1 / 21

สำนักนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร กระทรวงคมนาคม

สำนักนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร กระทรวงคมนาคม. โครงการศึกษาจัดทำระบบขนส่งมวลชนเมืองหาดใหญ่ และเชื่อมโยงเมืองสงขลา. ศูนย์วิจัยและพัฒนาการจราจรและขนส่ง ( TDRC) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ ). 1.3 ขอบเขตการศึกษา. งานประกอบด้วย 3 ส่วน ได้แก่

winka
Télécharger la présentation

สำนักนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร กระทรวงคมนาคม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สำนักนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร กระทรวงคมนาคม โครงการศึกษาจัดทำระบบขนส่งมวลชนเมืองหาดใหญ่ และเชื่อมโยงเมืองสงขลา ศูนย์วิจัยและพัฒนาการจราจรและขนส่ง (TDRC)มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ)

  2. 1.3 ขอบเขตการศึกษา งานประกอบด้วย 3 ส่วน ได้แก่ ส่วนที่ 1 : การศึกษาจัดทำแผนแม่บทการพัฒนาระบบขนส่ง มวลชนเมืองหาดใหญ่ ส่วนที่ 2 : การศึกษารูปแบบการพัฒนาโครงการศูนย์กลางการ คมนาคม (Inter-model Exchange Center) ส่วนที่ 3 : การศึกษาระบบขนส่งมวลชนที่เหมาะสม เชื่อมโยงระหว่างเมืองหาดใหญ่กับสงขลา

  3. นครศรีธรรมราช พัทลุง ตรัง สตูล ปัตตานี ยะลา ทะเลอันดามัน ประเทศมาเลเซีย 1.4 พื้นที่ศึกษา • ครอบคลุมอำเภอเมืองสงขลา และอำเภอหาดใหญ่ • โครงข่ายการคมนาคมเชื่อมโยงระหว่างอำเภอเมืองสงขลา และอำเภอหาดใหญ่ • - ทางหลวงหมายเลข 407 • - ทางหลวงหมายเลข 414 • - เส้นทางรถไฟ (สายเก่า)

  4. 1. แนวทางการพัฒนาระบบขนส่งมวลชนเชื่อมโยงระหว่างเมืองหาดใหญ่กับเมืองสงขลา 1.1 ระบบและเส้นทางการเดินรถ 1.2 สถานีรับ-ส่งผู้โดยสาร 1.3 รูปแบบของตัวรถไฟ 1.4 ค่าใช้จ่ายในการพัฒนาระบบ 1.5 ผลประโยชน์ที่ได้รับ 1.6 การบริหารจัดการระบบ

  5. 1.1 ระบบและเส้นทางการเดินรถ (พิจารณาคะแนนจากปัจจัย 10 ตัว โดยมีคะแนนรวมทั้งสิ้น 10 คะแนน)

  6. ทางเลือกในการพัฒนาระบบทางเลือกในการพัฒนาระบบ BRT บนทางหลวง 414 BRT บนทางหลวง 407 BRT ในเขตทางรถไฟ รถไฟ ในเขตทางรถไฟ เมืองสงขลา ทะเลสาบสงขลา อ่าวไทย เมืองหาดใหญ่

  7. ก่อสร้างถนนเลียบทางรถไฟ เมืองสงขลา ทะเลสาบสงขลา อ่าวไทย ถนนเลียบทางรถไฟช่วงที่ 2 ถนนเลียบทางรถไฟช่วงที่ 1 ถนนเลียบทางรถไฟช่วงที่ 1 เมืองหาดใหญ่

  8. ถนนเลียบทางรถไฟช่วงที่ 1 จุดเริ่มต้นช่วงที่ 1 กม.ที่ 931+506 (ถนนนิพัทธ์สงเคราะห์) จุดสิ้นสุดช่วงที่ 1 กม.ที่ 936+500 (ทางหลวง 407)

  9. ถนนเลียบทางรถไฟ (Local Road) หาดใหญ่ • ป้องกันการบุกรุกที่รถไฟในอนาคต • เพิ่มทางเลือกในการเข้า-ออกพื้นที่สองข้างทางรถไฟ • เพิ่มทางเลือกในการสัญจรของเมืองหาดใหญ่ • ส่งเสริมการพัฒนาพื้นที่รองรับการขยายตัวของเมืองหาดใหญ่

  10. ถนนเลียบทางรถไฟช่วงที่ 2 เมืองสงขลา จุดสิ้นสุดช่วงที่ 2 กม.ที่ 958+087 (สถานีรถไฟสงขลา) ทะเลสาบสงขลา อ่าวไทย จุดเริ่มต้นช่วงที่ 2 กม.ที่ 950+881 (แยกทางหลวง 407)

  11. ถนนเลียบทางรถไฟ (Local Road) สงขลา • ป้องกันการบุกรุกที่รถไฟในอนาคต • เพิ่มทางเลือกในการเข้า-ออกพื้นที่สองข้างทางรถไฟ • เพิ่มทางเลือกในการเข้า-ออกเมืองสงขลา • ส่งเสริมการพัฒนาพื้นที่รองรับการขยายตัวของเมืองสงขลา

  12. 1.2 สถานีรับ-ส่งผู้โดยสาร สัญลักษณ์ สถานีรถไฟ 1. หาดใหญ่ 2. ตลาดน้ำน้อย 3. น้ำกระจาย 4. สงขลา x แนวเส้นทางรถไฟ 4 3 2 หมายเหตุสถานีที่ 2 และ 3 ให้รถสับหลีกได้ ตำแหน่งสถานีรถไฟในระยะที่ 1 (4 สถานี) 1

  13. รูปแบบสถานีหาดใหญ่

  14. รูปแบบสถานีตลาดน้ำน้อยและสถานีน้ำกระจายรูปแบบสถานีตลาดน้ำน้อยและสถานีน้ำกระจาย ด้านหน้าสถานี ด้านหลังสถานี

  15. รูปแบบสถานีสงขลา แนวทางพัฒนา : บูรณสถานีตามสถาปัตยกรรมเดิม

  16. 1.3 รูปแบบตัวรถไฟ • ระบบรถไฟดีเซลราง ความจุ 110-120 คนต่อคัน • ทั้งระบบใช้ 4 ขบวน (ขบวนละ 2 คัน) • ความเร็วเฉลี่ย 30 – 60 กิโลเมตรต่อชั่วโมง

  17. 1.4 ค่าใช้จ่ายในการพัฒนาระบบ

  18. Animation ระบบที่พัฒนาขึ้น

  19. 1.5 ผลประโยชน์ที่ได้รับ • เพิ่มทางเลือกในการเดินทางระหว่างหาดใหญ่และสงขลา • เพิ่มทางเลือกในการสัญจรของเมืองและเข้า-ออกเมือง • กระตุ้นเศรษฐกิจและส่งเสริมการท่องเที่ยว • นำพื้นที่ของรถไฟกลับมาใช้ประโยชน์ (พื้นที่ 866 ไร่ คิดเป็นมูลค่า 180 ล้านบาท) • ส่งเสริมการพัฒนาพื้นที่ในเขตเมืองหาดใหญ่และสงขลา (เพิ่มมูลค่าที่ดินกว่า 10,000 ล้านบาท) • ป้องกันการบุกรุกที่รถไฟในอนาคต

  20. 1.6 การบริหารจัดการระบบ - คาดการณ์จำนวนผู้โดยสารวันละ 1060 คน (ในปี พ.ศ. 2558) และ 2608 คน (ในปี พ.ศ. 2588) - ขบวนรถไฟออกทุกๆ 30 นาที - ความเร็วในการเดินรถ 30 – 60 กิโลเมตรต่อชั่วโมง - ใช้เวลาเดินทางประมาณ 40 – 60 นาที - ค่าโดยสาร 10 บาทต่อเที่ยว มาตรฐานทั่วไปคิด 0.22 บาทต่อกิโลเมตร @ 30 กิโลเมตร = 6.6 บาท ต้นทุนจริงโดยเฉลี่ย 1.60 บาท ต่อกิโลเมตร @ 30 กิโลเมตร = 48 บาท • ควรมอบให้การรถไฟแห่งประเทศไทยดำเนินการ เพราะ - มีอำนาจหน้าที่ในการจัดดำเนินการกิจการรถไฟในประเทศไทยโดยตรง - มีบุคลากร ทรัพยากร และเครื่องมือต่างๆ สำหรับดำเนินการโครงการ

More Related