1 / 36

วิจัยใหม่ๆที่น่าสนใจ นงลักษณ์ วิรัชชัย

วิจัยใหม่ๆที่น่าสนใจ นงลักษณ์ วิรัชชัย. เทคโนโลยี. ความรู้ & ปัญญา. การเรียนรู้จากการวิจัย. การเปลี่ยนแปลงทางสังคม. สังคมอุตสาหกรรม. สังคมแห่งความรู้. การวิจัยที่นำสู่การเปลี่ยนแปลงและชี้นำสังคม. 5. การวิจัยผสม. 1. การวิจัยอนาคต. 4.การวิจัยบูรณาการ. 2. การวิจัยสาเหตุ. 3. วิจัยและพัฒนา.

Télécharger la présentation

วิจัยใหม่ๆที่น่าสนใจ นงลักษณ์ วิรัชชัย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. วิจัยใหม่ๆที่น่าสนใจ นงลักษณ์ วิรัชชัย

  2. เทคโนโลยี ความรู้&ปัญญา การเรียนรู้จากการวิจัย การเปลี่ยนแปลงทางสังคม สังคมอุตสาหกรรม สังคมแห่งความรู้

  3. การวิจัยที่นำสู่การเปลี่ยนแปลงและชี้นำสังคมการวิจัยที่นำสู่การเปลี่ยนแปลงและชี้นำสังคม 5.การวิจัยผสม 1.การวิจัยอนาคต 4.การวิจัยบูรณาการ 2.การวิจัยสาเหตุ 3.วิจัยและพัฒนา

  4. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550-2554) แนวทางการพัฒนา: คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา ปรัชญาการพัฒนา: ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง วิสัยทัศน์: มุ่งพัฒนาสังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน คนไทยมีคุณธรรมนำความรู้ รู้เท่าทันโลก ครอบครัวอบอุ่น ชุมชนเข้มแข็ง สังคมสันติสุข เศรษฐกิจมีคุณภาพ เสถียรภาพ และเป็นธรรม สิ่งแวดล้อมมีคุณภาพ ทรัพยากรธรรมชาติยั่งยืน มีธรรมาภิบาล อยู่ในประชาคมโลกอย่างมีศักดิ์ศรี

  5. หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ลักษณะ 1. ความพอประมาณ 2. ความมีเหตุผล 3. การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว เงื่อนไขสำคัญ 1. มีความรู้ (รอบรู้ รอบคอบในการนำความรู้ไปใช้) 2. มีคุณธรรม (ตระหนัก ซื่อสัตย์ อดทน มีความ เพียร และใช้สติปัญญาในการดำเนินชีวิต)

  6. ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศตามแผนพัฒนายุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศตามแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 10 (2550-2554) 1. ยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพคนและสังคมไทยสู่สังคม แห่งถูมิปัญญาและการเรียนรู้ 2. ยุทธศาสตร์การสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและสังคม ให้เป็นรากฐานที่มั่นคงของประเทศ 3. ยุทธศาสตร์การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจให้สมดุลและยั่งยืน 4. ยุทธศาสตร์การพัฒนาบนฐานความหลากหลายทางชีวภาพ และการสร้างความมั่นคงของฐานทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม 5. ยุทธศาสตร์การเสริมสร้างธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ ประเทศ

  7. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ • ทิศทางการวิจัย (research direction)นำไปสู่ • การพึ่งตนเอง • การเพิ่มผลผลิตและมูลค่าเพิ่ม • ความเป็นอยู่ที่ดี สังคมเข้มแข็ง และสิ่ง • แวดล้อมดี • 4. การได้ข้อมูลเกี่ยวกับศักยภาพของไทย

  8. การวิจัยบูรณาการ/สหวิทยาการการวิจัยบูรณาการ/สหวิทยาการ จิตพฤติกรรมศาสตร์ สังคมวิทยา ครุศาสตร์ รัฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์

  9. ชุดโครงการวิจัย (นักวิจัยอาวุโส และนักวิจัยรุ่นใหม่) โครงการวิจัย 1 (นักวิจัยรุ่นใหม่) (นักวิจัยอาวุโสเป็นที่ปรึกษา) โครงการวิจัย 1 (นักวิจัยรุ่นใหม่) (นักวิจัยอาวุโสเป็นที่ปรึกษา) โครงการวิจัยย่อย 1 (นิสิต) (นักวิจัยรุ่นใหม่เป็นที่ปรึกษา) โครงการวิจัยย่อย 2 (นิสิต) (นักวิจัยรุ่นใหม่เป็นที่ปรึกษา)

  10. การวิจัยที่นำสู่การเปลี่ยนแปลงและชี้นำสังคมการวิจัยที่นำสู่การเปลี่ยนแปลงและชี้นำสังคม เป้าหมายการพัฒนา สังคม การวิจัยเพื่อกำหนด เป้าหมายการพัฒนา การแทรกแซง มาตรการ/กลยุทธ์ ปัจจัยเชิงเหตุ การวิจัยความสัมพันธ์ เชิงสาเหตุ การวิจัยสำรวจ สภาพที่เป็นจริง สภาพเดิมของ สังคม

  11. แนวทางการวิจัยสาขาสังคมศาสตร์แนวทางการวิจัยสาขาสังคมศาสตร์ 1. งานวิจัยตามแนวงานวิจัยสาขาวิทยาศาสตร์ 2. งานวิจัยเอกสาร เสนอแนวคิด/สังเคราะห์องค์ความรู้ 3. งานวิจัยมุ่งหาคำตอบ นโยบาย โจทย์วิจัยแนวลึก/กว้าง 4. งานวิจัยวิเคราะห์ความรู้/สังเคราะห์เป็นผลงานจากแนว ความคิดริเริ่มที่มีเอกลักษณ์ นำไปสู่ผลงานเชิงสร้างสรรค์ 5. งานวิจัยบูรณาการในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ 6. งานวิจัยในลักษณะชุดโครงการวิจัย ประกอบด้วยโครง การวิจัยย่อยๆ มุ่งหาคำตอบที่สัมพันธ์ต่อเนื่อง

  12. THEME ที่น่าสนใจ การวัด การศึกษาความสัมพันธ์ การวิจัยและพัฒนา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. นวัตกรรมการเรียนการสอน ทุกประเภทการศึกษา 3. การบริหารจัดการแนวใหม่ และบริหารวิชาการ 4. การพัฒนาที่ยั่งยืนตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง 5. การสอนเด็กพิเศษ และการนำไปใช้กับเด็กปกติ 6. เทคโนโลยีสื่อสารและสารสนเทศเพื่อการศึกษา 7. การสร้างเครือข่าย (networking) 8. ครู/บุคลากรที่สังคมต้องการ และการพัฒนา

  13. วิธีการวิจัยที่น่าสนใจวิธีการวิจัยที่น่าสนใจ 1. การศึกษาอิทธิพลหลัก (main effects) และอิทธิพล ปฏิสัมพันธ์ (interaction effects) 2. การศึกษาอิทธิพลตัวแปรกำกับ / ตัวแปรปรับ (moderating effects) 3. การวิเคราะห์พหุระดับ (multi-level analysis) 4. การศึกษาอิทธิพลตัวแปรส่งผ่าน (mediating effects) 5. การวิเคราะห์แบบมีตัวแปรแฝง (latent variables) 6. การวิจัยผสม (mixed methods)

  14. ผลการเรียนรู้ วิธีสอน การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอน แนวการวิจัยเดิม R1 = วิจัยเพื่อให้ได้แนวคิดการพัฒนานวัตกรรม D1 = พัฒนานวัตกรรม R2 = วิจัยทดลองใช้นวัตกรรม (1 IV, 1DV) Design: randomized pretest posttest control group design D2 = ปรับปรุงนวัตกรรม

  15. วิธีสอน ผลการเรียนรู้ ลักษณะผู้เรียน เจตคติ ปฏิสัมพันธ์ แนวการวิจัยใหม่ R1 = วิจัยเพื่อให้ได้แนวคิดการพัฒนานวัตกรรม D1 = พัฒนานวัตกรรม R2 = วิจัยทดลองใช้นวัตกรรม (> 1 IV, > 1 DV) Design: randomized pretest posttest control group design D2 = ปรับปรุงนวัตกรรม

  16. วิธีสอน ผลการเรียนรู้ ลักษณะผู้เรียน เจตคติ ปฏิสัมพันธ์ แนวการวิจัยใหม่ แบบแผนการวิจัย (design) คงเดิม เปลี่ยนกรอบแนวคิดการวิจัย (conceptual framework) การศึกษาอิทธิพลปฏิสัมพันธ์ (interaction effects) ผลการวิจัย: ได้ข้อค้นพบที่มีรายละเอียดชัดเจน

  17. B A A Y B Y A*B A B Y INTERACTION EFFECT AND MODERATING EFFECTS A = MODERATOR INTERACTION EFFECT OF A AND B ON Y B = MODERATOR EFFECT OF B ON Y DIFFERS AT A EFFECT OF A ON Y DIFFERS AT B

  18. MULTI-LEVEL ANALYSIS HEIRACHICAL LINEAR MODEL MO = MODERATOR(ตัวแปรกำกับ/ตัวแปรปรับ) MO MO rXY X Y

  19. X X ME ME Y Y MODERATED MEDIATOR ME = MEDIATOR MO ME = MODERATED MEDIATOR

  20. X X MO MO Y Y MEDIATED MODERATOR MO = MODERATOR ME MO =MEDIATEDMODERATOR

  21. MULTI-LEVEL ANALYSIS HEIRACHICAL LINEAR MODEL การศึกษาความสัมพันธ์สองระดับ: จุลภาค, มหภาค P ระดับมหภาค (macro level) เฉลี่ย Y เฉลี่ย X X ระดับจุลภาค (micro level) Y Z

  22. STRUCTURAL EQUATION MODEL (SEM) e1 ME = MEDIATOR DIRECT EFFECT = DE INDIRECT EFFECT = IE SPURIOUS CORRELATION = SC CORRELATION = DE + IE + (SC + UE) ME e2 X1 Y

  23. ความคลาดเคลื่อน (ERROR TERM) MRA: Y = b0 + b1X + e Y X e Y X FA: F1 = b1X1 + b2X2 X1 X2 e1 F X1 F e2 X2

  24. e1 Y1 e2 X1 Y2 e1 e2 E1 Y1 Y2 e3 X1 E2 K Y3 e4 X1 Y4 STRUCTURAL EQUATION MODEL (SEM)

  25. ตัวอย่างานวิจัยที่น่าสนใจตัวอย่างานวิจัยที่น่าสนใจ

  26. Educational Administration and Management Brown, M.E., Trevino, L.K. and Harrison, D.A., (2005). Ethical leadership: A social learning perspective for construct development and testing. Organizational Behavior and Human Decision Process. 97, 117-134. Available online: http://www.sciencedirect .com. Objectives: using Bandura’s social cognitive theory or social learning theory to define ethical leadership, to build and refine the Ethical Leadership Scale (ELS), to estimate the psychometric properties, and to utilize the construction predicting beyond other leadership dimensions.(Note: ethical leadership will be positively related to, but empirically distinguishable from, the authentic transformational leadership.)

  27. Methods - Study 1: Develop an initial 48 items (5-point Likert type scale), and survey with 154 participant leaders. Using EFA and experts reduce to 10 items. Studies 2, 3: Conduct a survey of an independent sample of 127 participants and use EFA, and another set of sample (n=184) and use CFA. Studies 4-6: Discriminant/nomological validity using 3 sets of sample (n = 20, 87, 123), to rate the content; to check for the correlations between ELS and consideration, affective trust, abusive supervision, age, gender, religion similarity; and to check for the correlations between ELS and idealized influence-behavior (II-B) measured from modified leadership questionnaire (Bass&Avolio’s MLQ), social desirability, philosophies of human nature-trust and cynicism. Study 7: Use SEM to test for incremental predictive power of ELS relative to II-B for leader effectiveness.

  28. Higher Education and Health Tebes, J.K., Feinn, R., Vanderploeg, J.J., Chinman, M.J., Shepard, J., Brabham, T., Genovese, M. and Connell, C. (2007). Impact of a positive youth development program in urban after-school settings on the prevention of adolescent substance use. Journal of Adolescent Health. 41, 239-427. Objectives: to examine the effectiveness of an after-school program implementing positive youth development collaborative (PYDC) delivered in urban settings on the prevention of adolescent substance use. Methods:Design: randomized pre-posttest control gr. Participants: 155 adolescents in the control group and 149 adolescents in the intervention (exp.) group.

  29. Measures: a) demographic characteristics, b) two dimensions of substance use attitudes: risk of harm scale and drug belief scale, c) substance use behavior. Intervention: Experimental group: an 18 session after-school curriculum, known as Adolescent Decision-Making for the PYDC = ADM-PYDC, covering 1) program overview, 2) coping with stress, 3) learning the 7-step of effective decision-making, 4) learning essential information about alcohol, tobacco, and other drugs, 5) applying decision process to one’s life by identifying positive personal attributes, setting positive goals for healthy living and enhancing one’s social networks and resources, 6) program review. Control group: an 18 session after-school program on recreation activities, academic support and counseling, and periodic drug education lectures.

  30. Procedures: All program activities were delivered by community group leaders who were provided with more than 12 hours of training in the curriculum and in youth management skills. Group leaders attended bi-weekly group meetings supervised by members of the research team. the manipulation check was performed through interviews. Data: Data were measured 3 times: pretest, posttest and 1 year after posttest. Interviews (30-45 minutes) were also conducted in private at after-school sites, community settings, or participants’ home. Data Analysis: ANOVA using HLM for each type of drug and each dependent variable.

  31. Educational Psychology and Meta-analysis Conceptual model: • Outcomes • Performance • -job satisfaction • -org. commitment • -intention to remain • -turnover Newcomer information seeking • Newcomer • adjustment • role clarity • self efficacy • social acceptance Organiztional socialization tactics Bauer, Y.N., Bodner, T. and Tucker, J.S. (2007). Newcomer adjustment during organizational socialization: A meta-analytic review of antecedents, outcomes, and methods. Journal of Applied Psychology. 92, 707-721. Objectives:to test a model of antecedent and outcomes of newcomer adjustment using 70 unique research reports with meta-analysis and SEM techniques.

  32. Sample description: 70 research reports (covering 12,279 participants) 83% of which were longitudinal studies measuring data at least twice, the average time of the second data collection was 5.5 months, with 1-12 months range. Data:45 meta-analytic correlation matrix between pairs of 10 variables in the conceptual model were obtained, each of which came from 3 to 26 research reports, with a sample ranged from 272 to 4,027 participants. Three moderators were used for moderator analysis: longitudinal/cross-sectional study, work-to-work/school-to-work sample, and composite/facet measurement. Data Analysis: descriptive statistics, ANOVA, structural equation modeling to validate the model, and moderator analysis

  33. การประเมินคุณภาพงานวิจัยการประเมินคุณภาพงานวิจัย

  34. การประเมินคุณภาพงานวิจัยการประเมินคุณภาพงานวิจัย ระดับคุณภาพงานวิจัย (ดี ดีมาก และดีเด่น) 1. งานวิจัยมีหัวข้อครบถ้วนตามมาตรฐานการวิจัยที่ดี 2. แสดงเหตุผล ความเป็นมา ความสำคัญเหมาะสม 3. วิธีดำเนินการวิจัยสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ 4. มีมาตรฐานของรูปแบบรายงาน การนำเสนอ 5. มีมาตรฐานการควบคุมคุณภาพ และประกันคุณภาพ 6. ระบุผลกระทบทั้งทางตรง/ทางอ้อม เชิงลึก/เชิงกว้าง

  35. แนวทางการเผยแพร่ผลงานวิจัยแนวทางการเผยแพร่ผลงานวิจัย • รูปแบบการเผยแพร่งานวิจัย • บทความวิจัยในสารสารวิชาการที่มี peer review เน้น • วารสารในฐานข้อมูล SSCI ที่มีค่า Impact factor สูง • 2. หนังสืองานวิจัย (research monograph) • 3. บทความวิจัยพิมพ์เป็นรวมบทอ่าน (Readings) หรือ • บทความวิจัยรวมเล่มหรือ CD • 4. บทความวิจัยในเอกสารการประชุม (Proceedings) • 5. การจัดแสดงผลงานสร้างสรรค์ด้านศิลปกรรม

  36. ขอบคุณ

More Related