1 / 69

ผู้บริหารและหน้าที่ของผู้บริหาร

บทที่ 2. ผู้บริหารและหน้าที่ของผู้บริหาร. 2.1 ผู้บริหาร. ผู้บริหารระดับสูง ::: กำหนดนโยบาย วางแผนระยะยาว ผู้บริหารระดับกลาง ::: รับผิดชอบงานเฉพาะในฝ่ายของตน ผู้บริหารระดับต้นหรือระดับปฏิบัติงาน ::: ควบคุมดุแลรับผิดชอบการปฏิบัติงานของคนงาน. 2.2 หน้าที่ของผู้บริหาร.

Télécharger la présentation

ผู้บริหารและหน้าที่ของผู้บริหาร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 2 ผู้บริหารและหน้าที่ของผู้บริหาร

  2. 2.1 ผู้บริหาร • ผู้บริหารระดับสูง::: กำหนดนโยบาย วางแผนระยะยาว • ผู้บริหารระดับกลาง::: รับผิดชอบงานเฉพาะในฝ่ายของตน • ผู้บริหารระดับต้นหรือระดับปฏิบัติงาน::: ควบคุมดุแลรับผิดชอบการปฏิบัติงานของคนงาน

  3. 2.2 หน้าที่ของผู้บริหาร • ตามกระบวนการจัดการของคูนตซ์ (POSDC) • การวางแผน (Planning) • การจัดองค์กร (Organizing) • การจัดคนเข้าทำงาน (Staffing) • การอำนวยการ (Directing) • การควบคุมงาน (Controlling)

  4. การวางแผน (Planning) • การกำหนดวัตถุประสงค์การทำงานไว้ล่วงหน้า โดยกำหนดวิธีและแนวทางปฏิบัติงานไว้ด้วย • ใช้ข้อมูลในปัจจุบันเพื่อเตรียมการสำหรับอนาคต • กำหนดเป้าหมายและวิธีการที่จะนำไปสู่เป้าหมาย • เกี่ยวข้องกับการกระทำหรือกิจกรรม • มีการตัดสินใจของผู้บริหารมาเกี่ยวข้อง

  5. การวางแผนแบ่งเป็น 3 ชนิด ตามระยะเวลา • การวางแผนระยะยาว(Long-range Planning) • มากกว่า 5 ปี ::: งานใหญ่ ซับซ้อน แผนพัฒนาอาวุธ • การวางแผนระยะปานกลาง(Medium-range Planning) • ระหว่าง 3-5 ปี ::: แผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติ • การวางแผนระยะสั้น(Short-range Planning) • ไม่เกิน 1 ปี ::: กิจกรรมเฉพาะอย่างที่ต้องการในระยะใกล้แผนงบประมาณ

  6. ประโยชน์ของการวางแผน • สามารถช่วยวางแนวทางในการดำเนินงานขององค์กรล่วงหน้า • เพื่อให้การทำงานภายในองค์กรสัมพันธ์กัน และลดการทำงานซ้ำซ้อน • ช่วยให้การตรวจสอบและควบคุมงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น • ช่วยส่งเสริมหน้าที่อื่นๆ เช่น การจัดหน่วยงาน การจัดคนเข้าทำงาน ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น

  7. ขั้นตอนพื้นฐานในการวางแผนขั้นตอนพื้นฐานในการวางแผน • วิเคราะห์หาปัจจัยที่จะมีผลกระทบต่อองค์กร • ปัจจัยภายนอก (External Factor) • ปัจจัยภายนอกที่มีผลกระทบต่อองค์กร ไม่สามารถควบคุมได้ • มีผลก่อให้เกิดภัยหรืออุปสรรค (Treat)และโอกาส (Opportunity)ขององค์กร

  8. ขั้นตอนพื้นฐานในการวางแผนขั้นตอนพื้นฐานในการวางแผน 2. ปัจจัยภายใน (Internal Factor) • ปัจจัยที่อยู่ภายในองค์กร และสามารถควบคุมได้ • มีผลต่อ จุดอ่อน (Weakness)และจุดแข็ง (Strength) ขององค์กร • เช่น บุคลากรในองค์กร

  9. 2. กำหนดวัตถุประสงค์ เป้าหมาย แผนงาน หรือโครงการต่างๆ • วัตถุประสงค์::: จุดหมายปลายทางของการทำงานอย่างใดอย่างหนึ่งให้สำเร็จ • เป้าหมาย ::: สิ่งที่ต้องการทำให้สำเร็จโดยกำหนดในรูปของเวลาและตัวเลขเชิงปริมาณ • แผนงาน::: เป็นแผนที่แบ่งงานออกเป็นกลุ่มงานใหญ่ๆ • โครงงาน::: เป็นแผนงานย่อยที่กำหนดรายละเอียดของการปฏิบัติงาน

  10. ปัจจัยภายใน ปัจจัยภายนอก จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส อุปสรรค วัตถุประสงค์ โครงการ ขั้นตอนพื้นฐานในการวางแผน

  11. ตัวอย่างแผนการปรับปรุงคุณภาพผลผลิตตัวอย่างแผนการปรับปรุงคุณภาพผลผลิต • วัตถุประสงค์ ... เพื่อให้คุณภาพของผลผลิตดีขึ้น • เป้าหมาย ... ลดเปอร์เซ็นการเกิดของเสียให้เหลือเพียง 5% ในระยะเวลา 3 เดือน • แผนงาน 1. ปรับปรุงวิธีการทำงาน 2. ปรับปรุงสภาพแวดล้อมในการทำงาน ... • ส่วนประกอบของโครงงาน • ชื่อโครงการ • ชื่อหน่วยงานที่รับผิดชอบ ...

  12. Gantt Chart หมายเหตุ # หมายเลขผลิตภัณฑ์

  13. การจัดการองค์กร (Organizing) • ความสัมพันธ์ของบุคคลต่างๆภายในองค์กรอย่างเป็นทางการ • แบ่งเป็นหน่วยงานย่อยต่างๆ • กำหนดอำนาจหน้าที่ความรับผิดชอบชัดเจน • “องค์กรหรือองค์การ คือ กลุ่มของบุคคลหลายๆ คน ที่มาทำกิจกรรมร่วมกัน เพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้”

  14. การจัดการองค์กร (Organizing) • ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลต่างๆ • โครงสร้างองค์กร (Organization Structure) หรือ • แผนภูมิขององค์กร (Organization Chart) • การจัดองค์กร ::: การจัดความสัมพันธ์ระหว่างส่วนต่างๆ คือ ตัวบุคคล และหน้าที่การงาน เพื่อทำให้เกิดการทำงานที่มีประสิทธิภาพและสามารถบรรลุเป้าหมายได้ การจัดองค์กร ต้องมีแผนภูมิขององค์กรด้วยเสมอ

  15. President Sales Manager Plant Manager Personnel Manager Manager Dept. B Manager Dept. A ตัวอย่างแผนภูมิขององค์กร

  16. หลักการของการจัดองค์กรหลักการของการจัดองค์กร • ช่วงของการควบคุม (Span of Control) • จำนวนบุคคลที่อยู่ภายใต้การควบคุมของบุคคล 1 คน • ช่วงกว้างหรือแคบ ขึ้นกับ ความสามารถของผู้บังคับบัญชา การได้รับการฝึกฝน ความซับซ้อน ฯลฯ • ลินดอล เอฟ เออร์วิก ::: • ผู้บริหารระดับสูงไม่ควรมีผู้ใต้บังคับบัญชาเกิน 4 คน • ผู้บริหารระดับล่าง อาจจะมีได้ 8-12 คน

  17. หลักการของการจัดองค์กร (ต่อ) • ระดับชั้นขององค์กร (Organization Level) • ถ้าระดับชั้นขององค์กรมีจำนวนมาก • จะทำให้ช่วงการควบคุมแคบ • อาจส่งผลให้การติดต่อสื่อสารเกิดการสูญหายหรือบิดเบือนไป • ส่วนใหญ่ องค์กรจะกำหนดให้จำนวนชั้นน้อยที่สุด (≤ 4 ชั้น) • อย่างไรก็ตาม ต้องพิจารณาตามความเหมาะสมของแต่ละองค์กร

  18. ช่วงการควบคุมแคบ

  19. ช่วงการควบคุมกว้าง

  20. ช่วงการควบคุมกว้างมากช่วงการควบคุมกว้างมาก

  21. หลักการของการจัดองค์กร (ต่อ) • การจำแนกกลุ่มของกิจกรรม (Subdividing Activities) • หน้าที่ของงาน (Function) • กระบวนการ (Process) • อุปกรณ์ (Equipment) • ทำเล (Location) • ผลิตภัณฑ์ (Product) • กลุ่มของลูกค้า (Classes of Customers)

  22. โครงสร้างองค์กรตามหน้าที่ของงาน (Function)

  23. โครงสร้างองค์กรตามกระบวนการ (Process)

  24. โครงสร้างองค์กรตามอุปกรณ์ (Equipment)

  25. โครงสร้างองค์กรตามทำเล (Location)

  26. โครงสร้างองค์กรตามผลิตภัณฑ์ (Product)

  27. โครงสร้างองค์กรตามกลุ่มของลูกค้า (Classes of Customers)

  28. หลักการของการจัดองค์กร (ต่อ) • ความรับผิดชอบและอำนาจหน้าที่ (Responsibility and Authority) • ผู้ที่ได้รับมอบหมาย ถ้ามีความรับผิดชอบใดๆ จะต้องสามารถมีอำนาจหน้าที่ในการสั่งการควบคู่ไปด้วย • การกำหนดความสามารถและลักษณะจำเป็น (Matching Abilities and Requirements) • แต่ละตำแหน่งงาน ควรกำหนดไว้ เพื่อจะสามารถจัดหาบุคคลแทนได้ในเวลารวดเร็ว ในกรณีขาดบุคลากร

  29. โครงสร้างขององค์กรหรือแผนภูมิขององค์กรโครงสร้างขององค์กรหรือแผนภูมิขององค์กร • โครงสร้างองค์กรแบบงานหลัก (Line Organization) • สายบังคับบัญชาแบบตรงๆ ไม่ซับซ้อนมากนัก • เหมาะกับองค์กรที่เริ่มก่อตั้งและมีขนาดเล็ก • ไม่มีหน่วยงานที่ปรึกษาหรือคณะกรรมการมาช่วย • ข้อดี ::: สะดวกในการติดต่อประสานงาน และสายบังคับบัญชาชัดเจน • ข้อเสีย ::: ผู้บังคับบัญชาสูงสุดรับภาระมาก

  30. ผู้อำนวยการ ฝ่ายผลิต ฝ่ายการเงิน ฝ่ายขาย ฝ่ายบุคคล พนักงาน พนักงาน พนักงาน พนักงาน โครงสร้างแบบงานหลัก

  31. โครงสร้างขององค์กรหรือแผนภูมิขององค์กร (ต่อ) • โครงสร้างองค์กรแบบงานหลักและงานที่ปรึกษา (Line and Staff Organization) • มีหน่วยงานที่ปรึกษา (Staff)มาช่วยทำงานให้กับหน่วยงานหลัก (Line) • ให้คำปรึกษา (Advisory) • ให้การควบคุม (Control) • ให้บริการ (Service) • ให้ความร่วมมือ (Coordinate)

  32. ผู้จัดการใหญ่ ฝ่ายวางแผนและวิจัย ฝ่ายตรวจสอบ ฝ่ายผลิต ฝ่ายการตลาด ฝ่ายการเงิน ฝ่ายบุคคล วิศวกรรม เคมี โกดัง รับ-จ่าย บัญชี ภาคกลาง ภาคอีสาน ภาคเหนือ ภาคใต้ สรรหา ค่าจ้าง HR โครงสร้างองค์กรแบบงานหลักและงานที่ปรึกษา

  33. โครงสร้างองค์กรแบบงานหลักและงานที่ปรึกษาโครงสร้างองค์กรแบบงานหลักและงานที่ปรึกษา ข้อดี • ความผิดพลาดจากการทำงานลดลง • ลดภาระหน้าที่ของที่ปรึกษา ข้อเสีย • อาจเกิดการขัดแย้งระหว่างหน่วยงานหลักและหน่วยงานที่ปรึกษา • การติดต่อสื่อสารและดำเนินการล่าช้า • พนักงานมีความลังเลใจในการปฏิบัติตามคำสั่ง • ลดความสำคัญของผู้บริหาร ถ้าหน่วยงานที่ปรึกษามีบทบาทมากขึ้น

  34. โครงสร้างขององค์กรหรือแผนภูมิขององค์กร (ต่อ) • โครงสร้างองค์กรแบบเมตริกซ์ (Matrix Organization) • เหมาะกับองค์ขนาดใหญ่ รูปแบบการทำงานเป็นโครงงานต่างๆ อย่างสม่ำเสมอ • จัดหน่วยงานตามหน้าที่งานและทีมโครงงาน • ข้อดี ::: มีการใช้บุคลากรอย่างคุ้มค่า • ข้อเสีย ::: ขาดเอกภาพในการบังคับบัญชา

  35. โครงสร้างองค์กรแบบเมตริกซ์โครงสร้างองค์กรแบบเมตริกซ์ General Manager Project Team

  36. โครงสร้างขององค์กรหรือแผนภูมิขององค์กร (ต่อ) • โครงสร้างองค์กรแบบไม่เป็นทางการ (Informal Organization) • บุคลากรบางตำแหน่งอาจมีความสัมพันธ์ที่ไม่เป็นทางการกับบางตำแหน่ง • ข้อดี ::: อาจทำให้เกิดความร่วมมือกันระหว่างหน่วยงานได้ • ข้อเสีย ::: อาจทำให้เกิดความแตกแยกในองค์กร

  37. โครงสร้างองค์กรแบบไม่เป็นทางการโครงสร้างองค์กรแบบไม่เป็นทางการ 1 2 3 4 21 22 31 32 41 42 211 121 221 311 312 421 411 412

  38. การพัฒนาองค์กร (Organization Development : O.D.) • ริชาร์ด เบคเฮิร์ด ::: “ความพยายามในการเปลี่ยนแปลงโดยมีการวางแผนมุ่งสู่การเปลี่ยนแปลงทั้งระบบโดยเริ่มจากผู้บริหารระดับสูงสุดลงสู่ระดับล่างตามหลักการพฤติกรรมศาสตร์ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลขององค์กร” • สภาพการณ์ ที่เป็นผลให้นำหลักการพัฒนาองค์กรมาใช้ • ต้องการเปลี่ยนแปลงแนวยุทธศาสตร์ด้านการจัดการ • เปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมและบรรยากาศขององค์กร • เปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมในการบริหาร เป็นต้น

  39. ขั้นตอนของกระบวนการพัฒนาองค์กรขั้นตอนของกระบวนการพัฒนาองค์กร • กำหนดปัญหา โดยฝ่ายบริหารระดับสูง • สร้างทีมที่ปรึกษา จากภายในและภายนอกองค์กร • รวบรวมข้อมูลและวินิจฉัยปัญหาการทำงานของบุคลากรในองค์กร • ทีมที่ปรึกษาและผู้จัดการสร้างแผนงานเพื่อการเปลี่ยนแปลง • นำแผนงานนั้นมาปฏิบัติงานจริง • ผู้บริหารระดับสูงให้ความร่วมมือ • ทีมที่ปรึกษารวบรวมข้อมูลหลังการปฏิบัติงาน เพื่อวิเคราะห์ ประเมินผลโดยรวม อาจทำให้มีการเปลี่ยนแปลงให้เหมาะขึ้น

  40. การจัดคนเข้าทำงาน (Staffing) • ฝ่ายบริหารงานบุคคล แผนกบุคคล หน่วยงานบริหารทรัพยากรบุคคล (Human Resource Management; HRM) • มีหน้าที่ความรับผิดชอบเกี่ยวกับ :::: • การจ้างงาน (Employment):การรับสมัคร (Recruitment) การคัดเลือก (Selection) • การฝึกอบรม (Training) :เพิ่มระดับความสามารถของบุคลากร • สุขภาพ (Health) :ต้องแน่ใจว่าบุคลากรมีสุขภาพดีเยี่ยม

  41. การจัดคนเข้าทำงาน (Staffing) (ต่อ) • ความปลอดภัย (Safety) :ต้องแน่ใจว่าสภาพการทำงานของบุคลากรมีความปลอดภัย • ผลประโยชน์ (Benefits) :จัดการเกี่ยวกับผลประโยชน์พิเศษนอกเหนือจากค่าจ้างหรือเงินเดือน • การบริการ (Service) :จัดโปรแกรมต่างๆ • ความสัมพันธ์ของแรงงาน (Labor Relations) :จัดข้อตกลงต่างๆ กับบุคลากร • การจัดการค่าจ้างและเงินเดือน (Wage and Salary administration) :จัดโปรแกรมการจ่ายเงินเดือน ค่าจ้าง

  42. 1. การจ้างงาน • การรับสมัคร::: แหล่งที่มีกำลังคนเป็นจำนวนมาก • แหล่งกำลังคนจากภายในองค์กร • แหล่งกำลังคนจากภายนอกองค์กร • การคัดเลือก • การคัดเลือกโดยการใช้แบบทดสอบ ::: • Performance test , Aptitude test , Personality test • การคัดเลือกโดยการสัมภาษณ์ ::: พูดคุย ถาม-ตอบ

  43. 2. การฝึกอบรม • การปฐมนิเทศ (Orientation) • การฝึกอบรมสำหรับการปฏิบัติงานจริง (On-the-Job Training) • การฝึกอบรมในรูปแบบห้องเรียน (Classroom Training) • การฝึกอบรมสำหรับเป็นผู้ปฏิบัติงาน (Apprentice Training) • การฝึกอบรมกับบริษัทที่ยินดีให้ความร่วมมือ (Cooperative Training)

  44. 3. สุขภาพ • การทดสอบทางร่างกาย (Physical Examination) • การจัดเตรียมการดูแลสุขภาพทั่วไป (General Treatment) • โปรแกรมทางด้านสุขภาพ (Health Program) 4. ความปลอดภัย • การบริหารงานด้านความปลอดภัยและสุขอนามัยสำหรับแรงงาน

  45. 5. ผลประโยชน์ • การลาหยุดพักผ่อน หรือลาพักร้อน • การดูแลทางด้านสุขภาพ อนามัย • การวางแผนสำหรับการประกันชีวิต • เงินบำเหน็จ บำนาญ 6. การบริการ • ระบบสื่อสารที่ใช้สำหรับพนักงานในองค์กร • มีโปรแกรมปฏิบัติงานนอกสถานที่ • โปรแกรมการแข่งกีฬา • สถานที่ในการรับประทานอาหาร

  46. 7. ความสัมพันธ์ของแรงงาน • “สหภาพ” ::: กลุ่มตัวแทนพนักงานในการเรียกร้องสิทธิหรือผลประโยชน์ต่างๆ ให้กับพนักงาน 8. การจัดการด้านค่าจ้างและเงินเดือน • “ค่าจ้าง” ::: จำนวนเงินที่คนงานได้รับเป็นการตอบแทนการทำงานโดยถือเกณฑ์จำนวนชั่วโมงทำงาน • “เงินเดือน” ::: จำนวนเงินที่คนงานได้รับเป็นการตอบแทนโดยเหมาเป็นเดือน

  47. การอำนวยการ (Directing) • เป็นหน้าที่เกี่ยวเนื่องจากการจัดคนเข้าทำงาน :::: • การตัดสินใจ (Decision Making) :การตัดสินใจเพื่อเลือกแนวทางที่จะนำไปปฏิบัติและไปสู่เป้าหมายที่ตั้งไว้ • การสั่งการ (Commanding):การที่ผู้บังคับบัญชามอบหมายให้ผู้ใต้บังคับบัญชาปฏิบัติหน้าที่ในงานใดๆ • การจูงใจ (Motivating) :แนวคิดเกี่ยวกับแรงจูงใจที่สำคัญ มี 4 แนวคิด

  48. แนวคิดเกี่ยวกับแรงจูงใจแนวคิดเกี่ยวกับแรงจูงใจ • แนวคิดการจูงใจของเทย์เลอร์ • การให้ผลตอบแทนเป็นการจูงใจในการทำงานอย่างหนึ่ง (เงิน) • ค่าตอบแทน แบ่งเป็น 3 ระดับ • ระดับต่ำกว่ามาตรฐาน • เท่ากับมาตรฐาน • สูงกว่ามาตรฐาน • ค่าจ้างหรือเงินเดือน โบนัส เบี้ยเลี้ยง ค่าล่วงเวลา การเลื่อนระดับเงินเดือน เป็นต้น

  49. แนวคิดเกี่ยวกับแรงจูงใจ (ต่อ) • แนวคิดการจูงใจของแมสโลว์ (Abraham Maslow) • ทฤษฎีลำดับความต้องการ (Hierarchy of Needs) ระดับที่ 1 ความต้องการทางด้านร่างกาย การเพิ่มเงินเดือน โบนัส การพักผ่อน สถานรักษาพยาบาล ระดับที่ 2 ความต้องการความมั่นคง การประกันชีวิต การให้หุ้นบริษัท ระดับที่ 3 การยอมรับจากสังคมงานแข่งขันกีฬา เป็นคณะกรรมการ ระดับที่ 4 การภูมิใจในตนเอง มอบความรับผิดชอบให้มากขึ้น ระดับที่ 5 ความต้องการสูงสุด สนับสนุนความคิดริเริ่ม เป็นผู้นำทีมงาน

  50. ทฤษฎีลำดับความต้องการทฤษฎีลำดับความต้องการ ระดับที่ 1 ความอยู่รอดหรือความต้องการด้านร่างกาย ระดับที่ 2 ความปลอดภัยหรือความมั่นคงในหน้าที่การงาน ระดับที่ 3 ความเป็นเจ้าของหรือการยอมรับจากสังคม ระดับที่ 4 การยอมรับในตนเอง ระดับที่ 5 ความสำเร็จสูงสุด

More Related