1 / 54

โครงการสร้างความเข้าใจร่วมกันด้านงานประกันคุณภาพ : ตัวบ่งชี้ของสาขาวิชา

โครงการสร้างความเข้าใจร่วมกันด้านงานประกันคุณภาพ : ตัวบ่งชี้ของสาขาวิชา. 13 มีนาคม 2557 ณ ห้องประชุม พรรณา นิคม. คณะรับการตรวจประเมินคุณภาพจากใครบ้าง. 2 ตัวบ่งชี้. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. ก.พ.ร. 23 ตัวบ่งชี้. สำนักประกันคุณภาพ มก. สกอ. คณะ ทอ. 18 ตัวบ่งชี้. สมศ.

virgo
Télécharger la présentation

โครงการสร้างความเข้าใจร่วมกันด้านงานประกันคุณภาพ : ตัวบ่งชี้ของสาขาวิชา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงการสร้างความเข้าใจร่วมกันด้านงานประกันคุณภาพ: ตัวบ่งชี้ของสาขาวิชา 13 มีนาคม 2557 ณ ห้องประชุม พรรณานิคม

  2. คณะรับการตรวจประเมินคุณภาพจากใครบ้างคณะรับการตรวจประเมินคุณภาพจากใครบ้าง 2 ตัวบ่งชี้ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ก.พ.ร. 23 ตัวบ่งชี้ สำนักประกันคุณภาพ มก. สกอ. คณะ ทอ. 18 ตัวบ่งชี้ สมศ.

  3. ระบบการประเมินคุณภาพภายในระบบการประเมินคุณภาพภายใน • การประกันคุณภาพภายในประเมินโดย “สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษาแห่งชาติ” (สกอ.) • เน้นด้านปัจจัยนำเข้า , กระบวนการ • ประเมินทุกปี

  4. ระบบการประเมินคุณภาพภายนอก 18 ตัวบ่งชี้ • การประเมินคุณภาพภายนอก ประเมินโดย “สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือเรียกชื่อย่อว่า “สมศ.” • เน้นด้านผลผลิตและผลลัพธ์ • ประเมินทุก 5 ปี แต่ต้องรายงานผลทุกปี

  5. ระบบงานประกันคุณภาพคณะระบบงานประกันคุณภาพคณะ

  6. KPI สาขาวิชา

  7. KPI ของสาขา วัตถุประสงค์ในการตรวจประกันระดับสาขา • เป็นกฎกระทรวงซึ่งบังคับไว้ • เพื่อให้สาขาทราบถึงศักยภาพของตนเอง จากการประเมินตนเองตามตัวบ่งชี้ที่คณะกำหนด • เพื่อให้สาขาทราบถึงจุดที่ควรพัฒนา

  8. KPI ของสาขา : ด้านการเรียนการสอน • อาจารย์ประจำที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก (สกอ.2.2) • อาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ (สกอ.2.3) • ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน (สกอ.2.6) • การพัฒนาคณาจารย์ (สมศ. 14) • ผลการสำรวจความพึงพอใจการใช้ห้องปฏิบัติการ (สกอ.2.5)

  9. KPI ของสาขา : ด้านการวิจัย • เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ต่อจำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัยประจำ (สกอ4.3) • งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ (สมศ. 5) • งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่นำไปใช้ประโยชน์ (สมศ. 6) • ผลงานวิชาการที่ได้รับรองคุณภาพ (สมศ. 7)

  10. KPI ของสาขาด้านบริการวิชาการ • ระบบและกลไกการบริการทางวิชาการแก่สังคม (สกอ.5.1) • ผลการนำความรู้และประสบการณ์จากการให้บริการวิชาการมาใช้พัฒนาการเรียนการสอนและงานวิจัย (สมศ.8)

  11. การนับระยะเวลา นับตามปีการศึกษา ปีการศึกษา 2556>> 1 มิถุนายน 2556 – 31 พฤษภาคม 2557 นับตามปีปฏิทิน ปีปฏิทิน 2556 >> 1 มกราคม 2556 – 31 ธันวาคม 2556 นับตามปีงบประมาณ ปีงบประมาณ 2556 >> 1 ตุลาคม 2555 - 30 กันยายน 2556

  12. การนับจำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัยประจำการนับจำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัยประจำ ให้นับระยะเวลาทำงาน ดังนี้ 9 – 12 เดือน คิดเป็น 1 คน 6 เดือนขึ้นไปแต่ไม่ถึง 9 เดือน คิดเป็น 0.5 คน น้อยกว่า 6 เดือน ไม่สามารถนำมานับได้ การปัดจุดทศนิยม : ปัดทศนิยมตำแหน่งที่ 3 เช่น 72.364เป็น 72.36 72.365เป็น 72.37

  13. ความหมายของคะแนน

  14. การกำหนดหมายเลขเอกสารการกำหนดหมายเลขเอกสาร • ตัวบ่งชี้ที่เป็นเกณฑ์มาตรฐาน (ข้อ) 2.6-1-1 เอกสารหมายเลข 1 ตัวบ่งชี้ที่ 2.6 เกณฑ์มาตรฐานข้อที่ 1

  15. การกำหนดหมายเลขเอกสารการกำหนดหมายเลขเอกสาร • ตัวบ่งชี้ที่เป็นผลลัพธ์ หรือตัวบ่งชี้ของ สมศ. 4.3-1 เอกสารหมายเลข 1 ตัวบ่งชี้ที่ 4.3

  16. นับตามปีการศึกษา ปีการศึกษา 2556>> 1 มิถุนายน 2556 – 31 พฤษภาคม 2557

  17. ตัวบ่งชี้ สกอ.ที่ 2.2 :อาจารย์ประจำที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก

  18. ตัวบ่งชี้ สกอ.ที่ 2.2 :อาจารย์ประจำที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก • คำนวณค่าร้อยละของอาจารย์ประจำที่มีวุฒิปริญญาเอก จำนวนอาจารย์ประจำที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก x 100 จำนวนอาจารย์ประจำทั้งหมด (ปฏิบัติงานจริง + ลาศึกษาต่อ) การนับจำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัยประจำให้นับระยะเวลาทำงานดังนี้ 9 – 12 เดือน คิดเป็น 1 คน 6 เดือนขึ้นไปแต่ไม่ถึง 9 เดือน คิดเป็น 0.5 คน น้อยกว่า 6 เดือน ไม่สามารถนำมานับได้

  19. 2. แปลงค่าร้อยละที่ คำนวณได้ ในข้อ 1 เทียบกับคะแนนเต็ ม 5 คะแนนที่ได้ = ร้อยละของอาจารย์ประจำที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก X 5 ร้อยละของอาจารย์ประจำที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกที่กำหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5 ( ร้อยละ 60) • 1. ค่าร้อยละของอาจารย์ประจำที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกที่ กำหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 60 ขึ้นไป หรือ • 2. ค่าการเพิ่มขึ้นของร้อยละของอาจารย์ประจำที่มีคุณวุฒิ ปริญญาเอก เปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมาที่กำหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 12 ขึ้นไป

  20. หาข้อมูลเพิ่มเติม • อ.พัชราภรณ์ ถิ่นจันทร์ (สัญญาจ้างครบ 9 ด.หรือไม่ .. จะนับรึเปล่า) • อ.ดร.ธัญวนิชย์ (บรรจุรึยัง) • อ.ดร.รชา (ลาออกเมื่อไหร่) • อ.ณรงค์ (ประมง) บรรจุเมื่อไหร่ • อ.ชื่นจิต จันทจรูญพงษ์ (กลับมาเมื่อไหร่) • อ.ดร.ภิญญารัตน์ ไป Post-doc กี่เดือน นับได้ 0.5 คน?

  21. ตัวบ่งชี้ที่ 2.3 : อาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ เกณฑ์เฉพาะสถาบันกลุ่ม ค1 และ ง1 • ค่าร้อยละของอาจารย์ ประจำที่ดำรงตำแหน่งรวมกันที่ กำหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5 รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์= ร้อยละ 30 ขึ้นไป • หรือ 2) ค่าการเพิ่มขึ้นของร้อยละของอาจารย์ประจำที่ ดำรงตำแหน่ง รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์รวมกันเปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมาที่ กำหนดให้ เป็นคะแนนเต็ ม 5 = ร้อยละ 6 ขึ้นไป

  22. ตัวบ่งชี้ที่ 2.6 : ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน ตัวบ่งชี้ที่ 2.6 : ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน เกณฑ์มาตรฐาน : • 1. มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญทุกหลักสูตร • (มคอ.2) • 2. ทุกรายวิชาของทุกหลักสูตรมีรายละเอียดของรายวิชาและของประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี ) ก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาตามที่กำหนดในกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ • (มคอ.3) • (มคอ.4)

  23. ตัวบ่งชี้ที่ 2.6 : ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน • 3. ทุกหลักสูตรมีรายวิชาที่ส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเองและการให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากการปฏิบัติทั้งในและนอกห้องเรียนหรือจากการทำวิจัย - มคอ.2, มคอ. 3 - วิชาเทคนิควิจัย, ปัญหาพิเศษ - โครงการฝึกงาน - การดูงานนอกสถานที่ ทั้งในรายวิชาและเป็นโครงการ

  24. ตัวบ่งชี้ที่ 2.6 : ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน • 4. มีการให้ผู้มีประสบการณ์ทางวิชาการหรือวิชาชีพจากหน่วยงานหรือชุมชนภายนอกเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนการสอนทุกหลักสูตร - การเชิญอาจารย์พิเศษมาสอน - การนำนิสิตไปฟังการบรรยาย / เยี่ยมชมหน่อยงานทั้ง ใน/ นอกสถาบัน - การฝึกงาน หรือปฏิบัติงานในวิชาสหกิจศึกษา • 5. มีการจัดการเรียนรู้ที่พัฒนาจากการวิจัยหรือจากกระบวนการจัดการความรู้เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน • การทำวิจัยในชั้นเรียน • Home Room อาจารย์ ที่มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์การจัดการเรียนการสอน

  25. ตัวบ่งชี้ที่ 2.6 : ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน • 6. มีการประเมินความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อคุณภาพการจัดการเรียนการสอนและสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ทุกรายวิชาทุกภาคการศึกษาโดยผลการประเมินความพึงพอใจแต่ละรายวิชาต้องไม่ต่ำกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5 • รายงานการประมินความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการสอน ทุกรายวิชา • สรุปการประเมินความพึงพอใจการใช้ห้องปฏิบัติการ • 7. มีการพัฒนาหรือปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนกลยุทธ์การสอนหรือการประเมินผลการเรียนรู้ทุกรายวิชาตามผลการประเมินรายวิชา

  26. เกณฑ์การให้คะแนน

  27. ตัวบ่งชี้ สมศ.ที่ 14 การพัฒนาคณาจารย์

  28. วิธีการคำนวณ ค่าดัชนีคุณภาพอาจารย์ คำนวณดังนี้ • เกณฑ์การให้คะแนนใช้บัญญัติไตรยางศ์เทียบโดยกำหนดให้ ค่าดัชนีคุณภาพอาจารย์ เป็น ๖ เท่ากับ ๕ คะแนน ผลรวมถ่วงน้ำหนักของอาจารย์ประจำ จำนวนอาจารย์ทั้งหมด ปฏิบัติงานจริง+ ลาศึกษาต่อ

  29. ผลการสำรวจความพึงพอใจการใช้ห้องปฏิบัติการ (สกอ. 2.5)

  30. ตัวบ่งชี้ที่ 4.3 เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ต่อจำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัยประจำ เงินสนับสนุนงานวิจัยฯ จากภายในและภายนอก จำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัยประจำ (เฉพาะที่ปฏิบัติงานจริง) ใช้ข้อมูลในฐานข้อมูลของ Ku-rdiเท่านั้น www.rdi.ku.ac.th https://research.rdi.ku.ac.th/kur3/login.aspx ปีงบประมาณ 2556 (1 ตุลาคม 2555 – 30 กันยายน 2556)

  31. การคิดสัดส่วนงานวิจัยการคิดสัดส่วนงานวิจัย 100 %

  32. ขอทราบสัดส่วนงานวิจัย โดยใช้หลักฐานคือ Proposal สมมติ อ.พิชาด 50% อ.ภานุวัฒน์ 30%นสพ. วิศุทธิ์ 20% โครงการวิจัยนี้คิดได้ 80% = (327,080 x 80) / 100 = 261,664 บาท

  33. ตัวบ่งชี้ที่ 5 งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ ใช้ข้อมูลในฐานข้อมูลของ Ku-rdiเท่านั้น www.rdi.ku.ac.th https://research.rdi.ku.ac.th/kur3/login.aspx ปีปฏิทิน 1 มกราคม 2556- 31ธันวาคม 2556

  34. วิธีการคำนวณ ผลรวมถ่วงน้ำหนักของงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่ตีพิมพ์หรือเผยแพร่ จำนวนอาจารย์ทั้งหมด ปฏิบัติงานจริง+ ลาศึกษาต่อ เกณฑ์การให้คะแนน ใช้บัญญัติไตรยางศ์เทียบโดยกำหนดร้อยละ 20 เท่ากับ 5 คะแนน

  35. ตัวบ่งชี้ที่ 6 งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่นำไปใช้ประโยชน์ • แบบฟอร์มรับรองการนำผลงานวิจัย หรืองานสร้างสรรค์ไปใช้ประโยชน์ • http://158.108.110.14/~qa_assurance/index.php?page=details&menu_type=evaluation • การนับจำนวนผลงานวิจัยหรือผลงานสร้างสรรค์ที่ นำไปใช้ประโยชน์ให้นับจากวันที่นำผลงานวิจัยมาใช้ โดยงานวิจัยจะเกิดขึ้นในปีใดก็ได้ • หากผลการวิจัยเรื่องเดียวกันมีการนำไปใช้ประโยชน์มากกว่า 1 ครั้งให้นับการใช้ประโยชน์ได้เพียงครั้งเดียว ยกเว้นในกรณีที่มีการใช้ประโยชน์ที่แตกต่างกันชัดเจนตามมิติของการใช้ประโยชน์ที่ไม่ซ้ำกัน

  36. ผลรวมของจำนวนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่นำไปใช้ประโยชน์ผลรวมของจำนวนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่นำไปใช้ประโยชน์ เกณฑ์การประเมิน ใช้บัญญัติไตรยางศ์เทียบ กำหนดร้อยละ 20 เท่ากับ 5 X 100 จำนวนอาจารย์ทั้งหมด ปฏิบัติงานจริง+ ลาศึกษาต่อ นับตามปีปฏิทิน 2556 : 1มกราคม 2556 – 31 ธันวาคม 2556

  37. ตัวบ่งชี้ที่ 7 ผลงานวิชาการที่ได้รับการรับรองคุณภาพ • การนับจำนวนผลงานทางวิชาการที่ได้รับการรับรองคุณภาพ จะนับผลงานวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในรูปแบบของ 1. บทความวิชาการในวารสารวิชาการทั้งในระดับชาติและ/หรือนานาชาติ 2.หนังสือ หรือตำราทางวิชาการ ซึ่งมีระบบการพิจารณาต้นฉบับ จากคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิก่อนการตีพิมพ์และผลงานจะต้องเกินร้อยละ 50 ของชิ้นงาน ในกรณีที่มีการตีพิมพ์มากกว่า 1 ครั้ง ให้นับการตีพิมพ์เพียงครั้งเดียวต่องานวิชาการ 1 ชิ้น

  38. เกณฑ์การประเมิน

  39. วิธีการคำนวณ ผลรวมถ่วงน้ำหนักของผลงานวิชาการที่ได้รับรองคุณภาพ X 100 จำนวนอาจารย์ทั้งหมด ปฏิบัติงานจริง+ ลาศึกษาต่อ เกณฑ์การให้คะแนน ใช้บัญญัติไตรยางศ์เทียบโดยกำหนดร้อยละ 10 เท่ากับ 5 คะแนน นับตามปีปฏิทิน 2556 : 1มกราคม 2556 – 31 ธันวาคม 2556 ไม่มีฐานข้อมูล

  40. นับตามปีการศึกษา ปีการศึกษา 2556>> 1 มิถุนายน 2556 – 31 พฤษภาคม 2557

  41. ระบบและกลไกการบริการทางวิชาการแก่สังคม(สกอ. 5.1) เกณฑ์มาตรฐาน • มีระบบและกลไกการบริการวิชาการแก่สังคม และดำเนินการตามระบบที่กำหนด (ขอที่รองฯ วิจัยฯ) • มีการบูรณาการการบริการวิชาการแก่สังคม กับการเรียนการสอน • มีการบูรณาการการบริการวิชาการแก่สังคม กับการวิจัย • มีการประเมินผลความสำเร็จของการบูรณาการงานบริการวิชาการแก่สังคมกับการเรียนการสอน และการวิจัย (ดูในตาราง) • มีการนำผลการประเมินไปปรับปรุงการบูรณาการงานมีการบูรณาการการบริการวิชาการแก่สังคมกับการเรียนการสอน และการวิจัย

  42. เกณฑ์ข้อ 2การบูรณาการงานบริการวิชาการแก่สังคมกับ การจัดการเรียนการสอน • เช่น การให้นิสิตนำความรู้ที่ได้รับจากห้องเรียน/ รายวิชาไป จัดกิจกรรมบริการวิชาการ พานิสิตไปถ่ายทอด ความรู้ที่ได้รับในรายวิชา โครงการบริการวิชาการ

  43. เกณฑ์ข้อ 3การบูรณาการงานบริการวิชาการแก่สังคมกับ การวิจัย แบบที่ 1 มีการนำผลการวิจัยไปสู่การใช้ประโยชน์จริง ที่ตอบสนองความต้องการ ของทุกภาคส่วน องค์ความรู้จากงานวิจัย เกษตรกรหรือ องค์กรอื่นนำไปใช้ประโยชน์

  44. แบบที่ 2 นำความรู้ประสบการณ์จากการให้บริการกลับมาพัฒนาต่อยอดผ่านงานวิจัย อ.ออกไปบริการวิชาการ ทราบปัญหาจริง และนำมาเป็นโจทย์วิจัย

  45. เกณฑ์ข้อ 5มีการนำผลการประเมินไปปรับปรุงการบูรณาการงานบริการวิชาการแก่สังคมกับการเรียนการสอน และการวิจัย • รายงานการประชุมสาขา เพื่อพิจารณาเรื่อง“การปรับปรุงการบูรณาการงานบริการวิชาการแก่สังคมกับการเรียนการสอน และการวิจัย” • โดยอ้างอิงจากผลการประเมิน • ผลประเมินผลการบูรณาการงานบริการวิชาการและการเรียนการสอนโดยนิสิต • แบบประเมินความพึงพอใจผู้รับบริการวิชาการ

  46. เกณฑ์การให้คะแนน

  47. สมศ.8 ผลการนำความรู้ และประสบการณ์จากการให้ บริการวิชาการมาใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอนและ/หรือการวิจัย การนำความรู้ และประสบการณ์จากการให้บริการวิชาการมา พัฒนามี 2 ประเภท คือ • 1. การพัฒนาการเรียนการสอน • 2. การพัฒนาการวิจัย -โครงการบริการวิชาการที่เป็นตัวตั้ง ต้องบูรณาการเสร็จสิ้นในปีที่ประเมิน - โครงการบริการวิชาการที่เป็นตัวหาร ต้องเป็นโครงการที่ดำเนินการในปีที่ประเมิน โครงการหนึ่งๆ จะบูรณาการ 1. เฉพาะการเรียนการสอน หรือ 2. เฉพาะการวิจัย หรือ 3. ทั้งการเรียนการสอน หรือการวิจัยก็ได้ นำจำนวนโครงการที่มีการบูรณาการ ในตัวบ่งชี้ สกอ. 5.1 มาคำนวณในตัวบ่งชี้นี้

More Related