1 / 38

สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดกาญจนบุรี

ประชุมเชิงปฏิบัติการเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการจัดเก็บข้อมูล เพื่อการพัฒนาชุมชน ระดับอำเภอ. สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดกาญจนบุรี. แนวทางการบริหารการจัดเก็บ. จัดเก็บข้อมูล จำนวน 160,557 ครัวเรือน. 75 จังหวัด. ประจวบคีรีขันธ์. เป้าหมาย.

vroman
Télécharger la présentation

สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดกาญจนบุรี

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ประชุมเชิงปฏิบัติการเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการจัดเก็บข้อมูล เพื่อการพัฒนาชุมชน ระดับอำเภอ สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดกาญจนบุรี

  2. แนวทางการบริหารการจัดเก็บแนวทางการบริหารการจัดเก็บ จัดเก็บข้อมูล จำนวน 160,557 ครัวเรือน 75 จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ เป้าหมาย เก็บทุกครัวเรือนที่มีผู้อาศัยอยู่จริงในหมู่บ้าน/ชุมชน พื้นที่ ธันวาคม 2561 – กุมภาพันธ์ 2562 ระยะเวลาการจัดเก็บ-บันทึก จัดเก็บข้อมูล จำนวน 910 หมู่บ้าน เป้าหมาย ทุกหมู่บ้านในเขตชนบท พื้นที่ มกราคม – มีนาคม 2562 ระยะเวลาการจัดเก็บ-บันทึก

  3. เป้าหมายการจัดเก็บ

  4. เตรียมการและวางแผนการจัดเก็บข้อมูล จังหวัดได้แจ้งให้อำเภอ กำหนดเป้าหมายครัวเรือนในการจัดเก็บข้อมูล จปฐ. ตรวจสอบความพร้อมของแบบสอบถาม จัดทำคำสั่งคณะทำงานบริหารการจัดเก็บข้อมูลฯ ระดับตำบล คำสั่งแต่งตั้งผู้จัดเก็บข้อมูล จปฐ.และคำสั่งแต่งตั้งผู้บันทึกข้อมูล จปฐ./กชช. 2ค ระดับตำบล พร้อมวางแผนการบริหารการจัดเก็บข้อมูล จปฐ. ในการคัดเลือกผู้จัดเก็บข้อมูลในปีนี้ ให้อำเภอพิจารณาผู้จัดเก็บที่มีทักษะการใช้ Application เพื่อเตรียมความพร้อมในการจัดเก็บ จปฐ. ด้วยเครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ ในปี 2563 ส่งสำเนาคำสั่งทั้งหมดให้จังหวัดภายในวันที่ 10 พฤศจิกายน 2561 (สำเนาพร้อมหนังสือนำส่งตัวจริง ขอไม่รับทางอีเมล์) ส่งสำเนาคำสั่งฯให้จังหวัด ภายในวันที่ 10 พฤศจิกายน 2561

  5. การจัดเก็บบันทึกและประมวลผลข้อมูลฯการจัดเก็บบันทึกและประมวลผลข้อมูลฯ 1)พัฒนากรผู้ประสานงานตำบล และผู้นำอาสาพัฒนาชุมชน (ผู้นำ อช.) ร่วมดำเนินการบริหารการจัดเก็บข้อมูล จปฐ. เพื่อให้ได้ข้อมูลที่มีความถูกต้องครบถ้วนและมีคุณภาพ 2) ตรวจสอบคุณภาพข้อมูล จปฐ. ระดับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พัฒนากร ผู้ประสานงานตำบล และผู้บันทึกข้อมูล นำเสนอผลการจัดเก็บข้อมูลต่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อให้ผู้บริหารท้องถิ่น กำนัน/ผู้ใหญ่บ้าน ผู้นำชุมชน และประชาชนได้รับทราบและร่วมตรวจสอบยืนยันความถูกต้องครบถ้วนของข้อมูลฯ ก่อนที่จะนำไปใช้ประโยชน์ แล้วจัดทำคำรับรองคุณภาพข้อมูล จปฐ. ระดับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นส่งอำเภอ ภายในวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2562 และคำรับรองคุณภาพข้อมูล กชช. 2ค ระดับตำบลส่งอำเภอ ภายในวันที่ 8 มีนาคม 2562

  6. การจัดเก็บบันทึกและประมวลผลข้อมูลฯการจัดเก็บบันทึกและประมวลผลข้อมูลฯ 3) อำเภอตรวจสอบคุณภาพข้อมูล จปฐ. ระดับอำเภอ คณะทำงานบริหารการจัดเก็บข้อมูล จปฐ.ระดับอำเภอ ตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วนของข้อมูล จปฐ. ของแต่ละตำบลและภาพรวมอำเภอ และนำเสนอผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชากร ระดับอำเภอ ให้รับทราบและร่วมตรวจสอบยืนยันความถูกต้องครบถ้วนของข้อมูล จปฐ. ก่อนที่จะนำไปใช้ประโยชน์ แล้วจัดทำคำรับรองคุณภาพข้อมูล จปฐ. ระดับอำเภอ ส่งจังหวัด ภายในวันที่ 10 มีนาคม ๒๕๖2 และคำรับรองคุณภาพข้อมูล กชช. 2ค ระดับอำเภอ ส่งจังหวัดภายในวันที่ 15 มีนาคม 2562 (คำรับรองคุณภาพพร้อมหนังสือนำส่งตัวจริง ขอไม่รับทางอีเมล์) จปฐ. เสร็จเรียบร้อย ภายในวันที่ 10 มีนาคม 2561 กชช. 2ค เสร็จเรียบร้อย ภายในวันที่ 15 มีนาคม 2561

  7. 4)ตรวจสอบคุณภาพข้อมูล จปฐ. ระดับจังหวัด คณะทำงานบริหารการจัดเก็บข้อมูล จปฐ. ระดับจังหวัด ตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วนของข้อมูล จปฐ. ของแต่ละอำเภอและภาพรวมจังหวัด และนำเสนอผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน ระดับจังหวัด ให้รับทราบและร่วมตรวจสอบยืนยันความถูกต้องครบถ้วนของข้อมูล จปฐ. ก่อนที่จะนำไปใช้ประโยชน์ แล้วจัดทำคำรับรองคุณภาพข้อมูล จปฐ. /กชช. 2ค ระดับจังหวัดส่งกรมการพัฒนาชุมชน ภายในวันที่ 31 มีนาคม ๒๕๖2 จังหวัดส่งกรมฯ ภายในวันที่ 31 มีนาคม 2561

  8. การติดตามประเมินผล ระดับจังหวัดคณะทำงานตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐาน การจัดเก็บข้อมูล จปฐ./กชช. 2ค ระดับจังหวัด มีจำนวน 2 ชุด ชุดที่ 1 ทีมปฏิบัติการ การใช้งานโปรแกรมบันทึกและประมวลผล จปฐ. / กชช. 2ค ประกอบด้วย หัวหน้ากลุ่มงานสารสนเทศฯ และนักวิชาการกลุ่มงานสารสนเทศการพัฒนาชุมชนทุกคน มีหน้าที่ ดังนี้ 1.1 ติดตาม/ให้คำแนะนำการใช้งานโปรแกรมฯ (จะแจ้งแผนการติดตามให้ทราบ) 1.2 แก้ไขปัญหาการใช้งานโปรแกรมฯ หากผู้บันทึกมีปัญหาการใช้งานโปรแกรมให้แจ้งทางโทรศัพท์หรือทางไลน์กลุ่ม (จปฐ.) หรือทางไลน์ส่วนตัว เพื่อทีมงานจะได้แก้ไขปัญหาให้ในทันทีหรือเร็วที่สุด 1.3 รายงานความก้าวหน้าการบันทึกและประมวลผลข้อมูลฯ ให้กรมฯ ทราบ

  9. ชุดที่ 2 คณะทำงานติดตามและประเมินผลคุณภาพและมาตรฐานการจัดเก็บข้อมูลฯ คณะทำงานที่ 1 รับผิดชอบอำเภอเมืองกาญจนบุรี อำเภอท่าม่วง และอำเภอศรีสวัสดิ์ ประกอบด้วย ปลัดจังหวัดกาญจนบุรี หัวหน้าคณะทำงาน เกษตรและสหกรณ์จังหวัดกาญจนบุรี คณะทำงาน หัวหน้ากลุ่มงานสารสนเทศการพัฒนาชุมชน คณะทำงาน สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดกาญจนบุรี นางสาวพรรณีย์ รามณีย์ คณะทำงาน นางสาวณิชา อินทร์คำ คณะทำงาน นายเลิศวิชญ์เลิศศิรวรเมธ คณะทำงานและเลขานุการ

  10. คณะทำงานที่ 2 รับผิดชอบอำเภอไทรโยค อำเภอทองผาภูมิ และอำเภอสังขละบุรี ประกอบด้วย เกษตรจังหวัดกาญจนบุรี หัวหน้าคณะทำงาน แรงงานจังหวัดกาญจนบุรี คณะทำงาน หัวหน้ากลุ่มงานยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชน คณะทำงาน สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดกาญจนบุรี นางนิภาภรณ์ พานทอง คณะทำงาน นางเกศณี ถาแก้ว คณะทำงาน นางสาววิภาวี วิษณุวงศ์ คณะทำงานและเลขานุการ

  11. คณะทำงานที่ 3 รับผิดชอบอำเภอเลาขวัญ อำเภอบ่อพลอย อำเภอหนองปรือ และ อำเภอด่านมะขามเตี้ย ประกอบด้วย ผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมและการศึกษานอกระบบ หัวหน้าคณะทำงาน และการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดกาญจนบุรี ท้องถิ่นจังหวัดกาญจนบุรี คณะทำงาน หัวหน้ากลุ่มงานส่งเสริมการพัฒนาชุมชน คณะทำงาน สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดกาญจนบุรี นางณัฐภัทร ศิริพันธุ์ คณะทำงาน พันจ่าอากาศโทอภิชาติ สุทธิหาระ คณะทำงาน นางสาววรวลัญซ์ จันทร์สงเคราะห์ คณะทำงานและเลขานุการ

  12. คณะทำงานที่ 4 รับผิดชอบอำเภอท่ามะกา อำเภอพนมทวน อำเภอห้วยกระเจา ประกอบด้วย 1. นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดกาญจนบุรี หัวหน้าคณะทำงาน พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดกาญจนบุรี คณะทำงาน หัวหน้าฝ่ายอำนวยการ คณะทำงาน สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดกาญจนบุรี นางเอื้องฟ้า ประทีป คณะทำงาน นางสาวณัฐรวี ตันธีระพลชัย คณะทำงาน นางสาวปกกมล กำจรกิตติคุณ คณะทำงานและเลขานุการ

  13. คณะทำงานฯ มีหน้าที่ ดังนี้ 1.ให้คำแนะนำ เป็นที่ปรึกษา และตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล จปฐ./กชช. 2ค ระดับ อปท.และระดับอำเภอ 2.ติดตามและประเมินผลคุณภาพ มาตรฐานการจัดเก็บข้อมูล จปฐ./กชช. 2ค ประเด็นการติดตาม มีดังนี้ 1.ติดตามการบริหารการจัดเก็บในภาพรวมของอำเภอ 2.สุ่มตรวจสอบเล่มที่จัดเก็บ ในพื้นที่เป้าหมาย 3.สุ่มตรวจสอบ/เยี่ยมเยียน ครัวเรือนที่ตกเกณฑ์รายได้ (ครัวเรือนยากจน) ในพื้นที่เป้าหมาย 4.เข้าร่วมกิจกรรมการนำเสนอข้อมูล ระดับ อปท./ระดับอำเภอ (อำเภอต้องส่งแผนให้จังหวัดทราบก่อนดำเนินการ)

  14. ระดับอำเภอ อำเภอแต่งตั้งคณะทำงานติดตามระดับตำบลและทำการตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการจัดเก็บข้อมูลทันทีเมื่อเริ่มดำเนินการจัดเก็บ บันทึกและประมวลผลข้อมูล จปฐ. โดยยึดตามแผนปฏิบัติการบริหารการจัดเก็บข้อมูล จปฐ.ระดับตำบล (เบิกจ่ายภายในไตรมาส 2)

  15. ขั้นตอน รายงานผล รายงานผลความก้าวหน้าในการบริหารการจัดเก็บและบันทึกข้อมูล จปฐ. ทุกวันศุกร์ เริ่มตั้งแต่ วันที่ 16 พฤศจิกายน ๒๕๖1 เป็นต้นไปจนกว่าจะแล้วเสร็จ รายงานทุกวันศุกร์ ๒) รายงานผลการคัดเลือกผู้จัดเก็บข้อมูล จปฐ. ดีเด่น ผู้บันทึกข้อมูล จปฐ.ดีเด่น และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดีเด่นในระบบงานศูนย์ข้อมูลกลางเพื่อบริหารจัดเก็บและใช้ประโยชน์ให้จังหวัด ภายในวันที่ 20 กุมภาพันธ์ ๒๕๖2 (ต้องส่งเป็นเอกสารพร้อมหนังสือนำส่ง ไม่ขอรับเอกสารทางอีเมล์) โดยมีหลักเกณฑ์การคัดเลือก (ตามเอกสารแนบท้าย) ส่งจังหวัดภายในวันที่ 20 กุมภาพันธ์ ๒๕๖2

  16. ขั้นตอน การนำเสนอข้อมูล การนำเสนอข้อมูล ระดับ อปท. เพื่อตรวจสอบข้อมูล ในปี 2562 นอกจากการนำเสนอข้อมูลตามตัวชี้วัดแล้วกรมการพัฒนาชุมชนกำหนดให้มีการนำเสนอข้อมูลระดับตำบลโดยโปรแกรม CIA (Community Information Radar Analysis) ** อำเภอต้องส่งแผนการนำเสนอข้อมูล ให้จังหวัดทราบก่อนการดำเนินงาน** ตัวชี้วัด ปี 2562 เชิงปริมาณ - จำนวนครัวเรือนที่มีข้อมูล จปฐ. 160,557 ครัวเรือน - จำนวนหมู่บ้านที่มีข้อมูล กชช.2ค 910 หมู่บ้าน เชิงคุณภาพ - ร้อยละของครัวเรือนที่มีข้อมูล จปฐ. ที่เชื่อถือได้ (ร้อยละ 90 ) -ร้อยละของหมู่บ้านที่มีข้อมูล กชช.2ค ที่เชื่อถือได้ (ร้อยละ 90)

  17. การใช้ประโยชน์จากข้อมูล จปฐ. ปี 2561 – 2562 จังหวัดกาญจนบุรี ได้สั่งการให้อำเภอดำเนินการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนระดับอำเภอ ตามหนังสือจังหวัดกาญจนบุรี ด่วนที่สุด ที่กจ 0019/ว14092 ลงวันที่ 31 กรกฎาคม 2561 และหนังสือจังหวัดกาญจนบุรี ด่วนที่สุด ที่ กจ 0019/ว14794 ลงวันที่ 10 สิงหาคม 2561 ผลการดำเนินงาน อำเภอที่แจ้งแผน/ผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน

  18. งบประมาณตามยุทธศาสตร์งบประมาณตามยุทธศาสตร์ กรมการพัฒนาชุมชน ที่สนับสนุนการบริหารการจัดเก็บ จปฐ. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562

  19. กิจกรรมตามยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชนกิจกรรมตามยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน 1. การบริหารการจัดเก็บและใช้ประโยชน์ข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) 1.1 การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการจัดเก็บและใช้ประโยชน์ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ประจำปี 2562 1.1.1 ประชุมคณะทำงานบริหารการจัดเก็บข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ระดับจังหวัด (ไตรมาส 1) 1.1.2 ประชุมเชิงปฏิบัติการเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการจัดเก็บข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ระดับอำเภอ (ไตรมาส 1) 1.2 การเตรียมความพร้อมการจัดเก็บข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ประจำปี 2562 1.2.1 ประชุมเชิงปฏิบัติการผู้จัดเก็บข้อมูล จปฐ. ประจำปี 2562 (ไตรมาส 1) 1.2.2 ฝึกอบรมผู้บันทึกข้อมูล ประจำปี 2562 เรื่องการใช้งานโปรแกรมบันทึกและประมวลผล ข้อมูล จปฐ. (ไตรมาส 1) 1.3 การจัดเก็บข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) 1.3.1 ค่าจัดเก็บข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) (ไตรมาส 2) 1.3.2 ค่าบันทึกและประมวลผลข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) (ไตรมาส 2) 1.4 การตรวจสอบคุณภาพการจัดเก็บข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) 1.4.1 ตรวจสอบคุณภาพการจัดเก็บข้อมูล จปฐ. ระดับอำเภอ (ไตรมาส 2) 1.4.2 ตรวจสอบคุณภาพการจัดเก็บข้อมูล จปฐ. ระดับจังหวัด (ไตรมาส 2)

  20. กิจกรรมตามยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชนกิจกรรมตามยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน 1.5 การเผยแพร่และส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) 1.5.1 รณรงค์และเชิญชวนการจัดเก็บข้อมูล จปฐ. ระดับจังหวัด (ไตรมาส 1) 1.5.2 ส่งเสริมการใช้ประโยชน์และรับรองคุณภาพข้อมูลฯ ระดับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ไตรมาส 3) 1.5.3 ส่งเสริมการใช้ประโยชน์และรับรองคุณภาพข้อมูลฯ ระดับอำเภอ (ไตรมาส 3) 1.5.4 ส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากข้อมูลเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน ระดับจังหวัด 1) สนับสนุนการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน ระดับจังหวัด (ไตรมาส 2) 2) ประชุมเชิงปฏิบัติการบูรณาการแผนงานพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน (ไตรมาส 3) 3) ประชาสัมพันธ์การพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน ระดับจังหวัด (ไตรมาส 3) 2. การบริหารการจัดเก็บและใช้ประโยชน์ข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค) 2.1 ค่าบันทึกและประมวลผลข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค) (ไตรมาส 3) 2.2 ตรวจสอบคุณภาพการจัดเก็บข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค) (ไตรมาส 3) 3. การบริหารการจัดเก็บข้อมูล จปฐ. ด้วยเครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ ในจังหวัดนำร่อง 3.1 ประชุมเชิงปฏิบัติการการจัดเก็บข้อมูล จปฐ. ด้วยเครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ (ไตรมาส 1) 3.2 ค่าจัดเก็บข้อมูล จปฐ. ด้วยเครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ (ไตรมาส 2) 4. การบูรณาการชี้เป้าลดความเหลื่อมล้ำด้วยเทคโนโลยี -ประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำแผนลดความเหลื่อมล้ำแบบบูรณาการ ระดับจังหวัด (ไตรมาส 2)

  21. ประเด็นเน้นย้ำ การเตรียมความพร้อมก่อนการจัดเก็บข้อมูล 1.การตรวจสอบจำนวนเล่มก่อนที่จะส่งมอบให้กับหมู่บ้าน (จำนวนที่จัดเก็บเดิม เป้าหมายการจัดเก็บปีนี้จำนวนเล่มที่มีอยู่) ตรวจสอบว่ามีครบถ้วนหรือไม่ รายหมู่บ้าน 2.การจัดทำทะเบียนคุมการส่งมอบเล่มให้กับหมู่บ้าน 3.การสำรวจผู้จัดเก็บที่มีความสามารถในการใช้งานสมาร์ทโฟน และไม่เคยใช้งานสมาร์ทโฟน 4.การส่งสำเนาคำสั่งทั้งหมดให้จังหวัดภายในวันที่ 10 พฤศจิกายน 2561 (สำเนาพร้อมหนังสือนำส่งตัวจริง ขอไม่รับทางอีเมล์) (หากอำเภอใดยังไม่ส่ง ขอให้ส่งก่อนสิ้นเดือนนี้)

  22. ประเด็นเน้นย้ำ 1. การลบ/แก้ไขข้อมูล หลังจากบันทึกคำตอบ 31 ตัวชี้วัดไปแล้ว 1.1 เมื่อลบหรือแก้ไขข้อมูลหน้าปก ผู้บันทึกต้องเข้าไปเช็คข้อมูลด้านในทั้ง 31 ตัวชี้วัดอีกครั้ง 2. การซิงค์ข้อมูล ให้ซิงค์ข้อมูลเป็นรายหมู่จะทำให้การซิงค์เร็วขึ้น 3. สิ่งที่ต้องทำหลังจากทำซ้ำข้อมูล 3.1 เช็คจำนวนครัวเรือนที่ทำซ้ำมาครบหรือไม่ 3.2 เช็คข้อมูลหน้าปก (คำนำหน้า/เขตการปกครอง/รหัสประจำบ้าน/อาชีพ/การศึกษา) เช่น ปีที่แล้วเป็นเด็กหญิง อายุ 14 ปี ปีที่จัดเก็บอายุจะเพิ่มให้อัตโนมัติในโปรแกรม เป็น อายุ 15 ปี แต่คำนำหน้ายังไม่ได้เปลี่ยน ต้องเปลี่ยนเป็นนางสาว/นายด้วย เพราะระบบไม่ได้เปลี่ยนให้อัตโนมัติ )

  23. ข้อควรระวัง หลังจากเปิดระบบฯ แล้ว หากต้องการล้างข้อมูลทั้งหมดในเครื่องคอมพิวเตอร์ ห้ามกดปุ่มลบข้อมูล ในโปรแกรม EBMN เพราะเป็นการลบข้อมูล ที่อยู่ใน Server ด้วย ถ้าต้องการลบข้อมูลให้ใช้โปรแกรม Clear House (กรมฯ จะทำการส่งให้จังหวัดที่ขอเท่านั้น) หากผู้บันทึกท่านใดต้องการลบข้อมูลเดิมในเครื่องขอให้ติดต่อจังหวัดก่อน

  24. โปรแกรมบันทึกและประมวลผลข้อมูล จปฐ./กชช. 2ค 1. โปรแกรมการบันทึกฯ ปี 2562 จะเป็นเวอร์ชั่น3.1 (ห้ามบันทึกข้อมูลในเวอร์ชั่นเก่า แต่ผู้บันทึก ปี 2561 สามารถซิงค์ข้อมูลเก็บไว้ด้วยเวอร์ชั่นเก่าได้) 2. การทำซ้ำข้อมูล จปฐ. ปี 2561 2.1 ทำได้เฉพาะข้อมูล จปฐ. ปี 2561(ทำซ้ำหน้าปกและตารางสมาชิกเท่านั้น คำตอบ 31 ตัวชี้วัด ต้องบันทึกใหม่ทั้งหมด) 2.2 แจ้งย้ายสิทธิ์ข้อมูลระหว่างผู้บันทึกได้กรณีผู้บันทึกเสียชีวิตหรือทุพพลภาพ หรือบรรจุเป็นบุคลากรของรัฐ โดยจังหวัดต้องส่งหลักฐานกรณีที่เกิดขึ้นให้กรมฯ 3. กำหนดให้จังหวัด อัปโหลดข้อมูลฯ จังหวัดละ 5ครั้ง ๆ ละ 3 วัน (ตามปฏิทิน) 4. ปิดระบบฯ ทุกวันพุธ เพื่อทำการประมวลผลข้อมูลฯ (ตามปฏิทิน) 5. ห้ามบันทึกข้อมูลผ่านเว็บไซต์ebmn.cdd.go.th บันทึกผ่านโปรแกรมบนเครื่อง PC เท่านั้น สามารถแก้ไขข้อมูลผ่านเว็บไซต์ได้ แต่อัปโหลดได้เฉพาะวันที่จังหวัดได้รับสิทธิอัปโหลด 6. ผู้ตรวจสอบข้อมูล สามารถยืนยันข้อมูลผ่านเว็บไซต์ได้ทุกวันที่ระบบเปิด (พฤหัสบดีถึงวันอังคาร)

  25. ปฏิทินอัปโหลด ข้อมูล จปฐ. และข้อมูล กชช. 2ค ปี 2562 หน้าจอผู้บันทึกจะมีสถานะขึ้น “คุณอยู่ในกลุ่มสี คุณสามารถอัพโหลดได้ในวันนี้

  26. แนวทางการตรวจสอบข้อมูลแนวทางการตรวจสอบข้อมูล 1. การตรวจสอบความถูกต้อง ครบถ้วน และเป็นไปตามข้อเท็จจริง 1.1 ศึกษาและดำเนินการตามคู่มือการจัดเก็บข้อมูลความจำเป็นพื้นฐานปี 2560-2564 ประเด็นชี้แจงภายในแบบสอบถามข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน และการตรวจสอบความถูกต้องและความสมเหตุสมผลของข้อมูล 1.2 ตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วนและความสมเหตุสมผลของข้อมูลที่จัดเก็บในแบบสอบถาม โดยเฉพาะพื้นที่และเขตการปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ให้ถูกต้อง ก่อนบันทึกข้อมูล 1.3 ตรวจสอบความสอดคล้องของข้อมูลอายุและระดับการศึกษาของเด็กอายุ 6-14 ปี 1.4 เปรียบเทียบข้อมูลในแบบสอบถามและโปรแกรมฯ ให้ถูกต้องครบถ้วน และเป็นไปตามข้อเท็จจริง 1.5 ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล จปฐ. กับข้อมูลในความรับผิดชอบของหน่วยงานภาคีระดับจังหวัดและระดับอำเภอ 1.6 ใช้โปรแกรม Community Information Radar Analysis (CIA) ในการตรวจสอบ นำเสนอ และรับรองข้อมูล จปฐ.

  27. แนวทางการตรวจสอบข้อมูลแนวทางการตรวจสอบข้อมูล 2. จำนวนครัวเรือน 2.1 จัดเก็บข้อมูลครัวเรือนเป้าหมายในโครงการของกรมฯ ให้ครบทุกครัวเรือน 2.2 หมู่บ้าน/ชุมชน ที่มีจำนวนครัวเรือนน้อยกว่า 10 ครัวเรือน ทำการตรวจสอบข้อเท็จจริง อีกครั้ง อาจมีบางหมู่บ้าน/ชุมชน ใช้พื้นที่ในการบันทึกข้อมูลผิด 3. จำนวนประชากร 3.1 จำนวนประชากรเด็ก กรณีพบประชากรอายุน้อยกว่า 15 ปี เป็นหัวหน้าครัวเรือน ให้ตรวจสอบข้อมูลอีกครั้ง 3.2 จำนวนประชากรผู้สูงอายุ กรณีพบประชากรอายุมากกว่า 90 ปีให้ตรวจสอบข้อมูล 3.3 จำนวนประชากรต่างด้าว กรณีครัวเรือนที่มีจำนวนประชากรไทยน้อยกว่าจำนวนประชากรต่างด้าว ให้ตรวจสอบข้อมูลอีกครั้ง 3.4 หมู่บ้าน/ชุมชน ที่มีจำนวนประชากรเฉลี่ยน้อยกว่า 3 คน/ครัวเรือน ทำการตรวจสอบข้อเท็จจริงอีกครั้ง อาจมีบางหมู่บ้าน/ชุมชน ใช้พื้นที่ในการบันทึกข้อมูลผิด หรือจัดเก็บ/บันทึกข้อมูลประชากรไม่เป็นไปตามข้อเท็จจริง

  28. แนวทางการตรวจสอบข้อมูลแนวทางการตรวจสอบข้อมูล 4. รายได้เฉลี่ย 4.1 ตรวจสอบรายได้ของครัวเรือนเป้าหมายในโครงการส่งเสริมการสร้างสัมมาชีพชุมชนในระดับหมู่บ้าน 4.2 กรณีครัวเรือนมีรายได้เฉลี่ยมากกว่า 1,000,000 บาท/คน/ปี (หรือไม่สมเหตุสมผลกับอาชีพ) ให้ตรวจสอบข้อมูลอีกครั้ง 4.3 กรณีครัวเรือนมีรายได้เฉลี่ยน้อยกว่า 10,000 บาท/คน/ปี ให้ตรวจสอบข้อมูล 5. คำรับรองคุณภาพข้อมูล - คำรับรองคุณภาพข้อมูลในทุกระดับ ต้องตรงกับรายงานผลในโปรแกรมบันทึกและประมวลผลข้อมูล

  29. แบบติดตามการบริหารการจัดเก็บข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค) ปี 2562 คณะที่............อำเภอ.......................................จังหวัดกาญจนบุรี วันที่...............เดือน...............................พ.ศ......................

  30. หลักเกณฑ์การคัดเลือกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดีเด่น ในการสนับสนุนการจัดเก็บและการนำข้อมูล จปฐ. ไปใช้ประโยชน์ ชื่อ อปท........................................................... อำเภอ........................... จังหวัด กาญจนบุรี

  31. หลักเกณฑ์การคัดเลือกผู้จัดเก็บข้อมูล จปฐ.ดีเด่น ประจำปี 2562 ชื่อ..................................................................................... อำเภอ..............................................จังหวัด กาญจนบุรี

  32. หลักเกณฑ์การคัดเลือกผู้บันทึกข้อมูล จปฐ.ดีเด่น ประจำปี 2562 ชื่อ..................................................................................... อำเภอ..............................................จังหวัด กาญจนบุรี

More Related