1 / 32

“ เร่งรัดการปรับเปลี่ยนกระบวนการจัดทำและจัดสรร งบประมาณให้เป็นเครื่องมือในการจัดสรรทรัพยากรที่

พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ได้แถลงนโยบายต่อรัฐสภา เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544. “ เร่งรัดการปรับเปลี่ยนกระบวนการจัดทำและจัดสรร งบประมาณให้เป็นเครื่องมือในการจัดสรรทรัพยากรที่ มีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับนโยบายและยุทธศาสตร์ ในการพัฒนาประเทศ และส่งเสริมให้กระทรวง ทบวง

wade-diaz
Télécharger la présentation

“ เร่งรัดการปรับเปลี่ยนกระบวนการจัดทำและจัดสรร งบประมาณให้เป็นเครื่องมือในการจัดสรรทรัพยากรที่

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ได้แถลงนโยบายต่อรัฐสภา เมื่อวันที่ 26กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 “เร่งรัดการปรับเปลี่ยนกระบวนการจัดทำและจัดสรร งบประมาณให้เป็นเครื่องมือในการจัดสรรทรัพยากรที่ มีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับนโยบายและยุทธศาสตร์ ในการพัฒนาประเทศ และส่งเสริมให้กระทรวง ทบวง กรมมีบทบาทในการตัดสินใจมากขึ้น พร้อมทั้งจัดให้มี ระบบควบคุมตรวจสอบที่มีประสิทธิภาพและโปร่งใส” ที่มา : เอกสารมิติใหม่งบประมาณไทยก้าวไกลสู่ e-Budgeting

  2. e-Budgeting การจัดการงบประมาณแบบอัตโนมัติ Government Budget is prepared electronically : การวางแผนงบประมาณ Budget Planning การจัดทำงบประมาณ Budget Preparation การบริหารงบประมาณ Budget Execution การติดตามและประเมินผลBudget Monitoring and Evaluation ข้อมูลสารสนเทศการงบประมาณที่สำคัญจะปรากฏใน Web Site เพื่อการเข้าถึงของสาธารณะ Selected budget information will be posted on public web site. It can be viewed used and navigated in a variety of ways by the public การมีส่วนร่วมและให้ข้อคิดเห็นของสาธารณะในการกำหนดนโยบายและจัดการงบประมาณ Public participation in budget policy formulation and budget dabate on website. ที่มา : เอกสารมิติใหม่งบประมาณไทยก้าวไกลสู่ e-Budgeting

  3. BISระบบสารสนเทศการงบประมาณปีงบประมาณ พ.ศ. 2546 การวางแผนงบประมาณ การจัดทำงบประมาณ ระบบ MTEF สำนักนโยบายฯ • สารสนเทศงบประมาณ • มิติยุทธศาสตร์ • มิติลักษณะเศรษฐกิจ • มิติลักษณะงาน • มิติโครงสร้างแผนงาน • มิติหน่วยงาน ภาระผูกพันตาม ม.23 ระบบ สารสนเทศกลาง การบริหารงบประมาณ การติดตามประเมินผล Web site สำนักงบประมาณ • แผนการจัดสรรงบประมาณ • ไปจังหวัด/ต่างประเทศ • การอนุมัติจัดสรรงบประมาณ • การอนุมัติโอนงบประมาณ • การกันเงินงบกลาง ระบบ EVMIS สำนักประเมินผล ศูนย์สารสนเทศการงบประมาณ สำนักงบประมาณ 13 กพ.47

  4. BISระบบสารสนเทศการงบประมาณสู่e-Budgetingระยะแรก ปีงบประมาณ พ.ศ.2547 การวางแผนงบประมาณ e-การจัดทำงบประมาณ บูรณาการ ระบบ MTEF (งบประมาณและผลผลิต) • สารสนเทศงบประมาณ • มิติพื้นที่ • มิติ Agenda • มิติ Function • Office Automation • ต้นแบบ Workflow • คำขอ คำชี้แจง ฐานเอกสาร ศูนย์ปฏิบัติการ สำนักงบประมาณ (BOC) ระบบสารสนเทศกลาง การบริหารงบประมาณ การติดตามประเมินผล Web site สำนักงบประมาณ แผนการจัดสรรงบประมาณ ไปจังหวัด/ต่างประเทศ ระบบ EvMIS สำนักงบประมาณ โอนเปลี่ยนแปลง แบบ ง.241 GFMIS • e-บริหารและใช้จ่ายงบประมาณ • การอนุมัติจัดสรรงบประมาณ • การอนุมัติโอนงบประมาณ ศูนย์สารสนเทศการงบประมาณ สำนักงบประมาณ 13 กพ.47

  5. การดำเนินงานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2547 1. โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศการงบประมาณ (BIS ระยะแรก) วงเงิน 25 ล้านบาท -ต้นแบบระบบ Workflow เพื่อบริหารจัดการฐานข้อมูล ฐานเอกสาร ในบางขั้นตอนของการจัดทำงบประมาณ -เพิ่มประสิทธิภาพเครื่องแม่ข่ายให้ทันสมัยและมีขีดความสามารถมากขึ้น 2. ประสานงานโครงการ GFMIS 3. เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ลูกข่ายและอุปกรณ์จำนวน 380 เครื่อง วงเงิน 24.44 ล้านบาท 4.พัฒนาศูนย์ปฏิบัติการสำนักงบประมาณ (BOC) ตามโครงการ ศูนย์ปฏิบัติการนายกรัฐมนตรี วงเงิน 5 ล้านบาท ศูนย์สารสนเทศการงบประมาณ สำนักงบประมาณ 13 กพ.47

  6. ระบบ Workflow Document Work Flowคือ ระบบสนับสนุนและติดตามการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ให้เป็นไปตามขั้นตอนและเวลาที่กำหนด เช่น เจ้าหน้าที่สำนักงบประมาณสามารถติดตามขั้นตอนการปฏิบัติงานตั้งแต่ขั้นทบทวนงบประมาณจนถึงขั้นบริหารงบประมาณ โดยสามารถเชื่อมโยงการทำงานระหว่างระบบข้อมูลกลาง กับแหล่งข้อมูลสนับสนุนที่เกี่ยวข้อง เทคโนโลยี ระบบ Document Work Flow พัฒนาขึ้นจาก Lotus Domino Package Product โดยมีส่วนสนับสนุนการทำงานด้านการจัดเก็บข้อมูล เอกสาร ศูนย์สารสนเทศการงบประมาณ สำนักงบประมาณ 13 กพ.47

  7. โครงสร้างระบบ Workflow ระบบติดตามฯ (Document Management System) ระบบจัดเก็บเอกสาร Document Management ฐานข้อมูล ระบบติดตาม ข้อมูลการทำงาน เอกสาร เริ่มต้น เชื่อมโยงด้วย URL เชื่อมโยงด้วย URL ระบบ BIS ที่ทำงานบน WEB ระบบ BIS เดิม (Client & Server) ฐานข้อมูล งบประมาณ (Oracle Database) สิ้นสุด ศูนย์สารสนเทศการงบประมาณ สำนักงบประมาณ 13 กพ.47

  8. ผลที่คาดหวังในปีงบประมาณ พ.ศ. 2547 1. ต้นแบบระบบ Workflow สนับสนุนการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่สำนักงบประมาณ การทบทวนโครงสร้างข้อมูลงบประมาณ การเตรียมข้อมูลคำของบประมาณจากส่วนราชการ การเตรียมคำชี้แจงงบประมาณ 2. เทคโนโลยีที่ทันสมัยและเพียงพอ Hardware แม่ข่ายที่มีขีดความสามารถสูง Software รูปแบบ Web Based , Workflow 3. ระบบศูนย์ปฏิบัติการสำนักงบประมาณ (BOC) ในระยะแรก งบประมาณรายจ่ายประจำปี - EvMIS MTEF - ระบบงบกลาง 4. การประสานแลกเปลี่ยนข้อมูลกับภายนอก ส่วนใหญ่เป็นลักษณะ File Transfer (download, mail, upload) บางส่วน บันทึกโดยตรงจากส่วนราชการ/จังหวัด ผ่าน Web Site 5. การเผยแพร่ข้อมูลทาง Internet เผยแพร่ข่าวสารจากฐานข้อมูลมากขึ้น ตอบคำถาม (Interaction) ศูนย์สารสนเทศการงบประมาณ สำนักงบประมาณ 13 กพ.47

  9. BISระบบสารสนเทศการงบประมาณ สู่e-Budgetingระยะกลาง ปีงบประมาณ พ.ศ.2548-2549 (แผนดำเนินงานปัจจุบัน) e-การวางแผนงบประมาณ e-การจัดทำงบประมาณ • workflow ระบบปฏิทิน • งบประมาณ • workflow ระบบ MTEF • (Top Down) • workflow ระบบ MTEF • (Buttom up) • workflow หลักเกณฑ์ • workflow ระบบทะเบียน • workflow คำขอ คำชี้แจง • เอกสารงบประมาณ • อิเล็กทรอนิกส์ ศูนย์ปฏิบัติการ สำนักงบประมาณ (BOC) ระบบสารสนเทศกลาง e-การบริหารงบประมาณ e-การติดตามประเมินผล Web site สำนักงบประมาณ • workflow ระบบติดตาม • ประเมินผล GFMIS e-บริหารและใช้จ่ายงบประมาณ ระบบ EvMIS สำนักงบประมาณ + GFMIS ศูนย์สารสนเทศการงบประมาณ สำนักงบประมาณ 13 กพ.47

  10. การดำเนินงานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2548-2549(แผนดำเนินงานปัจจุบัน) 1. โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศการงบประมาณ (BIS ระยะกลาง) เงินกู้ กพร. วงเงิน 25.2 ล้าน 1.1 ปรับปรุงและขยายผลต้นแบบระบบ Workflow เพื่อบริหารจัดการ ฐานข้อมูลฐานเอกสาร ตามระบบงานวางแผนงบประมาณ จัดทำงบประมาณ ติดตามประเมินผล 1.2 เพิ่มประสิทธิภาพเครื่องแม่ข่ายให้ทันสมัยและมีขีดความสามารถมากขึ้น 2. เพิ่มเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ลูกข่ายและอุปกรณ์เครือข่าย วงเงินปีละ 10 ล้านบาท 3. ปรับระบบศูนย์ปฏิบัติการสำนักงบประมาณ (BOC) ให้ทันสมัย วงเงิน 15 ล้านบาท (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2548) 4. ปรับปรุงระบบ Workflow ระบบฐานข้อมูล ฐานเอกสาร วงเงิน 10 ล้านบาท (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2549) ศูนย์สารสนเทศการงบประมาณ สำนักงบประมาณ 13 กพ.47

  11. ผลที่คาดหวังในปีงบประมาณ พ.ศ. 2548 1. ระบบ Workflow ฐานข้อมูล ฐานเอกสาร ฐานความรู้ ของขั้นตอนสำคัญ ในระบบงานวางแผนงบประมาณ จัดทำงบประมาณ และติดตาม ประเมินผลงบประมาณ ตามระบบงบประมาณใหม่ และโครงการ GFMIS 2. เทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพ ทันสมัย และเพียงพอ 3. ระบบศูนย์ปฏิบัติการสำนักงบประมาณที่ครอบคลุมถึงระบบสารสนเทศ เพื่อผู้บริหาร (Executive Information System - EIS)พร้อมระบบรายงาน และสั่งการ(Two Way Communication) 4. การประสานแลกเปลี่ยนข้อมูลกับภายนอก - ส่วนใหญ่บันทึกโดยตรงจากส่วนราชการ/จังหวัดผ่าน Web - บางส่วนเป็นลักษณะ File Transfer (download, mail, upload) 5. การเผยแพร่ข้อมูลทาง Internet - เผยแพร่ข่าวสารจากฐานข้อมูลให้มากขึ้น - ตอบคำถาม (Interaction) ศูนย์สารสนเทศการงบประมาณ สำนักงบประมาณ 13 กพ.47

  12. ผลที่คาดหวังในปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 1. ระบบ Workflow ฐานข้อมูล ฐานเอกสาร ฐานความรู้ ของขั้นตอนสำคัญ ในระบบงานวางแผนงบประมาณ จัดทำงบประมาณ และติดตาม ประเมินผลงบประมาณ ที่ทันสมัย ต่อเนื่อง เป็นอัตโนมัติ 2. เทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพ ทันสมัย และเพียงพอ 3. ระบบศูนย์ปฏิบัติการสำนักงบประมาณที่ครอบคลุมถึงระบบสารสนเทศ เพื่อผู้บริหาร (Executive Information System - EIS) พร้อมระบบรายงาน และสั่งการ (Two Way Communication) 4. การประสานแลกเปลี่ยนข้อมูลกับภายนอก - ส่วนใหญ่บันทึกโดยตรงจากส่วนราชการ/จังหวัดผ่าน Web Site - บางส่วนเป็นลักษณะ File Transfer (download, mail, upload) การเผยแพร่ข้อมูลทาง Internet - เผยแพร่ข่าวสารจากฐานข้อมูลให้มากขึ้น - เปิดเวทีการมีส่วนร่วมจากสาธารณะในการวิเคราะห์ วิจารณ์งบประมาณ ศูนย์สารสนเทศการงบประมาณ สำนักงบประมาณ 13 กพ.47

  13. BIS ระบบสารสนเทศการงบประมาณสู่e-Budgetingระยะกลางปี2548-49 (แผน New Look) e-การวางแผนงบประมาณ e-การจัดทำงบประมาณ • workflow ระบบปฏิทิน • งบประมาณ • workflow ระบบ MTEF • (Top Down) • workflow ระบบ MTEF • (Buttom up) • workflow หลักเกณฑ์ • workflow ระบบทะเบียน • workflow คำขอ คำชี้แจง • workflow ความเห็น • เสนอ ครม. และมติ ครม. • เอกสารงบประมาณ • อิเล็กทรอนิกส์ ระบบ BackOffice การวางแผนงบประมาณ ของส่วนราชการ ศูนย์ปฏิบัติการ สำนักงบประมาณ (BOC) ระบบสารสนเทศกลาง e-การบริหารงบประมาณ e-การติดตามประเมินผล Web site สำนักงบประมาณ • workflow ระบบติดตาม • ประเมินผล • workflow • การบริหารงบประมาณ GFMIS ระบบ EvMIS สำนักงบประมาณ + GFMIS e-บริหารและใช้จ่ายงบประมาณ e-บริหารงานภายใน e-กฎหมายอิเล็กทรอนิกส์ e-ข่าวสารสถานการณ์งบประมาณ e-Document ศูนย์สารสนเทศการงบประมาณ สำนักงบประมาณ 13 กพ.47

  14. ภาพรวมe-Budgeting (New Look) user ระบบงานและเทคโนโลยี เครือข่าย PMOC ระบบ Data eXchange ระบบศูนย์ปฏิบัติการ สงป. และ ศูนย์ปฏิบัติการ นายกรัฐมนตรี ระบบ EIS/MIS ฐาน เอกสาร เครือข่ายภายใน ระบบการวางแผน งบประมาณ สำนัก งบประมาณ WEB การ งบประมาณ ระบบการจัดทำ งบประมาณ ระบบ จัดการ สิทธิ์ และ รักษา ความ ปลอดภัย internet ระบบการบริหาร งบประมาณ ฐาน ข้อมูล ระบบการติดตาม ประเมินผล internet ส่วนราชการ/ จังหวัด ระบบบริหารงานภายใน สงป. ระบบBackOffice การวางแผน งบประมาณ ระบบงานกฎหมาย อิเล็กทรอนิกส์ คลัง ข้อมูล internet ระบบการเสนอ ความเห็น ครม. ระบบ Data eXchange ระบบ GFMIS เครือข่าย GFMIS ฐาน GIS internet ระบบข่าวสาร การงบประมาณ ประชาชน ศูนย์สารสนเทศการงบประมาณ สำนักงบประมาณ 13 กพ.47

  15. การดำเนินงานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2548-2549(แผนดำเนินงาน New Look) 1. พัฒนาระบบงาน - พัฒนาระบบ Workflow ฐานข้อมูล ฐานเอกสาร ฐานความรู้ ให้ครอบคลุมทุกขั้นตอนของระบบงานวางแผน งบประมาณ จัดทำงบประมาณ และติดตามประเมินผล โดยใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยและมีความปลอดภัยสูง - พัฒนาระบบ Workflow ฐานข้อมูล ฐานเอกสาร ให้ครอบคลุมการปฏิบัติงานอื่นๆ โดยเฉพาะระบบบริหารงาน ภายใน ระบบงานกฎหมายอิเล็กทรอนิกส์ ระบบห้องสมุด และฐานเอกสารวิชาการ - ระบบศูนย์ปฏิบัติการสำนักงบประมาณที่ครอบคลุมถึงระบบสารสนเทศเพื่อผู้บริหาร (Executive Information System - EIS) พร้อมระบบรายงานและสั่งการ (Two Way Communication) - พัฒนาระบบ GIS - พัฒนาระบบ Back Office สำหรับให้ส่วนราชการและจังหวัดใช้ประมวลข้อมูลการวางแผนงบประมาณ 2. ปรับปรุงเทคโนโลยีและการสื่อสารส่วนกลาง - เพิ่มประสิทธิภาพเครื่องแม่ข่ายให้มั่นใจว่าเพียงพอกับปริมาณข้อมูล เอกสาร และจำนวนผู้ใช้ในเวลาเดียวกัน - ระบบป้องกันและรักษาความปลอดภัยของระบบเครือข่าย - ระบบแลกเปลี่ยนข้อมูล (Data Exchange System) 3. ปรับรื้อ Web Site ของสำนักงบประมาณให้มีรูปแบบที่สวยงาม รวดเร็ว และข้อมูลทันสมัย (Online) พร้อมทั้งมีส่วน Public participation ความต้องการงบประมาณ 175 ล้านบาท ศูนย์สารสนเทศการงบประมาณ สำนักงบประมาณ 13 กพ.47

  16. ผลที่คาดหวังในปีงบประมาณ พ.ศ. 2548-2549 1. ระบบปฏิบัติงานสำนักงบประมาณมีความเป็นอัตโนมัติสูงมาก 2. ระบบสารสนเทศและฐานความรู้หลายรูปแบบและรวดเร็ว สารสนเทศเพื่อผู้บริหาร (Executive Information System – EIS) สารสนเทศทางภูมิศาสตร์ (Geographic Information System - GIS) ระบบกฎหมายอิเล็กทรอนิกส์ ระบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ 3. เทคโนโลยีและการสื่อสารส่วนกลาง ทันสมัย มีความปลอดภัยและความเร็วสูง 4. Web Site ของสำนักงบประมาณที่ทันสมัย พร้อมสารสนเทศที่หลากหลาย สาธารณะสามารถร่วมให้ข้อคิดเห็นในการกำหนดนโยบายและการจัดการงบประมาณ 5. การประสานแลกเปลี่ยนข้อมูลกับภายนอก ผ่านระบบ Data Exchange System ที่ทันสมัย ลดภาระงานของสำนักงบประมาณและส่วนราชการ ศูนย์สารสนเทศการงบประมาณ สำนักงบประมาณ 13 กพ.47

  17. โครงสร้างระบบงาน GFMIS แบบรวมศูนย์ (Centralized) กองคลัง และ คลังจังหวัด ระบบเครือข่าย ความปลอดภัยสูง (กรมบัญชีกลาง) (สำนักงบประมาณ) Internal Auditing System Budgeting Information System ศูนย์คอมพิวเตอร์และศูนย์สำรอง (สำนักพัสดุ กรมบัญชีกลาง) ระบบบริหาร ทรัพยากรบุคคล ระบบงบประมาณ ระบบบัญชีเกณฑ์คงค้าง (สบน.) Debt Mgt. System e-Procurement ระบบจัดซื้อจัดจ้าง (ธนาคารกรุงไทย) ระบบงาน GFMIS (สำนักงาน ก.พ.) Payment System HR System ACL (สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน) รวม 1,000 Terminals

  18. การติดตั้งศูนย์คอมพิวเตอร์และศูนย์สำรอง (Data center and Disaster Recovery Center) และเครือข่ายทั่วประเทศ ที่มีระบบรักษาความปลอดภัยสูงสุด (High Level Security System)

  19. วงจร ระบบงาน งบประมาณ บัญชี การเงิน การคลัง ของรัฐ แบบบูรณาการ สำนักงบประมาณ 1. ระบบการวางแผน และจัดทำงบประมาณ 4. ระบบการติดตามการใช้จ่ายงบประมาณ และผลผลิต 5.ระบบข้อมูลการบริหาร ด้านการเงิน การคลัง การงบประมาณ ภาครัฐ (GFMIS) 2. ระบบการบริหาร งบประมาณและเบิกจ่าย แบบอิเลคทรอนิกส์ 3. ระบบการบัญชี การเงิน ภาครัฐ แบบเกณฑ์คงค้าง กรมบัญชีกลาง

  20. GFMIS กำหนดมาตรฐานรหัสเพื่อใช้ร่วมกันทุกส่วนราชการ สำนักงบประมาณ กรมบัญชีกลาง ส่วนกลาง ระบบบริหารการคลัง และบัญชีเกณฑ์คงค้าง ระบบวางแผนและ จัดทำงบประมาณ รหัสบัญชีกลาง (Common Chart of Accounts) มาตรฐานรหัสพัสดุ UNSPSC ระบบติดตามการใช้ งบประมาณและ ต้นทุน กิจกรรม ระบบจัดซื้อจัดจ้าง และบริหารพัสดุ ส่วนราชการ

  21. ปรัชญาของการจัดทำโครงการ GFMIS ความผาสุกของ ประชาชน การใช้เงินตรงต่อ ความต้องการประชาชน (Value for Money) ติดตาม ประเมิน ความสำเร็จ ตามพันธกิจ แผนยุทธศาสตร์/แผนงาน ที่ใช้เงินงบประมาณ ของส่วนราชการ และพื้นที่ต่อประชาชน ยุทธศาสตร์ (Strategy) เปรียบเทียบการดำเนินงาน ตามเป้าหมาย ผลลัพธ์/ผลงาน ระยะเวลา ตัวชี้วัด (KPI) วิเคราะห์ต้นทุนผลผลิต กิจกรรม เพิ่ม ประสิทธิผล (Effectiveness) พันธกิจ (Mission) ลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน ลดเอกสาร สร้างความโปร่งใส ตรวจสอบติดตามได้ กำหนดมาตรฐานรหัส/ฐานข้อมูลกลาง ระบบบัญชี ใช้ร่วมกัน ทุกส่วนราชการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ (Output/Outcome) เพิ่ม ประสิทธิภาพ (Efficiency) กระบวนงาน ด้านการเงิน (Financial Process) ประหยัด การใช้จ่าย (Economy) สร้างเครื่องมือ ในการบริหาร ติดตาม การรับ/จ่ายเงินงบประมาณ บริหาร/ลด ต้นทุน/ค่าใช้จ่าย บริหารสภาพคล่อง/เงินคงคลัง ทรัพยากร/ต้นทุน (Resources/Cost)

  22. GFMIS รองรับการกระจายอำนาจและจัดสร้างข้อมูลบริหารสำหรับ CEO คณะรัฐมนตรี การกระจายอำนาจ (Decentralization) กลุ่มภารกิจกระทรวง กลุ่มจังหวัด กระทรวง กระทรวง จังหวัด CEO กรม กรม กรม กรม กรม ข้อมูลเพื่อการบริหาร (Centralized Information) กอง กอง

  23. ฐานข้อมูลการบริหารด้าน งบประมาณ การเงิน การคลัง ภาครัฐ (GFMIS) แบบ Matrix และ Online Real Time สำหรับผู้บริหารระดับ CEO ผู้บริหาร ระดับ CEO • 1. ข้อมูลการติดตามการบริหาร ใช้จ่ายงบประมาณ เพื่อเปรียบเทียบ วิเคราะห์ • ตามแผนยุทธ์ศาสตร์ แผนงาน • แผนระยะปานกลาง (MTEF) 3 ปี • ต้นทุน ผลผลิต/โครงการ/กิจกรรม • งบลงทุน งบประจำรายรหัสบัญชี • ราย เดือน ไตรมาส ปี • เป้าหมาย ตัวชี้วัดผลงาน (Indicator) การเรียกดูข้อมูล ระดับ ประเทศ กระทรวง ทบวง กรม กอง พื้นที่ จังหวัด • 2. ข้อมูลงบการเงิน การคลัง การบริหาร • เงินสด และเงินคงคลัง • งบดุล รายได้ รายจ่าย • รายงาน การวิเคราะห์ด้านการเงิน • ประมาณการใช้เงิน (Cash Forecast) • สถานะเงินคงคลัง (Cash Position) • หนี้สิน การกู้เงินภาครัฐ โครงการ • มูลค่าสินทรัพย์ พัสดุ ส่วนราชการ • 3. ข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้าง • การผูกพันงบประมาณจากการจัดซื้อ (Order Commitment) • รายละเอียดผู้ขาย ที่ทำธุรกิจกับแต่ละส่วนราชการ • การติดตามสถานะ การสั่งซื้อ/จ่ายเงิน • การจัดซื้อจัดจ้างโครงการ • 4. ข้อมูลด้านบริหารทรัพยากรบุคคล • โครงสร้าง ตำแหน่งงาน • รายละเอียด ประวัติบุคคล • วุฒิ การศึกษา การฝึกอบรม • ประวัติการเลื่อนตำแหน่ง • เงินเดือนและรายได้อื่น

  24. ข้อมูลเพื่อการบริหารสำหรับ CEO ส่วนกลางและจังหวัด 6 walls Wall 3 : การติดตามการใช้งบประมาณ ตามแผนยุทธศาสตร์ แผนงาน ผลผลิต Wall 2 : การติดตามการใช้งบประมาณ ตามกลุ่มจังหวัด จังหวัด พื้นที่ Wall 1 : การติดตามการใช้งบประมาณ ตามกลุ่มภารกิจ กระทรวง กรม กอง Wall 4 : ข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้าง Wall 5 : ข้อมูลทรัพยากรบุคคล Wall 6 : ตัวชี้วัด (KPI)

  25. ประโยชน์ของระบบ GFMIS ต่อ กองคลัง/กองพัสดุ • GFMIS ช่วยให้หน่วยงานลดภาระและความซ้ำซ้อนในการจัดทำรายงานด้านงบประมาณ บัญชี การเงิน การคลัง การพัสดุ ประเภทต่างๆ ที่ต้องจัดทำส่งส่วนกลาง เนื่องจากส่วนกลางสามารถเรียกดูข้อมูลได้ทันที จากฐานข้อมูลกลางเดียวกัน • GFMIS ช่วยอำนวยความสะดวก และลดเวลา ในการจัดทำรายงานการเงิน การคลัง การปิดบัญชี ประจำวัน ประจำเดือน ประจำปี โดยระบบจัดทำรายงานงบทดลองประจำวัน งบดุล และงบการเงินอื่นๆ ทั้งระดับกรม กระทรวง สามารถเรียกดูข้อมูล (Drill-Down) เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง ได้ทันทีแบบ Online Real-Time ถึง รายละเอียดทุกรายการที่บันทึก (Line Items)

  26. ประโยชน์ของระบบ GFMIS ต่อ กองคลัง/กองพัสดุ • GFMIS ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพ ในการวางแผน บริหารและติดตามการรับจ่าย ทั้งเงินในงบประมาณ เงินนอกงบประมาณ โดยระบบแสดงข้อมูล การเปรียบเทียบการรับจ่ายเงินจริง (Actual) กับแผนการรับจ่าย (Budget Plan) ทั้งในระดับกรม กระทรวง ตามแผนงาน งาน โครงการ เป็น รายเดือน รายไตรมาส รายปี แบบ Online Real-Timeรวมถึง การจัดสรร/โอนงบประมาณโดยตรงในระบบ ตามแต่ละช่วงเวลา ให้รวดเร็วและคล่องตัวขึ้น • GFMIS รองรับการปฏิบัติงาน ในระบบบัญชีแบบเกณฑ์คงค้าง ที่สอดคล้องกับมาตรฐานบัญชีสากล IPSAS (International Public Sector Accounting Standard) โดยเฉพาะ การบริหาร และจัดทำทะเบียนสินทรัพย์ถาวรรายตัว (Fixed Asset) ที่ถูกจัดเก็บ และคำนวณค่าเสื่อมราคาในระบบ

  27. ประโยชน์ของระบบ GFMIS ต่อ กองคลัง/กองพัสดุ • GFMIS ปรับเปลี่ยน รูปแบบ วิธีการ จัดซื้อจัดจ้าง การบริหารพัสดุ จากปัจจุบัน สู่ แนวทางการจัดซื้อจัดจ้างแบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Procurement) โดยมีการกำหนดมาตรฐานรหัสพัสดุใหม่ ที่สอดคล้องกับมาตรฐาน UNSPSC การกำหนดรายละเอียดผู้ขาย (Vendor) และกลุ่มผู้ขาย รวมถึงการจัดทำรายละเอียดคุณสมบัติพัสดุ ในลักษณะ Product Catalog เพื่อรองรับการกำหนดราคากลางของพัสดุ การจัดทำงบประมาณ การวิเคราะห์ราคา การวิเคราะห์ผู้ขาย การบริหารพัสดุ และก่อให้เกิดความโปร่งใส ในการจัดซื้อจัดจ้าง

  28. ประโยชน์ของระบบ GFMIS ต่อ กองคลัง/กองพัสดุ • GFMIS จัดเตรียมระบบ เพื่อรองรับ การจัดทำบัญชี และการบริหารต้นทุน โดยเฉพาะต้นทุนกิจกรรม อันเป็นหนึ่งในข้อมูลที่สำคัญ ในการประเมินผลความสำเร็จของผลผลิต (Output) • GFMIS จัดเก็บข้อมูลการเงิน การคลัง เพื่อการติดตาม ตรวจสอบ (Financial Audit Trail) ทั้งในลักษณะ Online Real-Time และ ข้อมูลสะสมย้อนหลัง (Archiving) ของกรม กระทรวง ตามกำหนดระยะเวลา ที่สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินกำหนด

  29. ผลกระทบโครงการGFMIS ต่อสำนักงบประมาณในฐานะหน่วยงานกลาง • การกำหนดรหัสมาตรฐาน • การเตรียมข้อมูลงบประมาณรายจ่ายประจำปี • การจัดสรรงบประมาณ(อนุมัติเงินประจำงวด) • การโอน/เปลี่ยนแปลงงบประมาณ • การปรับระบบการจัดทำและติดตามผลงบประมาณ

  30. Load ข้อมูลพรบ.งบประมาณรายจ่ายประจำปี จากระบบ BIS เข้าระบบ GFMIS พิมพ์รายงานแผนฯ เพื่อให้ เจ้าหน้าที่วิเคราะห์งบประมาณ เตรียมอนุมัติจัดสรรงบประมาณ เฉพาะประเภทงบรายจ่ายที่จำเป็น ส่วนราชการจัดทำ/ปรับปรุงแผนฯ เป็นรายเดือนในระบบ GFMIS เจ้าหน้าที่วิเคราะห์งบประมาณ บันทึกข้อมูลจัดสรรกลับเข้าระบบ GFMIS คัดลอกแผนฯเป็นรายไตรมาส ไปอีก Version (เช่น Ver A. ไป Ver B.) เจ้าหน้าที่ วิเคราะห์งบประมาณที่มีอำนาจ ทำการอนุมัติข้อมูลการจัดสรรงบประมาณ ในระบบ GFMIS หมายเหตุ ไม่จำเป็นต้องพิมพ์ใบงวดกรณีอื่นๆ เนื่องจากส่วนราชการอื่นสามารถเรียกดู การจัดสรรเงินงบประมาณได้จากระบบ พิมพ์ใบงวดเฉพาะ รัฐวิสาหกิจ เท่านั้น การจัดสรรงบประมาณและจัดทำแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณตามระบบGFMIS

  31. ระบบเดิม ระบบใหม่ • ส่วนราชการกรอกแบบฟอร์มการโอน/เปลี่ยนแปลงงบประมาณแล้วคลังจังหวัดบันทึกรายการเข้าระบบเบิกจ่ายของกรมบัญชีกลาง การโอน/เปลี่ยนแปลงงบประมาณที่ไม่ต้องทำความตกลงกับสำนักงบประมาณ ทำบันทึกหรือกรอกฟอร์มเมื่อ มีความต้องการโอน/เปลี่ยนแปลงงบประมาณ อนุมัติโดยผู้มีอำนาจ กองคลังโอน/ปรับเปลี่ยนในระบบ GFMIS ตามแบบฟอร์มดังกล่าว เรียกรายงานเพื่อตรวจสอบการบันทึก ข้อมูลในระบบ GFMIS แจ้ง สำนักงบประมาณ,กรมบัญชีกลาง,สตง. หมายเหตุ ไม่ต้องพิมพ์เอกสารการโอนออกจากระบบ เนื่องจากส่วนงานต่างๆ สามารถเรียกดูรายงานได้จากระบบ GFMIS โดยตรง

  32. ระบบเดิม ระบบใหม่ • ส่วนราชการกรอกแบบฟอร์มการโอน/เปลี่ยนแปลงงบประมาณ • ผู้มีอำนาจของ สำนักงบประมาณอนุมัติเจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล ในระบบ BIS • พิมพ์รายงานเพื่อให้เจ้าหน้าที่ ระดับ 7 และระดับ 8 ตรวจสอบและลงนาม ในเอกสาร การโอน/เปลี่ยนแปลงงบประมาณที่ต้องทำความตกลงกับสำนักงบประมาณ ทำบันทึกหรือกรอกฟอร์มเมื่อ มีความต้องการโอน/เปลี่ยนแปลงงบประมาณ อนุมัติโดยผู้มีอำนาจ กองคลังทำการพักการโอน/ปรับเปลี่ยน (Prepost) ในระบบ GFMIS ตามแบบฟอร์มดังกล่าว เจ้าหน้าที่ระดับ 7 และระดับ 8ของสำนักงบประมาณ เรียกรายงานรายการพักการโอน/ปรับเปลี่ยนของกองคลัง และอนุมัติรายการดังกล่าวในระบบ GFMIS แจ้ง กรมบัญชีกลาง, สตง., ส่วนราชการ หมายเหตุ ไม่ต้องพิมพ์เอกสารการโอนออกจากระบบ เนื่องจากส่วนงานต่างๆ สามารถเรียกดูรายงานได้จากระบบ GFMIS โดยตรง

More Related