1 / 30

แพทย์กับการให้ความสำคัญและตระหนักในการส่งเสริมการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก

แพทย์กับการให้ความสำคัญและตระหนักในการส่งเสริมการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก. หลักการและเหตุผล. มะเร็งปากมดลูกเป็นมะเร็งที่พบมากที่สุดของสตรีในประเทศไทย อุบัติการของมะเร็งปากมดลูกประมาณ 23.4 คนต่อ ประชากรหญิง 100,000 คน

watson
Télécharger la présentation

แพทย์กับการให้ความสำคัญและตระหนักในการส่งเสริมการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แพทย์กับการให้ความสำคัญและตระหนักในการส่งเสริมการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกแพทย์กับการให้ความสำคัญและตระหนักในการส่งเสริมการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก

  2. หลักการและเหตุผล • มะเร็งปากมดลูกเป็นมะเร็งที่พบมากที่สุดของสตรีในประเทศไทย • อุบัติการของมะเร็งปากมดลูกประมาณ 23.4 คนต่อ ประชากรหญิง 100,000 คน • แผนพัฒนาการสาธารณสุขในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 พ.ศ. 2540-2544

  3. ทบทวนวรรณกรรม • จากการศึกษาในผู้หญิง 15,000 คน ที่ได้รับการตรวจวินิจฉัยว่าเป็นโรคมะเร็งปากมดลูกระยะลุกลาม พบว่ามี 4,800 คนที่เสียชีวิตจากมะเร็งปากมดลูก • มะเร็งปากมดลูกเป็นมะเร็งที่พบมากที่สุดในมะเร็ง 5 อันดับแรกของสตรีไทย

  4. ข้อมูลย้อนหลังของผู้ป่วยจำนวน 128 รายที่ป่วยเป็นมะเร็งปากมดลูก พบว่ามีผู้ป่วยเพียง 13 รายที่เคยรับการตรวจ Pap smear มาก่อน วิธีการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกโดยวิธี Pap smear เป็นวิธีการตรวจคัดกรองที่ดี

  5. ระยะห่างของ จำนวนการทำ การลดลงของการตรวจ (ปี) Pap smear ในช่วงชีวิต อุบัติการสะสม (%) 1 30 93.5 2 15 92.5 3 10 90.8 5 6 83.6 10 3 64.1

  6. ประสิทธิภาพในการตรวจ Pap smear PGY 1 80% PGY 2 89% PGY 3 89% Faculty physicians 93%

  7. คำถามวิจัยหลัก บัณฑิตแพทย์ และนิสิตแพทย์ชั้นปีที่ 6 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ได้ตระหนักถึงการส่งเสริมของการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกหรือไม่ ?

  8. คำถามวิจัยรอง • บัณฑิตแพทย์ และนิสิตแพทย์ชั้นปีที่ 6 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกหรือไม่ • การเปรียบเทียบการตระหนักถึงการส่งเสริมของการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในบัณฑิตแพทย์ และนิสิตแพทย์ชั้นปีที่ 6 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวรระหว่างเพศหญิง กับเพศชายมีความแตกต่างกันหรือไม่ • หลักสูตรแพทยศาสตรศึกษาได้มุ่งเน้นให้บัณฑิตแพทย์ และนิสิตแพทย์ชั้นปีที่ 6 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกเพียงพอหรือไม่

  9. คำถามวิจัยรอง • บัณฑิตแพทย์ และนิสิตแพทย์ชั้นปีที่ 6 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวรที่มีประวัติครอบครัวหรือคนใกล้ชิดป่วยเป็นมะเร็งปากมดลูก ให้ความสำคัญต่อการตรวจมะเร็งปากมดลูกแตกต่างกับบัณฑิตแพทย์ และนิสิตแพทย์ชั้นปีที่ 6 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวรที่ไม่มีญาติและคนใกล้ชิดเป็นมะเร็งปากมดลูกหรือไม่ • บัณฑิตแพทย์ และนิสิตแพทย์ชั้นปีที่ 6 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ตระหนักถึงความสำคัญต่อการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกแตกต่างกันหรือไม่

  10. วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาเกี่ยวกับความตระหนักของแพทย์ในการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก และความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรแพทยศาสตรศึกษาได้การมุ่งเน้นให้เห็นถึงความสำคัญและการส่งเสริมของการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก

  11. ผลที่คาดว่าจะได้รับ • หลักสูตรแพทยศาสตรศึกษามุ่งเน้นให้เห็นความสำคัญของการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกเพิ่มขึ้น • ทราบทัศนคติของบัณฑิตแพทย์และนิสิตแพทย์ชั้นปี 6 เกี่ยวกับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก เพื่อนำไปใช้ในการส่งเสริมหรือปรับปรุงต่อไป

  12. วิธีดำเนินการวิจัย 1. Qualitative study : In – depth interview Target population : อาจารย์แพทย์ในภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน เวชศาสตร์ครอบครัว พยาธิวิทยา และสูติ-นรีเวชศาสตร์ Sampling technique : Purposive sampling โดยสุ่มอาจารย์แพทย์ในภาควิชาและ 1 ท่าน Sample sign : 4 ท่าน

  13. วิธีดำเนินการวิจัย 2. Cross-sectional Descriptive study Target population : บัณฑิตแพทย์ และนิสิตแพทย์ชั้นปีที่ 6 มหาวิทยาลัยนเรศวร Sampling techinque : Non - probabilistic sampling Sample size : 120 คน

  14. ผลการวิจัย

  15. อัตราการตอบกลับร้อยละ 41.18 • จากคำถามข้อ 8 .” ท่านคิดว่าการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก เป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุขไทยหรือไม่ “ มีผู้เห็นด้วยทั้งสิ้น 49 คน คิดเป็นร้อยละ 100

  16. แสดงความคิดเห็นเกี่ยวจุดบกพร่องที่ทำให้อัตราการเสียชีวิตจากโรคมะเร็งปากมดลูกยังคงสูงอยู่ ทั้งที่มีการตรวจคัดกรองที่มีประสิทธิภาพ

  17. แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาทของแพทย์ในการช่วยรณรงค์การป้องกันมะเร็งปากมดลูกแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาทของแพทย์ในการช่วยรณรงค์การป้องกันมะเร็งปากมดลูก

  18. แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาทของแพทย์ในการช่วยรณรงค์การป้องกันมะเร็งปากมดลูกโดยแบ่งเป็นบัณฑิตแพทย์และนิสิตแพทย์ชั้นปี 6

  19. แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาทของแพทย์ในการช่วยรณรงค์การป้องกันมะเร็งปากมดลูกโดยแบ่งเป็นเพศชายและเพศหญิงแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาทของแพทย์ในการช่วยรณรงค์การป้องกันมะเร็งปากมดลูกโดยแบ่งเป็นเพศชายและเพศหญิง

  20. แสดงความถี่ของการซักประวัติเกี่ยวกับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในผู้ป่วยหญิง อายุระหว่าง 30 – 65 ปี ที่ไม่ได้ป่วยมาด้วยอาการทางนรีเวช

  21. แสดงความถี่ของการซักประวัติเกี่ยวกับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในผู้ป่วยหญิง อายุระหว่าง 30 – 65 ปี ที่ไม่ได้ป่วยมาด้วยอาการทางนรีเวชโดยแบ่งเป็นบัณฑิตแพทย์ และนิสิตแพทย์ชั้นปี 6

  22. แสดงความถี่ของการซักประวัติเกี่ยวกับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในผู้ป่วยหญิง อายุระหว่าง 30 – 65 ปี ที่ไม่ได้ป่วยมาด้วยอาการทางนรีเวชโดยแบ่งเพศชายและเพศหญิง

  23. แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการมุ่งเน้นให้บัณฑิตแพทย์และนิสิตแพทย์ชั้นปีที่ 6 ของหลักสูตรแพทยศาสตรศึกษาของมหาวิทยาลัยนเรศวร

  24. แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับภาควิชาที่ควรเป็นผู้เน้นให้นิสิตเห็นถึงความสำคัญของการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับภาควิชาที่ควรเป็นผู้เน้นให้นิสิตเห็นถึงความสำคัญของการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก

  25. สรุปและวิจารณ์์ • ข้อมูลได้จากการสัมภาษณ์เชิงลึกของอาจารย์ใน 4 ภาควิชา ภาควิชาละ 1 ท่าน • ข้อมูลจากแบบสอบถามที่ให้ข้อมูลโดยบัณฑิตแพทย์และนิสิตแพทย์ชั้นปี 6 มหาวิทยาลัยนเรศวร • จากการวิจัยครั้งนี้ได้ใช้ข้อมูลจากบัณฑิตแพทย์ที่ปฏิบัติงานอยู่ตามโรงพยาบาลต่างๆ ทำให้เกิดปัญหาในการติดต่อสื่อสาร

  26. สรุปและวิจารณ์ • ข้อมูลส่วนใหญ่จึงได้มาจากบัณฑิตแพทย์และนิสิตแพทย์ชั้นปี 6 ที่ปฏิบัติงานอยู่ ณ โรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 85.71 ของข้อมูลทั้งหมด • งานวิจัยของศิลดา วงศ์ษาและรติกร เพ็ชรประกอบ พบว่าจากผู้ป่วยที่เป็นมะเร็งปากมดลูก 128 รายที่เข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก มีผู้ป่วยเพียง 13 ราย คิดเป็นร้อยละ 10.16

  27. สรุปและวิจารณ์ • บัณฑิตแพทย์และนิสิตแพทย์ส่วนใหญ่มีความตระหนักในหลักการแต่ในทางปฏิบัติจริงมีทำเป็นส่วนน้อย • คำถามที่ว่าควรจะบรรจุข้อมูลเกี่ยวกับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกเป็นส่วนหนึ่งของการซักประวัติของสตรีที่มีอายุ 35 – 65 ปีนั้นพบว่าร้อยละ 65.30 เห็นสมควรด้วย ซึ่งควรจะมีการศึกษาถึงความเป็นไปได้ของประเด็นนี้ในอนาคต

  28. สรุปและวิจารณ์ • ข้อมูลต่างๆ ที่แสดงอยู่ในงานวิจัยนี้เป็นข้อมูลที่สะท้อนให้เห็นถึงแนวคิดของแพทย์ต่อความตระหนักและการให้ความสำคัญของการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก

  29. กิตติกรรมประกาศ การวิจัยในครั้งนี้คณะผู้วิจัยขอขอบพระคุณรองศาสตราจารย์นายแพทย์ศุภสิทธิ์พรรณารุโณทัยที่กรุณาช่วยเหลือให้คำแนะนำและข้อคิดเห็นตลอดจนแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆจนทำให้งานวิจัยนี้สำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดีและขอขอบพระคุณอาจารย์ในภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชนเวชศาสตร์ครอบครัวพยาธิวิทยาและสูติ-นรีเวชศาสตร์ที่กรุณาให้ความร่วมมือในการให้สัมภาษณ์เชิงลึกเป็นอย่างดียิ่ง ท้ายที่สุดนี้คณะผู้วิจัยขอขอบคุณพี่รุ่น 1 รุ่น 2 และรุ่น 3 ของคณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวรที่ให้ความร่วมมือในการตอบแบบสอบถามและขอบคุณพี่ๆเจ้าหน้าที่ศูนย์แพทยศาสตรศึกษาทุกท่านที่คอยช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกมาให้ตลอด

  30. THANK YOU…

More Related