1.1k likes | 1.23k Vues
The Project on Capacity Development in Disaster Management in Thailand. รายงานผลการปฏิบัติงาน และข้อคิดเห็น. คณะทำงานที่ 2. คณะทำงานจัดทำแผนที่เสี่ยงภัย. สำนักมาตรการป้องกันสาธารณภัย. บทที่. ผลการปฏิบัติงานตามภารกิจ การนำแผนที่เสี่ยงภัยไปใช้ประโยชน์ การพัฒนาต่อยอด
E N D
The Project on Capacity Development in Disaster Management in Thailand รายงานผลการปฏิบัติงานและข้อคิดเห็น คณะทำงานที่ 2 คณะทำงานจัดทำแผนที่เสี่ยงภัย สำนักมาตรการป้องกันสาธารณภัย
บทที่ • ผลการปฏิบัติงานตามภารกิจ • การนำแผนที่เสี่ยงภัยไปใช้ประโยชน์ • การพัฒนาต่อยอด • การพัฒนาศักยภาพองค์กรด้วยแผนที่เสี่ยงภัย • บทวิเคราะห์ • แผนที่เสี่ยงภัยเพื่อการกำหนดยุทธศาสตร์
ผลการปฏิบัติงานตามภารกิจผลการปฏิบัติงานตามภารกิจ บทที่ 1
คณะทำงานจัดทำแผนที่เสี่ยงภัยคณะทำงานจัดทำแผนที่เสี่ยงภัย ภารกิจ 1.ผลการปฏิบัติงานตามภารกิจ 1. การวิเคราะห์แผนที่เสี่ยงภัยด้วย GIS 1)แผนที่เสี่ยงภัยโคลนถล่มถึงระดับ ชุมชน 2)แผนที่เสี่ยงภัยน้ำท่วมถึงระดับ ชุมชน 2. ฐานข้อมูล GIS
การวิเคราะห์แผนที่เสี่ยงภัยด้วยระบบ GIS ภารกิจที่ 1 1.ผลการปฏิบัติงานตามภารกิจ
เขตพื้นที่เสี่ยงภัยแยกตามประเภทเขตพื้นที่เสี่ยงภัยแยกตามประเภท Land slide Prone area Mud &Debris Flow Prone area Flash Flood Prone area • Series of Hydraulic Hazard Prone area Inundation (Flood) Prone area
1. การวิเคราะห์แผนที่เสี่ยงภัย Parameter Position Average rainfall Slope Soil type Slope Stability Land used & land Cover etc. Analysis Weight Index M = M1W1+ M2W2 + … MnWn Overlaying HazardMap เทคนิค GIS Analysis ที่นิยมใช้จัดทำแผนที่เสี่ยงภัยปัจจุบัน Weight Index Method พื้นที่เสี่ยงภัยจะปรากฏตามตำแหน่งของข้อมูลปัจจัยบนผิวโลก
1. การวิเคราะห์แผนที่เสี่ยงภัย ผลลัพธ์ ของWeight IndexMethod หมู่บ้านเสี่ยงภัยถูกแสดงได้เพียง จุดที่ตั้ง แผนที่เสี่ยงภัย ปัจจุบันผลิตขึ้นมาเพื่อตอบสนองภารกิจของแต่ละหน่วยงานไม่สามารถให้รายละเอียดความรุนแรงของภัยในพื้นที่ชุมชนซึ่งเป็นเป้าหมายหลักของกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยได้ หากใช้ชนิดหินเป็นปัจจัย พื้นที่เสี่ยงภัยจะปรากฏอยู่บนเขาเป็นส่วนใหญ่
1. การวิเคราะห์แผนที่เสี่ยงภัย ปัญหาในการใช้แผนที่เสี่ยงภัย แบบเดิม • ตอบสนองความต้องการตามภารกิจของแต่ละหน่วยงานแต่ไม่สอดคล้องกับภารกิจของ กรม ปภ. • มีรายละเอียดไม่เพียงพอถึงระดับ เป้าหมายที่กรม ปภ. ต้องการ • กระบวนการวิเคราะห์ที่ใช้ให้ผลลัพธ์ไม่เกื้อหนุนทางด้านวิศวกรรมเพื่อการป้องกันภัย
1. การวิเคราะห์แผนที่เสี่ยงภัย ลักษณะของแผนที่เสี่ยงภัย ที่ต้องการ • แสดงรายละเอียดได้ถึงระดับ ชุมชน ง่ายต่อการทำความเข้าใจ • แสดงความรุนแรงของภัยได้ชัดเจน • ข้อมูลและแผนที่ได้มาตรฐานสากล • มีขนาดกะทัดรัด สะดวกในการนำไปใช้งาน • นำไปใช้ประโยชน์ทางด้านวิศวกรรมเพื่อการป้องกันภัยได้
1. การวิเคราะห์แผนที่เสี่ยงภัย: กรอบแนวคิด กรอบแนวคิดในการวิเคราะห์ • การวิเคราะห์ด้วย เทคนิคใหม่SpatialAnalysis ภายใต้แนวคิด“ศักยภาพของการเกิดน้ำท่วมและน้ำป่าไหลหลาก โคลนถล่ม ขึ้นอยู่กับ ศักยภาพการไหลของน้ำจากลำน้ำไปบนพื้นผิวของสภาพภูมิประเทศในบริเวณข้างเคียงหากไหลเข้าถึงง่าย ก็จะมีความเสี่ยงสูง และหากไหลเข้าถึงยาก ก็จะมีความเสี่ยงต่ำ”
1. การวิเคราะห์แผนที่เสี่ยงภัย: กรอบแนวคิด River Raster Elevation Raster Cost distance Direction Coding No Data Watershed area Flow direction ตัวอย่าง เทคนิคSpatial Analysis
1. การวิเคราะห์แผนที่เสี่ยงภัย: กรอบแนวคิด Inundation area Flood Water Surface Flood plain Flood plain Right Bank Station Left Bank Station Main Channel Normal Water Surface ศักยภาพการไหลเข้าถึงของน้ำบนพื้นผิว ของสภาพ ภูมิประเทศรอบข้าง
1. การวิเคราะห์แผนที่เสี่ยงภัย: กรอบแนวคิด กรอบแนวคิดและ Modeling น้ำท่วม พื้นที่น้ำท่วมทั้งสองข้างลำน้ำที่ระดับน้ำใดๆ คือศักยภาพการไหลเข้าถึงของน้ำบนพื้นผิวของสภาพภูมิประเทศในบริเวณสองข้างลำน้ำนั้น
1. การวิเคราะห์แผนที่เสี่ยงภัย: กรอบแนวคิด กรอบแนวคิดและ Modeling โคลนถล่ม พื้นที่เสี่ยงภัยโคลนถล่ม คือพื้นที่เชิงเขาซึ่งมีศักยภาพการไหลเข้าถึงสูง
1. ผลผลิตการปฏิบัติงานตามภารกิจ ที่ 1) แผนที่เสี่ยงภัยโคลนถล่ม ระดับตำบล ให้รายละเอียดความรุนแรงของภัยในรูปของพื้นที่และทิศทาง ตลอดจนสิ่งสาธารณประโยชน์ได้ชัดเจนจากแผนที่ 1:50000 เหมาะสำหรับใช้ในการวางแผนการดำเนินการด้านสาธารณภัย ในระดับตำบล ผลผลิต
1. ผลผลิตการปฏิบัติงานตามภารกิจ ที่ 1) แผนที่เสี่ยงภัยโคลนถล่ม ระดับชุมชน ให้รายละเอียดความรุนแรงของภัยในรูปของพื้นที่และทิศทางได้ชัดเจน มีความละเอียดถึง เห็นหลังคาครัวเรือนเมื่อใช้ร่วมกับแผนที่ภาพถ่ายทางอากาศ
1.ผลผลิตการปฏิบัติงานตามภารกิจ ที่ 1) แผนที่เสี่ยงภัยน้ำท่วมระดับตำบล ให้รายละเอียดความรุนแรงของภัยในรูปของพื้นที่และทิศทาง ตลอดจนสิ่งสาธารณประโยชน์ได้ชัดเจนจากแผนที่ 1:50000 เหมาะสำหรับใช้ในการวางแผนการดำเนินการด้านสาธารณภัย ในระดับตำบล
1.ผลผลิตการปฏิบัติงานตามภารกิจ ที่ 1) แผนที่เสี่ยงภัยน้ำท่วม ระดับชุมชน ให้รายละเอียดความรุนแรงของภัยในรูปของพื้นที่และทิศทางได้ชัดเจน มีความละเอียดถึง เห็นหลังคาครัวเรือนเมื่อใช้ร่วมกับแผนที่ภาพถ่ายทางอากาศ
ฐานข้อมูล GIS และกระบวนการ ภารกิจที่ 2
ระบบการถ่ายทอดองค์ความรู้และระบบฐานข้อมูล GIS ฐานข้อมูล GIS DDPM Head Office เตรียมหลักสูตรและวิทยากร จัดฝึกอบรม การวิเคราะห์และระบบ GIS ส่งกลับเพื่อ ปรับปรุงข้อมูล ทาง e-mail DDPM Regional Office อบรมหลักสูตร GIS และการวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงภัย วิเคราะห์และผลิตแผนที่เสี่ยงภัย ส่งกลับเพื่อ ปรับปรุงข้อมูล ทาง e-mail Provincial Office แปลงข้อมูลกลับเป็น Digital file อบรมหลักสูตร GIS พื้นฐาน แก้ไขแผนที่เสี่ยงภัยบนกระดาษ ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและประชาชนในพื้นที่ จัดพิมพ์แผนที่เสี่ยงภัยกระดาษ เพื่อนำไปใช้ Community
การจัดเก็บข้อมูล และใช้ประโยชน์ประกอบการรายงานและดำเนินการ เมื่อภัยเกิด ให้ข่าว DDPM Head Office As Historical Data ฐานข้อมูล GIS ส่งให้กรมฯ ทาง e-mail DDPM Regional Office ใช้แผนที่เดียวกันในการดำเนินการ ส่งให้ศูนย์ฯ ทาง e-mail แปลงข้อมูลกลับเป็น Digital file Provincial Office ใช้เป็นแผนที่เบื้องต้นในการสำรวจพื้นที่เกิดภัย แก้ไขขอบเขตพื้นที่เกิดภัยลงบนแผนที่เสี่ยงภัยจากการสำรวจภาคสนาม Disaster รวดเร็ว & ข้อมูลเป็นมาตรฐานเดียวกัน
การปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัยจากผลการฝึกซ้อมแผนการปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัยจากผลการฝึกซ้อมแผน GIS Database Management organization ============================================================ Update digital Map DDPM Head Office Evacuation Route& place update digital Map DDPM Regional Office Out put Community level digital Map update digital Map Provincial Office Update data in Digital format Information================================================= Out put paper Map & CDBM Community paper hazardmap print out Communication============================== CDBM result Local Information Verify &accumulate Community
ฐานข้อมูล GIS เพื่อการวางแผน • แผนที่เสี่ยงภัย • แผนทีพื้นที่ประสบภัยพิบัติ • แผนที่เตือนภัยเพื่อการอพยพ • แผนที่ทรัพยากรในพื้นที่เสี่ยงภัย และประวัติความเสียหาย • มาตรการด้านสาธารณภัยที่ดำเนินการในพื้นที่ • การประเมินผล ความเสี่ยงภัยที่ยังคงเหลือ • มาตรการที่ต้องกำหนดเพิ่มเติม, etc.
งบประมาณ 1)ได้รับงบประมาณสนับสนุน ปี 2551 จำนวน 100,000บาท 2)ได้รับงบประมาณสนับสนุน จาก JICA ซื้อข้อมูลและ ซอร์ฟแวร์ จำนวนประมาณ 400,000บาท
ผลการประเมินผลโครงการผลการประเมินผลโครงการ คณะประเมินผล จาก JICA Task Force II มีผลผลิตที่ต้องประเมิน6ผลผลิต จาก 2 ภารกิจ ผลการประเมินได้ระดับ Aทั้ง 6ผลผลิต
การเข้าร่วมงานสัมมนาและผลตอบรับการเข้าร่วมงานสัมมนาและผลตอบรับ 1) งานสัมมนา JICA “Workshop Disaster Management in Thailand and Japan” เมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม 2551 ,สยามซิตี้ โฮเต็ลกรุงเทพฯ ผลตอบรับ ดีมาก สถาบันการศึกษา 2 แห่ง ติดต่อทาบทามเพื่อให้เป็นที่ปรึกษามหาวิทยาลัยในการศึกษาทางด้าน GIS ของนิสิต(มหิดล,มหานคร)
การเข้าร่วมงานสัมมนาและผลตอบรับการเข้าร่วมงานสัมมนาและผลตอบรับ 2) งานสัมมนา MRC “Flash Flood Guidance workshop ”นครโฮจิมิน,เวียดนาม เมื่อวันที่ 12-16 พฤษภาคม 2551 ผลตอบรับ ดีมาก ผู้เข้าร่วมสัมมนาจาก 6 ประเทศได้ขออนุญาต ทำสำเนางานนำเสนอไปศึกษาและสอบถามอย่างสนใจ
การเข้าร่วมประชุมสัมมนาและผลตอบรับการเข้าร่วมประชุมสัมมนาและผลตอบรับ 3) งานประชุม TMRC(คณะอนุกรรมการลุ่มน้ำโขงแห่งประเทศไทย)ร่วมกับผู้เชี่ยวชาญจาก MRC เพื่อพิจารณาโครงการที่จะขอรับเงินสนับสนุนให้ดำเนินการด้านป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ในลุ่มน้ำโขงประเทศไทย ที่กรมทรัพยากรน้ำ เมื่อ 4 สิงหาคม 2551 กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ได้นำเสนอกรอบแนวคิดโครงการจัดทำแผนที่เตือนภัยเพื่อการอพยพจากโคลนถล่ม ในลุ่มน้ำกก จ.เชียงราย ผลตอบรับดีมาก ที่ประชุมมีฉันทามติให้เพิ่มรายชื่อโครงการเข้าในบัญชีโครงการได้ และให้เลือกเป็นโครงการที่จะเสนอของบประมาณจาก MRC ต่อไป โดยไม่ต้องประชุมอีก ผู้เชี่ยวชาญของ MRC และบริษัทที่ปรึกษา เมกก้าเทคฯได้ขออนุญาต ทำสำเนางานนำเสนอไปศึกษาและสอบถามอย่างสนใจ
ปัญหา/อุปสรรค • ด้านข้อมูล • ด้าน ฮาร์ดแวร์ • ด้านซอร์ฟแวร์ • ด้านบุคลากรและองค์กร • ด้าน กระบวนการและแนวคิด
ปัญหา/อุปสรรค ข้อมูล(DATA) • ข้อมูล ในประเทศมีใช้อยู่ 2 มาตรฐานอ้างอิง คือ Indian1975(L7017) และ WGS1984 (L7018) ต้องมีการปรับแก้ก่อนนำไปใช้ ซึ่งต้องทำโดยผู้ชำนาญการและต้องดำเนินการในคราวเดียวเพื่อยึดเป็นมาตรฐานอ้างอิง • ข้อมูล GIS ที่แต่ละหน่วยงานผลิตขึ้นมา มีรายละเอียดและโครงสร้างฐานข้อมูลไม่เหมือนกัน หลากหลายมาตรฐานและความละเอียด ทำให้นำมาใช้ร่วมกันลำบากและยากต่อการปรับแก้ บางครั้งการผลิตขึ้นใหม่ใช้เวลาน้อยกว่า • ข้อมูลบางอย่างจำเป็นที่ต้องผลิตขึ้นมาใหม่เพื่อตอบสนองภารกิจของแต่ละกรมโดยเฉพาะเท่านั้น ไม่สามารถใช้ข้อมูลทุติยภูมิจากหน่วยงานอื่นๆได้ และบุคคลากรยังมีความจำเป็นต้องพัฒนาองค์ความรู้ด้าน GIS ให้ถึงระดับตามเกณฑ์กำหนด • โครงสร้างฐานข้อมูลของกรม ปภ. มีหลายมาตรฐานแต่ยังไม่มีการเชื่อมโยงข้อมูลของหน่วยงานภายในให้สามารถใช้ร่วมกันได้
ปัญหา/อุปสรรค ข้อมูล(DATA) แนวทางในการแก้ไข • ชั้นขอมูล GIS ต้องจัดเตรียมและปรับแก้จากส่วนกลางให้เป็นมาตรฐานเดียวก่อนแจกจ่ายให้ศูนย์และจังหวัดนำไปใช้ต่อยอด,แก้ไขเพิ่มเติมและปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัย จึงจะสามารถนำมารวมกันในภาพรวมประเทศได้ • ฝึกอบรมเพื่อพัฒนาบุคลากรให้สามารถ ปรับแก้และการสร้างข้อมูลใหม่ได้โดยส่วนกลางจัดเตรียมแผนที่ฐานและข้อมูล รวมทั้งคู่มือดำเนินการ เพื่อให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน • กำหนดมาตรฐานโครงสร้างของฐานข้อมูลภายในกรมให้มีมาตรฐานเดียวกันเพื่อเตรียมตำแหน่งในการเชื่อมต่อกับฐานข้อมูลกลางซึ่งจะทำให้แต่ละหน่วยของกรมแชร์ข้อมูลใช้ร่วมกันได้ และสามารถเชื่อมต่อกับฐานข้อมูลของหน่วยงานภายนอกอื่นได้ • พัฒนาวิธีการสำรวจจัดเก็บข้อมูลและแผนที่ เพื่อ จัดทำ ตรวจสอบ ปรับแก้ โดยใช้เครื่องมือเทคโนโลยีที่ทันสมัย รวดเร็ว และเหมาะสมกับศักยภาพที่ต้องการพัฒนาของบุคคลากรในแต่ละระดับ
ปัญหา/อุปสรรค ด้าน ฮาร์ดแวร์ • ปัจจุบันมีการเตรียมการในระดับศูนย์เขต และจังหวัดแล้ว แต่ไม่ได้นำมาใช้ในด้าน GIS โดยเฉพาะ เพราะเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการปฏิบัติด้านอื่นๆตามภารกิจยังไม่เพียงพอ และงานด้าน GIS ยังไม่มีภารกิจที่ชัดเจนในทางปฏิบัติ
ปัญหา/อุปสรรค แนวทางในการแก้ไข ด้าน ฮาร์ดแวร์ • ส่วนกลางต้องกำหนดภารกิจงานด้าน GIS ให้ชัดเจนในทางปฏิบัติและมอบหมายงานที่จะสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานในแต่ละระดับให้ทำอย่างต่อเนื่องทั้งปี • จัดหาคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ในการปฏิบัติงานด้านอื่นให้เพียงพอต่อการใช้งาน • จัดให้มีหน่วยรับผิดชอบในจัดทำแผนที่และฝึกอบรมบุคลากรในส่วนกลางเพื่อการพัฒนาเทคโนโลยีในระดับสูงให้สามารถผลิตภารกิจและมาตรการต่างให้ศูนย์และจังหวัดได้ปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง และมีทิศทางที่ชัดเจน • จัดเตรียมห้องอบรมคอมพิวเตอร์ที่ วปภ.บางพูนเพื่อใช้ในการฝึกอบรมถ่ายทอดภารกิจจากส่วนกลางไปสู่ศูนย์ และจังหวัด
ปัญหา/อุปสรรค ด้าน ซอร์ฟแวร์ • ปัจจุบันมีซอร์ฟแวร์ที่ถูกกฎหมายใช้เฉพาะภายในกรมเท่านั้น (ArcGIS9 ของ Jica 1 licenceและค่าปรับละเมิดลิขสิทธิ์สูงมาก)เจ้าหน้าที่ตามศูนย์เขต จังหวัด ไม่มีโปรแกรมในการทำงาน,ฝึกฝนด้าน GIS และอ้างอิงในการนำเสนอผลผลิตจึงเป็นอุปสรรคที่สำคัญมากในการพัฒนาระบบ GIS ของกรม
ปัญหา/อุปสรรค แนวทางในการแก้ไข ด้าน ซอร์ฟแวร์ • จัดหาซอร์ฟแวร์ที่ถูกกฎหมายให้ศูนย์เขต มีโปรแกรมอ้างอิงในการทำงาน,ฝึกฝนด้าน GIS และนำเสนอผลผลิตของกรม ได้ • ให้จังหวัดอ้างอิงลิขสิทธิ์ในการใช้ที่ศูนย์เขต
ปัญหา/อุปสรรค ด้าน บุคคลากรและองค์กร • บุคลากรทั้งในส่วนกลางและภูมิภาคยังมีความรู้ความเข้าใจในระบบ GIS ไม่เพียงพอที่จะนำไปใช้ประกอบการทำงานได้ • ไม่มีกรอบแนวทางการพัฒนา GIS ที่ชัดเจนทำให้ไม่สามารถกำหนดหลักสูตรการพัฒนาและงบประมาณที่ชัดเจนได้
ปัญหา/อุปสรรค แนวทางในการแก้ไข ด้าน บุคคลากรและองค์กร • จัดตั้งห้องฝึกอบรมและจัดทำแผนที่ในส่วนกลางเพื่อใช้ในการผลิตแผนที่มาตรฐานของกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยที่ต้องควบคุมดูแลเป็นพิเศษ และใช้ในการพัฒนาบุคคลากรส่วนกลางให้มีศักยภาพสูงในการ คิด วิเคราะห์ ประมวลผลและกำหนดมาตรการและแผนปฏิบัติได้ • จัดการฝึกอบรมอย่างเป็นระบบมีเป้าหมายที่ชัดเจนโดยเอาภารกิจที่ส่วนกลางกำหนดเป็นตัวตั้ง จะทำให้มีงานทำอย่างต่อเนื่องตามนโยบายที่กรมต้องการผลักดันและเป็นการฝึกฝนการใช้งานไปพร้อมด้วย • ควรมีการฝึกอบรมทบทวนและเพิ่มเติมเทคโนโลยีใหม่ๆ ให้บุคลากร เป็นประจำทุกปี
ปัญหา/อุปสรรค ด้าน กระบวนการและแนวคิด • บุคลากรทั้งในส่วนกลางและภูมิภาคยังมีความรู้ความเข้าใจในระบบ GIS ไม่เพียงพอที่จะสามารถ คิดค้นรูปแบบการวิเคราะห์หรือเรียนรู้และเข้าใจกระบวนการในการคิดค้นใหม่ๆทางด้าน GIS จากหน่วยงานอื่นทั้งในและต่างประเทศได้ทำให้ไม่สามารถรับประโยชน์จากการอบรม สัมมนา ที่มีการใช้เทคโนโลยีระดับสูงเพื่อนำมาพัฒนาต่อยอดได้
ปัญหา/อุปสรรค แนวทางในการแก้ไข ด้าน กระบวนการและแนวคิด • พัฒนาบุคลากรทั้งในส่วนกลางและภูมิภาคให้มีความรู้ความเข้าใจในระบบ GIS อย่างเพียงพอที่จะสามารถ คิดค้นรูปแบบการวิเคราะห์หรือเรียนรู้และเข้าใจกระบวนการในการคิดค้นใหม่ๆทางด้าน GIS จากหน่วยงานอื่นทั้งในและต่างประเทศได้ • เข้าร่วมการอบรม สัมมนา ที่มีการใช้เทคโนโลยีระดับสูงเพื่อนำมาพัฒนาต่อยอด
บทที่ 2 การนำแผนที่เสี่ยงภัย ไปใช้ประโยชน์
Flow chart ระบบป้องกันและลดผลกระทบ
มาตรการป้องกันและลดผลกระทบแบบ ใช้โครงสร้าง ชุมชนทีเสี่ยงภัย โคลนถล่มจากการวิเคราะห์
มาตรการป้องกันและลดผลกระทบแบบ ใช้โครงสร้าง แผนที่เสี่ยงภัย โคลนถล่มจากการวิเคราะห์
มาตรการป้องกันและลดผลกระทบแบบ ใช้โครงสร้าง มาตรการ ที่ 1-4 1.แนวป้องกันโดยถนนชุมชน &รั้วเขียว 3.ขุดบ่อดักตะกอนหนักเพื่อลดความรุนแรง 2. เปลี่ยนแนวและลดความเร็วการไหล 4.ออกแบบเป็นแหล่งน้ำผิวดิน บรรเทาภัยแล้งและสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ
มาตรการป้องกันและลดผลกระทบแบบ ไม่ใช้โครงสร้าง ระบบเตรียมความพร้อมชุมชน แผนที่เสี่ยงภัย เพื่อการวางแผนและฝึกซ้อมแผน ทิศทางและโซนนิ่งการอพยพ สถานที่รองรับการอพยพ
มาตรการป้องกันและลดผลกระทบแบบ ไม่ใช้โครงสร้าง ระบบเตรียมความพร้อมชุมชน เอกสารประกอบการเรียนการสอนในโรงเรียนชุมชน
มาตรการป้องกันและลดผลกระทบแบบ ไม่ใช้โครงสร้าง มาตรการทางด้านกฎหมาย ขึ้นทะเบียนแผนที่เสี่ยงภัยเป็นพื้นที่ควบคุมพิเศษ ควบคุมเกี่ยวกับการใช้ประโยชน์ที่ดิน ควบคุมการก่อสร้างที่อาจมีผลกระทบ
การพัฒนาต่อยอด บทที่ 3
ผังงานGIS ระบบเตือนภัยล่วงหน้าระยะก่อนเกิดเหตุ เพื่อการอพยพ Located Risk area Located Rain gage Sta. Hydrograph designed inundation mapping Real time Data Evacuation mapping Integrated map Decision making by inhabitant JICA Phase II