1 / 15

การสร้างห้องเรียนคุณภาพ โดย อ.เอื้อมพร รุ่งศิริ ณ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

การสร้างห้องเรียนคุณภาพ โดย อ.เอื้อมพร รุ่งศิริ ณ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี 26 มีนาคม 2555. ห้องเรียนคุณภาพคืออะไร?. การนำการเปลี่ยนแปลงสู่ห้องเรียนคุณภาพ การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน การวิจัยในชั้นเรียน (Classroom Action Research – CAR)

vivi
Télécharger la présentation

การสร้างห้องเรียนคุณภาพ โดย อ.เอื้อมพร รุ่งศิริ ณ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การสร้างห้องเรียนคุณภาพการสร้างห้องเรียนคุณภาพ โดย อ.เอื้อมพร รุ่งศิริ ณ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี 26 มีนาคม 2555

  2. ห้องเรียนคุณภาพคืออะไร?ห้องเรียนคุณภาพคืออะไร?

  3. การนำการเปลี่ยนแปลงสู่ห้องเรียนคุณภาพการนำการเปลี่ยนแปลงสู่ห้องเรียนคุณภาพ • การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน • การวิจัยในชั้นเรียน (Classroom Action Research – CAR) • การใช้ ICT เพื่อการสอนและสนับสนุนการสอน • การสร้างวินัยเชิงบวก (Positive Discipline)

  4. การนำการเปลี่ยนแปลงสู่ห้องเรียนคุณภาพการนำการเปลี่ยนแปลงสู่ห้องเรียนคุณภาพ •  รูปแบบในการบริหารจัดการรายวิชาของอาจารย์ •  ยกระดับคุณภาพผู้เรียน • มีการปรับการเรียน เปลี่ยนวิธีสอน • จัดบรรยากาศ

  5. การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐานการออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน  การจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ (Lesson Plan) จากหน่วยการเรียนรู้ที่กำหนด  ออกแบบการประเมินผลอย่างต่อเนื่อง

  6. การวิจัยในชั้นเรียน (CAR-Classroom Action Research)  เป็นการศึกษาค้นคว้าของครู เพื่อแก้ปัญหาการจัดกิจกรรม การเรียนการสอน หรือพฤติกรรมนักเรียน รวมถึงการคิดวิเคราะห์ เพื่อพัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอน  เป็นการวิจัยที่ดำเนินการควบคู่ไปกับการปฏิบัติงานของครูและครูเป็นผู้นำผลการวิจัยนั้นมาใช้ประโยชน์

  7. ปัญหาที่เกิดขึ้นจะมี 3 ประเด็น คือ 1. พุทธิพิสัย (Cognitive Domain) - ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 2. จิตพิสัย (AffectiveDomain) - พฤติกรรม 3. ทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) - ความชำนาญ รวดเร็ว

  8. สรุปหลักการสำคัญของการวิจัยในชั้นเรียน (อริยสัจ 4) + (การประเมิน) ทุกข์: ปัญหา (ความไม่สบายกาย ไม่สบายใจ) สมุทัย: สาเหตุของปัญหา (เหตุให้ทุกข์เกิด) นิโรธ: วิธีการที่ใช้แก้ปัญหา (ความดับทุกข์) มรรค: วิธีการที่เหมาะสมที่ใช้แก้ปัญหา (ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์) การประเมิน: ดูผลการแก้ปัญหาที่ทำไปแล้วว่าได้รับความสำเร็จ มากน้อยเพียงใด

  9. กิจกรรมที่ 1 ขอให้ท่านอาจารย์ทุกท่าน พิจารณาย้อนหลังดูว่าในรอบ 1 ปีที่ผ่านมา ท่านภาคภูมิใจกับผลสำเร็จในการแก้ปัญหาจากนักเรียนในชั้นเรียนของท่าน มีอะไรบ้าง เสนอมา 3 รายการ 1……………………………………… 2……………..……….………………. 3.……………………………………... ในจำนวน 3 ข้อนี้ ข้อที่ท่านภาคภูมิใจมากที่สุด คือ ข้อ …….....

  10. กิจกรรมที่ 2 จากผลการแก้ปัญหานักเรียนในชั้นเรียนของท่าน ข้อที่ท่านภาคภูมิใจมากที่สุด ในกิจกรรมที่ 1 ให้ท่านเขียนรายละเอียดตามหัวข้อ ดังนี้ 1. สภาพปัญหา (ปัญหาที่ท่านพบในห้องเรียนของท่าน ก่อนมีการแก้ปัญหา)……………………………………………………….. 2. วิธีการที่ท่านนำมาใช้ในการแก้ปัญหา (ท่านทำอย่างไรจึงสามารถแก้ปัญหานั้นได้สำเร็จ)…………………………………………….. 3. รู้ได้อย่างไรว่าวิธีการที่ท่านนำมาใช้สามารถแก้ปัญหาได้สำเร็จ (มีคะแนน หรือตัวบ่งชี้อะไรที่สามารถบอกได้ชัดเจน)….................

  11. กิจกรรมที่ 3 • ให้ท่านนำความสำเร็จจากกิจกรรมที่ 2 มาเขียนรายละเอียด ดังนี้ • หัวข้องานที่ท่านทำได้ประสบความสำเร็จ................................ • สภาพปัญหาก่อนการแก้ปัญหา................................................ • จุดมุ่งหมายที่ต้องการแก้ปัญหา................................................ • วิธีการที่ท่านนำมาใช้ในการแก้ปัญหา..................................... • กลุ่ม(นักเรียน)เป้าหมายที่ท่านต้องการแก้ปัญหา.................... • วิธีการที่ใช้วัดผลสำเร็จในการแก้ปัญหา................................. • สรุปผลการแก้ปัญหา.............................................................

  12. การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) เพื่อการสอนและสนับสนุนการสอน •  การใช้สื่อสารสนเทศที่กว้างขวางเพื่อการสืบค้นและการเรียนการสอนสู่ห้องเรียนสากล (Global Classroom) • ครูสามารถเรียนรู้แนวทางได้จากอินเตอร์เน็ต เช่น การสอนที่ใช้พลังของเด็ก (Power Teaching) • เด็กก็สามารถเรียนรู้และเลียนแบบจากต้นแบบในอินเตอร์เน็ตเช่นเดียวกัน เช่น การเล่นกีฬา ดนตรีประเภทต่าง • ทำให้สื่อใกล้ตัวครูและนักเรียนมากขึ้น ชุมชนการเรียนรู้กว้างออกจากห้องเรียนไปสู่สากลด้วย e-mail การใช้บล็อก (Blog) ที่มีบริการแก่สมาชิก เช่น www.gotoknow.org/ ; http://www.blogger.com/เป็นต้น

  13. การสร้างวินัยเชิงบวก (Positive Discipline) การสร้างฐานข้อมูลนักเรียนรายบุคคลเพื่อศึกษา เช่น แฟ้มประวัติและผลงานนักเรียน มีข้อมูลสารสนเทศและเครือข่ายระบบดูแลนักเรียนอย่างทั่วถึง การส่งเสริมวินัยให้เกิดขึ้นในตัวนักเรียน เช่น การสร้างและปฏิบัติตามกฎห้องเรียน (House Rules) การใช้กิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนได้มีส่วนร่วมคิดร่วมทำ การแก้ปัญหาและตอบปัญหาเชิงบวก ใช้กิจกรรมสร้างสรรค์ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

  14. ห้องเรียนคุณภาพ กับ 4 ก้าวคุณภาพครู ก้าวที่ 1กำหนดหน่วยการเรียนรู้สาระรายวิชา (Course Syllabus)“บอกการเป็นนักวางแผนชั้นครู” ก้าวที่ 2วางแผนการจัดการเรียนรู้ (Lesson Plan)“บอกความเป็นนักออกแบบชั้นครู” ก้าวที่ 3 การจัดกิจกรรมการเรียนเรียนรู้“บอกความเป็นนักบริหารจัดการชั้นครู” ก้าวที่ 4การประเมินการสอนรายวิชา“บอกความเป็นนักวิจัยชั้นครู”

  15. Thank you for your attention.

More Related