1 / 13

กรอบตัวชี้วัดรายบุคคล

หลักเกณฑ์และแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการเพื่อเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ ในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา. หลักเกณฑ์การประเมินและวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการให้ถือปฏิบัติตามคู่มือการเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ และให้ข้าราชการได้รับค่าตอบแทนพิเศษในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข.

Télécharger la présentation

กรอบตัวชี้วัดรายบุคคล

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. หลักเกณฑ์และแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการเพื่อเลื่อนเงินเดือนข้าราชการในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลาหลักเกณฑ์และแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการเพื่อเลื่อนเงินเดือนข้าราชการในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา หลักเกณฑ์การประเมินและวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการให้ถือปฏิบัติตามคู่มือการเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ และให้ข้าราชการได้รับค่าตอบแทนพิเศษในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

  2. ๒. คณะกรรมการได้กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการของข้าราชการ ในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา ณ วันที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๖ มีข้อเสนอแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการโดยใช้หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการของข้าราชการครั้งที่ ๒ ประจำปี ๒๕๕๖

  3. ๒.๑ องค์ประกอบการประเมินและสัดส่วนคะแนนของแต่ละองค์ประกอบ- การประเมินผลการปฏิบัติราชการของข้าราชการในจังหวัดสงขลาให้ประเมินจาก ๒ องค์ประกอบได้แก่ผลสัมฤทธิ์ของงานและจากพฤติกรรมการปฏิบัติราชการ หรือสมรรถนะโดยมีสัดส่วนคะแนนร้อยละ ๗๕ และ ๒๕ ตามลำดับ - ในกรณีที่เป็นการประเมินผลการปฏิบัติราชการของผู้ที่อยู่ระหว่างทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการสัดส่วนคะแนนร้อยละ ๕๐:๕๐

  4. ๒.๒ วิธีการประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน และพฤติกรรมการปฏิบัติราชการให้ดำเนินการดังนี้ - การประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน ให้ประเมินจากปริมาณผลงาน และคุณภาพผลงาน ความรวดเร็ว หรือตรงตามเวลาที่กำหนด หรือความประหยัด หรือความคุ้มค่าในการใช้ทรัพยากร โดยกำหนดตัวชี้วัดผลสัมฤทธิ์ของงานรายบุคคล จำนวน ๖ ตัวชี้วัด

  5. - การประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติราชการหรือสมรรถนะให้ประเมินจากสมรรถนะหลักที่ ก.พ.กำหนดได้แก่ การมุ่งผลสัมฤทธิ์ การบริการที่ดี การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ การยึดมั่นในความถูกต้องชอบธรรมและจริยธรรม และการทำงานเป็นทีม

  6. ๒.๓ ระดับผลการประเมินการประเมินผลการปฏิบัติราชการของข้าราชการ ในแต่ละรอบการประเมิน ให้จัดกลุ่มคะแนนผลการประเมิน เป็น ๕ ระดับ คือ๑. ระดับดีเด่น ๙๐ - ๑๐๐คะแนน (โควตา๑๕%)๒. ระดับดีมาก ๘๐ - ๘๙.๙๙ คะแนน๓. ระดับดี ๗๐ - ๗๙.๙๙ คะแนน๔. ระดับพอใช้ ๖๐ - ๖๙.๙๙ คะแนน๕. ต้องปรับปรุง ต่ำกว่า ๖๐

  7. ๔. การประเมินผลการปฏิบัติราชการการประเมินฯ ของข้าราชการให้ใช้แบบประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน แบบประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติราชการ หรือสมรรถนะ และแบบสรุปการประเมินฯ โดยกำหนดระยะเวลาการประเมินถึง ๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๖โดยกำหนดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายรายบุคคล ในรอบที่ ๒ (ตั้งแต่วันที่ ๑ เมษายน ๒๕๕๖ – ๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๖) ให้แต่ละหน่วยงานในสังกัด จัดทำตัวชี้วัดรายบุคคล คนละ ๖ ตัวชี้วัด โดยพิจารณาดังนี้

  8. ๑. ตัวชี้วัดกลุ่มงาน/ฝ่าย ๑ ตัว น้ำหนัก ๓๐%๒. ตัวชี้วัดรายบุคคล ๔ ตัว น้ำหนัก ๒๐% ๑๐% ๑๐% ๑๐%๓. ส่วนของผู้บังคับบัญชาประเมิน จากภารกิจที่มอบหมายนอกเหนือจากภารกิจหลัก หรือโครงการ/กิจกรรมอื่น ๆ น้ำหนัก ๒๐%

  9. สำหรับผู้บริหาร (ตัวผู้อำนวยการโรงพยาบาล และสาธารณสุขอำเภอ) ตัวชี้วัดตัวรายบุคคลเน้น เรื่อง เบาหวาน ความดัน ไข้เลือดออก CMI, Service Plan และ เรื่อง ยาเสพติดตัวที่ ๑ ตัวชี้วัดหน่วยงาน ๑ ตัว น้ำหนักตัวละ ๓๐%ตัวที่ ๒ ตัวชี้วัดรายบุคคล ๔ ตัว ตัวหลัก ๒๐%อีก ๓ ตัวๆละ ๑๐%ตัวที่ ๓ ส่วนของผู้บังคับบัญชาประเมิน จากภารกิจที่มอบหมายนอกเหนือจากภารกิจหลัก หรือโครงการ/กิจกรรมอื่นๆ น้ำหนัก ๒๐%

  10. กรอบตัวชี้วัดรายบุคคลกรอบตัวชี้วัดรายบุคคล

  11. กรอบการประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติราชการหรือสมรรถนะกรอบการประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติราชการหรือสมรรถนะ

  12. ๕. การพิจารณาผลการประเมิน และการบริหารวงเงินที่ใช้ใน การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ ในรอบที่ ๒ ปี ๒๕๕๖ - การคำนวณวงเงิน ให้คำนวณจากอัตราเงินเดือนรวมของข้าราชการที่ปฏิบัติงานอยู่จริง ณ วันที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๖ เฉพาะข้าราชการที่มีบัญชีถือจ่าย (จ.๑๘) อยู่ที่จังหวัดสงขลาและกลุ่มที่มาช่วยราชการ โดยคำนวณร้อยละ ๒.๙๕ ไว้ก่อน เนื่องจากจังหวัดยังไม่ได้แจ้งการจัดสรรวงเงินที่ใช้ในการเลื่อนเงินเดือน ณ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๖

  13. กลุ่มงานทรัพยากรบุคคล สสจ.สงขลา สวัสดี

More Related