิจ พอเพียง” มาเรียงร้อย เลือกสายกลาง ไม่มากไม่น้อย ไม่หวือหวา ทันโลกา ภิวัฒน์ แนวพัฒนา ปรัชญา พระราชทาน สานใจไทย 24

  24. มีหลักการ ความพอดี เป็นที่ตั้ง มีเหตุผล ไว้เหนี่ยวรั้ง ไม่หวั่นไหว ภูมิคุ้มกัน จากผันผวน ทั้งนอกใน อีกโปร่งใส ให้ตรวจสอบ รอบคอบดี 25

  25. พร้อมเงื่อนไข ใช้หลัก วิชาการ เสริมประสาน คุณธรรม นำวิถี ต้องขยัน หมั่นเพียร เรียนวิธี สติปัญญา พาชีวี มีครบครัน 26

  26. เป็นแนวคิด ใช้ประยุกต์ ได้ทุกหมู่ สังคมสู่ ความอยู่เย็น เป็นสุขสันต์ ทั่วทุกส่วน เกิดสมดุล หนุนเนื่องกัน ชาติคงมั่น มั่งคั่ง อย่างยั่งยืน พรายพล คุ้มทรัพย์ 25 พฤศจิกายน 2549 27

More Related