1 / 64

ทำไมต้องทำการวิจัย ?

ทำไมต้องทำการวิจัย ?. อดีต. ปัจจุบัน. การแก้ไขปัญหาโดยประสบการณ์ส่วนตัว (Experience) หรือ สามัญสำนึก (Common Sense). การแก้ไขปัญหาโดยใช้ทฤษฎีและหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ (Theories and Scientific Evidence). การวิจัย (Research). ความผิดพลาดในการหาความรู้จากประสบการณ์.

Télécharger la présentation

ทำไมต้องทำการวิจัย ?

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ทำไมต้องทำการวิจัย? อดีต ปัจจุบัน การแก้ไขปัญหาโดยประสบการณ์ส่วนตัว (Experience) หรือ สามัญสำนึก(Common Sense) การแก้ไขปัญหาโดยใช้ทฤษฎีและหลักฐานทางวิทยาศาสตร์(Theories and Scientific Evidence) การวิจัย (Research)

  2. ความผิดพลาดในการหาความรู้จากประสบการณ์ความผิดพลาดในการหาความรู้จากประสบการณ์ • โปรแกรมล้มเหลวเพราะอะไร? => แก้ไขตรงไหน? • โปรแกรมสำเร็จเพราะอะไร? => ทำซ้ำหรือขยายโปรแกรมอย่างไร? ? ปัจจัยนำเข้า ผลลัพธ์

  3. ความผิดพลาดในการหาสรุปความรู้จากประสบการณ์ความผิดพลาดในการหาสรุปความรู้จากประสบการณ์ ค – คลาดเคลื่อน อ - อคติ ก - การกวน

  4. คลาดเคลื่อน จากการสรุปความจริงจากบางเหตุการณ์ 100 100 100 100 100 100 60 100 100 100 (100+100) /2 = 100 (100+60) /2 = 80

  5. อคติ 1 จากประสบการณ์ที่ไม่เป็นตัวแทนของทั้งหมด อัตราการหาย = (600/1000) * 100 = 60% อัตราการหาย = (500/600) * 100 = 83.33%

  6. อคติ 1 จากประสบการณ์ที่ไม่เป็นตัวแทนของทั้งหมด อัตราการหาย = (600/1000) * 100 = 60% อัตราการหาย = (500/600) * 100 = 83.33%

  7. อคติ 1- ตัวอย่าง จากประสบการณ์ที่ไม่เป็นตัวแทนของทั้งหมด • ผลมากขึ้น • ตัวอย่าง • ผลน้อยลง • ตัวอย่าง

  8. อคติ 2 จากการได้ข้อมูล รายงานแพทย์ เรื่องจริง อัตราการทานยา= 900/1000) * 100 = 90% อัตราการทานยา= (990/1000) * 100 = 99%

  9. อคติ 2- ตัวอย่าง จากการได้ข้อมูล • ผลมากขึ้น • ตัวอย่าง • ผลน้อยลง • ตัวอย่าง

  10. อคติ 3 จากการลำดับเหตุการณ์ อัตราการป่วย= 600/1000) * 100 = 60% อัตราการป่วย= (100/500) * 100 = 20%

  11. อคติ 3- ตัวอย่าง จากการลำดับเหตุการณ์ • ผลมากขึ้น • ตัวอย่าง • ผลน้อยลง • ตัวอย่าง

  12. การกวน ชอบสังคม ผู้ชาย ดื่มสุรา

  13. การกวน - ตัวอย่าง

  14. การวิจัยคืออะไร? การศึกษาหาความรู้ หรือความจริง โดยกระบวนการ ที่มีเหตุผล (ทางวิทยาศาสตร์)เป็นที่ยอมรับในวงการ และมีจริยธรรม

  15. การศึกษาแบบใดไม่ใช่วิจัย?การศึกษาแบบใดไม่ใช่วิจัย? การหาข้อเท็จจริง การหาความจริงทั่วไป การวิจัย หลักวิทยาศาสตร์ วิธีการเป็นที่ยอมรับ จริยธรรมในการศึกษา

  16. ความหมายของ R4R • กระบวนการหาความรู้โดยใช้ฐานข้อมูลในงานประจำ • เพื่อสนับสนุนข้อมูลเชิงประจักษ์ ในการพัฒนางานประจำ • การวิเคราะห์ตามหลักวิชาการ แต่ไม่ยึดติดกับรูปแบบการวิจัยที่ซับซ้อน • เป็นต้นทุนในการวิจัยต่อเนื่องที่ซับซ้อน • เป็นเครื่องมือการพัฒนาคนให้สามารถคิดเชิงระบบ

  17. การวิจัยทั่วไป vs. R4R การวิจัยทั่วไป Record for Research Observation Observation Research Question Research Question Hypothesis Data Exploration Data Collection Data Analysis Hypothesis testing Conclusion

  18. 7 ขั้นตอนการดำเนินงาน R4R • 1. ตั้งคำถาม • 2. ทบทวนความรู้เดิม • 3. กำหนดตัวแปร • 4. หาแหล่งข้อมูลในงานประจำ • 5. เก็บข้อมูล • 6. วิเคราะห์ข้อมูล • 7. สรุปผล

  19. 1. ตั้งคำถาม

  20. ตั้งคำถาม – จากปัญหา ปัญหา คือ ? - สิ่งที่คาดหวัง สิ่งที่เป็นอยู่

  21. ตั้งคำถาม – จากความสนใจ

  22. ตั้งคำถาม – จากการสงสัย

  23. เลือกคำถาม

  24. เลือกเพราะมีความเป็นไปได้ที่จะทำได้สำเร็จเลือกเพราะมีความเป็นไปได้ที่จะทำได้สำเร็จ Feasibility - Data available - Money/Funding - Do no harm หัวข้อวิจัยไม่ควรกว้างเกิน

  25. เลือกเพราะปัญหานั้นมีความสำคัญในเชิงสาธารณสุขเลือกเพราะปัญหานั้นมีความสำคัญในเชิงสาธารณสุข Importance - High incidence - High prevalence - High mortality and/or fatality - High disability (DALYs) - High Economic impact - Substantial Impact to QOL HIGH PRIORITY HEALTH PROBLEM Community Concern

  26. เลือกเพราะประโยชน์ที่จะได้รับ และการนำผลไปใช้ Benefits - Your benefit - Your workplace, community, institute benefit - National or regional benefit OPTIMALPOLICY - Global benefit

  27. Research question Pick topic Research question Research Question(s)

  28. ตัวอย่างหัวข้อวิจัย R4R รพ. จิตเวชนครราชสีมาราชนครินทร์ • ปัจจัยที่มีผลต่อระยะเวลารอนัดพบแพทย์ของผู้ป่วยใหม่จิตเวชเด็กและวัยร่น • ศึกษาผลการเข้ากลุ่ม “พลังรักครอบครัว” ของญาติในการดูแลผู้ป่วยจิตเภทกับการกลับเป็นซ้ำ • ปัจจัยที่มีผลต่อการฆ่าตัวตายสำเร็จของผู้ป่วยจิตเวชหลังส่งต่อให้ชุมชน • ศึกษาผลของโปรแกรมการฟื้นฟูสมรรถภาพการทำงานในผู้ป่วยจิตเภทเรื้อรัง • การพัฒนารูปแบบการป้องกันผู้ป่วยหลบหนีของโรงพยาบาลจิตเวชนครราชสีมาราชนครินทร์ • การพัฒนาระบบสารสนเทศและตำแหน่งภูมิศาสตร์ของโรงพยาบาลชุมชนตามโครงการระบบจิตแพทย์พี่เลี้ยงร่วมกับ Google map • สาเหตุและปัจจัยที่เกี่ยวข้องของการผิดนัดในผู้ป่วยจิตเวช

  29. 2. ทบทวนความรู้

  30. เลือกจากองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้อง/Research Gaps Knowledge : Scientific literature review - Original research articles - Review articles - Meta-analysis - Guidelines : Expert consultation : Conference/Meeting

  31. Literature and related study review • Find out what is already be done - Methodology - Design - Source of data - Measurement tool • Increase your confidence in your topic • Comparing research on the topic • New idea and approach • Explanation and interpretation • Other research contacts

  32. 3. กำหนดประเด็น

  33. กำหนดประเด็น

  34. การทบทวนสาเหตุ

  35. กำหนดประเด็น – ตัวอย่าง คำถาม: สาเหตุของการหลบหนีของผู้ป่วยในคืออะไร

  36. กำหนดวัตถุประสงค์ ชื่อโครงการ:ปัจจัยที่มีผลต่อระยะเวลารอนัดพบแพทย์ของผู้ป่วยใหม่จิตเวชเด็กและวัยรุ่น คำถามการวิจัย:มีปัจจัยอะไรบ้างที่ทำให้ระยะเวลาการนัดพบแพทย์ของผู้ป่วยใหม่นานกว่า 75 วัน • General objective • เพื่อศึกษาระบบนัดพบแพทย์ของผู้ป่วยใหม่จิตเวชเด็กและวัยรุ่น • Specific objective • เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อระยะเวลารอนัดพบแพทย์ของผู้ป่วยใหม่ • เพื่อประเมินระยะเวลาเฉลี่ยในการนัดพบแพทย์ของผู้ป่วยใหม่

  37. การตั้งสมมุติฐานทางสถิติการตั้งสมมุติฐานทางสถิติ H0 = Null hypothesis HA = Alternative hypothesis ชื่อโครงการ:ปัจจัยที่มีผลต่อระยะเวลารอนัดพบแพทย์ของผู้ป่วยใหม่จิตเวชเด็กและวัยรุ่น สมมุติฐานการวิจัย: • ความรุนแรงของโรค และปัจจัยของครอบครัว เช่น การศึกษาของผู้ปกครอง รายได้ของครอบครัว มีผลต่อระยะเวลารอนัดพบแพทย์ของผู้ป่วยใหม่จิตเวชเด็กและวัยรุ่น

  38. 4. หาแหล่งข้อมูล

  39. แหล่งข้อมูลในงานจิตเวชแหล่งข้อมูลในงานจิตเวช คำถาม: สาเหตุของการหลบหนีของผู้ป่วยในคืออะไร

  40. 5. เก็บข้อมูล

  41. เลือกรูปแบบการวิจัย Laboratory Experimental Animal Human X-sectional Assigned Exposure Descriptive Clinical Research Longitudinal No comparison group Natural Exposure X - sectional Observational Comparison group Cohort (Prospective) Analytical Case-control (Retrospective)

  42. รูปแบบการศึกษาแบบสังเกตรูปแบบการศึกษาแบบสังเกต • การศึกษาแบบตัดขวาง (Cross sectional study) • การศึกษาย้อนหลังแบบเปรียบเทียบคนป่วยกับคนปกติ (Case-control study) • การศึกษาโดยการติดตามการป่วยในกลุ่มเสี่ยงไปข้างหน้า (Cohort study)

  43. Disease No Disease (CASES) (CONTROLS) เก็บข้อมูลการมี/ไม่มี Exposure ก่อนเกิดโรค Exposed Not Exposed Exposed Not Exposed Case-control Studies เริ่มต้นที่... ผล เหตุ ที่มา:พญ.ดารินทร์ อารีย์โชคชัย สไลด์การบรรยายเรื่องระบาดวิทยาภาคสนามสำหรับแพทย์ (2549)

  44. ป่วย ไม่ป่วย a b c d มีปัจจัย ไม่มีปัจจัย Case-control Studies :การวิเคราะห์ข้อมูล Disease No Disease (CASES) (CONTROLS) เก็บข้อมูลการมี/ไม่มี Exposure ก่อนเกิดโรค Exposed Exposed Not Exposed Not Exposed a d c b ที่มา:พญ.ดารินทร์ อารีย์โชคชัย สไลด์การบรรยายเรื่องระบาดวิทยาภาคสนามสำหรับแพทย์ (2549)

  45. ป่วย ไม่ป่วย Case-control Studies a b มีปัจจัย c d ไม่มีปัจจัย สัดส่วนของการมีปัจจัยต่อการไม่มีปัจจัยในกลุ่มคนป่วย = a / c สัดส่วนของการมีปัจจัยต่อการไม่มีปัจจัยในกลุ่มคนไม่ป่วย = b / d Odds ratio = a/c ÷ b/d = ad / bc ที่มา:พญ.ดารินทร์ อารีย์โชคชัย สไลด์การบรรยายเรื่องระบาดวิทยาภาคสนามสำหรับแพทย์ (2549)

  46. ตัวอย่างสมมุติ:Case-control Study กับการป่วยซ้ำของโรคจิตเภท ป่วยซ้ำ ไม่ป่วยซ้ำ 40 20 ใช้สารเสพติด 10 80 ไม่ใช้สารเสพติด 50 100 Odds Ratio (OR) = ad/bc =40x 80 20 x 10 = 16 ผู้ป่วยซ้ำมีสัดส่วนของการใช้สารเสพติดเป็น 16 เท่าของผู้ที่ไม่ป่วยซ้ำ ปรับปรุงจาก: พญ.ดารินทร์ อารีย์โชคชัย สไลด์การบรรยายเรื่องระบาดวิทยาภาคสนามสำหรับแพทย์ (2549)

  47. Cohort study : การวิเคราะห์ข้อมูล ความเสี่ยงของการเกิดโรคในกลุ่มที่มีปัจจัยเสี่ยง =a / ( a + b ) ความเสี่ยงของการเกิดโรคในกลุ่มที่ไม่มีปัจจัยเสี่ยง =c / ( c + d ) Risk ratio = a / ( a + b ) c / ( c + d ) ที่มา:พญ.ดารินทร์ อารีย์โชคชัย สไลด์การบรรยายเรื่องระบาดวิทยาภาคสนามสำหรับแพทย์ (2549)

  48. ตัวอย่างสมมุติ:Cohort study กับการฆ่าตัวตายในผู้ประสบภัยสึนามิ Non-exposed Exposed Case Case Non-case Non-case ผู้ที่ประสบภัยมีความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายเป็น 6 เท่าของผู้ที่ไม่ประสบภัย ที่มา:พญ.ดารินทร์ อารีย์โชคชัย สไลด์การบรรยายเรื่องระบาดวิทยาภาคสนามสำหรับแพทย์ (2549)

  49. สร้างแบบเก็บข้อมูล ชื่อ ___________________ สกุล_________________ HN_______________________________ อายุ__________________เพศ_________________ การวินิจฉัย________________________________ เหตุ 1 ________________________________ เหตุ 2 ________________________________ ผล ________________________________

  50. ลงข้อมูลในตาราง

More Related