1 / 29

รวมพลัง สร้างสรรค์ ส่งเสริม

รวมพลัง สร้างสรรค์ ส่งเสริม. สุขภาพช่องปาก. สมาชิกทีมงาน. ทพญ. สุนทรี ลิ้มสวรรค์ ทพ. สิทธิพันธุ์ เชิญขวัญศรี ทภ. อรุณรัตน์ จักก ภูมิ ทภ. อำไพ เณรบำรุง ทภ. อรสา ทรัพย์เจริญ ผชทพ.ทัศนี ช่างกล ผชทพ. ปัญญา บุญทัศนา. 1. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา. 2. วัตถุประสงค์.

woody
Télécharger la présentation

รวมพลัง สร้างสรรค์ ส่งเสริม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. รวมพลัง สร้างสรรค์ ส่งเสริม สุขภาพช่องปาก

  2. สมาชิกทีมงาน • ทพญ.สุนทรี ลิ้มสวรรค์ • ทพ.สิทธิพันธุ์ เชิญขวัญศรี • ทภ.อรุณรัตน์ จักกภูมิ • ทภ.อำไพ เณรบำรุง • ทภ.อรสา ทรัพย์เจริญ • ผชทพ.ทัศนี ช่างกล • ผชทพ.ปัญญา บุญทัศนา

  3. 1. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา 2. วัตถุประสงค์ 5.ผลการดำเนินการ 6. การนำไปใช้ประโยชน์ 3. ผลที่คาดว่าจะได้รับ 7. ข้อเสนอแนะ • 4. วิธีดำเนินการ

  4. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหาความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา การสำรวจสภาวะทันตสุขภาพจังหวัดนครปฐมปี 2552 และปี 2553 พบว่า เด็กอายุ 3 ปีมีฟันผุเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 60 เป็นร้อยละ 62.26 เด็กประถมศึกษาอายุ 12 ปี มีฟันผุเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 55.73 เป็นร้อยละ 61.42ค่าเฉลี่ยผุถอนอุดเพิ่มจาก 1.49 ซี่ / คน เป็น 1.93 ซี่ / คน การส่งเสริมและป้องกันโรคในช่องปากกลุ่มเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เด็กอนุบาล ยังไม่เป็นรูปธรรม มีแนวโน้มที่ปัญหาจะทวีคูณ มากขึ้น

  5. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหาความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา การส่งเสริมและป้องกันโรคในช่องปากกลุ่มเด็กประถมศึกษามีการนำวิธีการเฝ้าระวังมาใช้ตั้งแต่ปี 2534 แต่ก็ไม่สามารถปฏิบัติได้จริง เพราะครูอนามัยมีเพียงคนเดียวในโรงเรียน ไม่สามารถตรวจฟันนักเรียนทั้งโรงเรียนได้ มี ปัญหาการย้ายสถานที่ทำงาน ทำให้ขาดความต่อเนื่อง ครูประจำชั้นไม่ได้รับการอบรม ไม่สามารถดำเนินงานแทนได้และไม่เห็นความสำคัญ ไม่ได้รับความร่วมมือจากผู้ดูแลเด็กและครูอนามัยในการเข้ารับการอบรมการดำเนินงานเฝ้าระวัง เนื่องจากเป็นการเพิ่มภาระและต้องหยุดการสอน

  6. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหาความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา โรคฟันผุในเด็กเล็กและเด็กอนุบาล เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว การเฝ้าระวังอย่างเดียว ยังไม่เพียงพอที่จะหยุดโรคได้ ควรมีแนวทางอื่นๆ มาดำเนินการร่วมด้วย ไม่เคยมีการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพ เครือข่ายโรงพยาบาลห้วยพลู ทำให้การวางแผนและประเมินผลการทำงานไม่ชัดเจน

  7. วัตถุประสงค์ เพื่อให้ครูโรงเรียนระดับประถมศึกษาและเจ้าพนักงานสาธารณสุขในเครือข่ายของโรงพยาบาลห้วยพลู มีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากและตรวจสุขภาพช่องปากนักเรียนเบื้องต้นที่ถูกต้อง(แบบฟอร์ม ทส.001, ทส.002,ทส.003) เพื่อให้ผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ครูอนุบาล มีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากและตรวจสุขภาพช่องปากเบื้องต้นได้

  8. วัตถุประสงค์ เพื่อรู้สถานการณ์ของโรคฟันผุและเหงือกอักเสบของเด็กเล็ก เด็กอนุบาล นักเรียนประถมศึกษา มัธยมศึกษา ครู เจ้าพนักงานสาธารณสุขในเครือข่ายของโรงพยาบาลห้วยพลู เพื่อให้บริการทันตกรรมบำบัดแก่นักเรียน ครู เจ้าพนักงานสาธารณสุขในกรณีที่ต้องการรักษาเร่งด่วน

  9. วัตถุประสงค์ • เพื่อลดอัตราการเกิดโรคฟันผุและโรคเหงือกอักเสบในกลุ่มเด็กเล็ก เด็กอนุบาล นักเรียนประถมศึกษา มัธยมศึกษา ครู เจ้าพนักงานสาธารณสุข • เด็กมัธยมสามารถแปรงฟันได้ถูกวิธีได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและส่งต่อเพื่อรับการรักษา  ภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนมีส่วนร่วม ในการดูแลและส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในเด็กเล็กและเด็กประถมศึกษา

  10. ผลที่คาดว่าจะได้รับ  ร้อยละ 100 ของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและทาฟลูออไรด์วานิช  ร้อยละ 100 ของผู้ปกครองที่มาประชุมได้รับความรู้เรื่องการดูแลทันตสุขภาพ  ร้อยละ 100 ของครูและเจ้าพนักงานสาธารณสุขสามารถตรวจสุขภาพช่องปากเด็กนักเรียนตามโครงการเฝ้าระวังได้

  11. ผลที่คาดว่าจะได้รับ  ร้อยละ 100 ของโรงเรียนประถมศึกษาตรวจสุขภาพช่องปากตามระบบเฝ้าระวังและมี ทส.001ทส.002 ถูกต้อง  ร้อยละ 100 ของสถานีอนามัยในเครือข่ายมี ทส.003 ถูกต้อง ร้อยละ 100 ของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เด็กอนุบาล เด็กประถมศึกษาได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและส่งต่อเพื่อรับการรักษาอย่างถูกต้อง

  12. ผลที่คาดว่าจะได้รับ • ร้อยละ 100 ของครูและเจ้าพนักงานสาธารณสุขได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและส่งต่อเพื่อรับการรักษาอย่างถูกต้อง •  ร้อยละ 100 ของเด็กมัธยมศึกษาได้รับการสอนและฝึกปฏิบัติการแปรงฟัน

  13. ผลที่คาดว่าจะได้รับ  ร้อยละ 100 ของเด็กมัธยมศึกษาได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก และส่งต่อเพื่อรับการรักษาอย่างถูกต้อง มีการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพเครือข่ายโรงพยาบาล ห้วยพลูปีละ 1 ครั้ง สร้างความสัมพันธ์ ความร่วมมือ ของภาคีเครือข่าย องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็ก ครู ในการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพช่องปาก

  14. วิธีดำเนินการ

  15. วิธีดำเนินการ

  16. วิธีดำเนินการ

  17. ผลการดำเนินการ  ร้อยละ 100 ของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและ ทาฟลูออไรด์วานิช  ร้อยละ 100 ของเด็กอนุบาลได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและทาฟลูออไรด์ วานิช  ร้อยละ 100 ของผู้ปกครองที่มาประชุมได้รับความรู้เรื่องการดูแลทันตสุขภาพ  ร้อยละ 100 ของครูและเจ้าพนักงานสาธารณสุขสามารถตรวจสุขภาพช่องปากเด็กนักเรียนตามโครงการเฝ้าระวังได้

  18. ผลการดำเนินการ  ร้อยละ 100 ของโรงเรียนประถมศึกษาตรวจสุขภาพช่องปากตามระบบเฝ้าระวังและมี ทส.001ทส.002 ถูกต้อง  ร้อยละ 100 ของสถานีอนามัยในเครือข่ายมี ทส.003 ถูกต้อง  ร้อยละ 100 ของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เด็กอนุบาล เด็กประถมศึกษาได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและส่งต่อเพื่อรับการรักษาอย่างถูกต้อง

  19. ผลการดำเนินการ  ร้อยละ 100 ของสถานีอนามัยในเครือข่ายมี ทส.003 ถูกต้อง  ร้อยละ 100 ของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เด็กอนุบาล เด็กประถมศึกษาได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและส่งต่อเพื่อรับการรักษาอย่างถูกต้อง  ร้อยละ 100 ของครูและเจ้าพนักงานสาธารณสุขได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและส่งต่อเพื่อรับการรักษาอย่างถูกต้อง  ร้อยละ 100 ของเด็กมัธยมศึกษาได้รับการสอนและฝึกปฏิบัติการแปรงฟัน

  20. ผลการดำเนินการ  ร้อยละ 100 ของครูและเจ้าพนักงานสาธารณสุขได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและส่งต่อเพื่อรับการรักษาอย่างถูกต้อง  ร้อยละ 100 ของเด็กมัธยมศึกษาได้รับการสอนและฝึกปฏิบัติการแปรงฟัน  ร้อยละ 100 ของเด็กมัธยมศึกษาได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก และส่งต่อเพื่อรับการรักษาอย่างถูกต้อง  มีการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพเครือข่ายโรงพยาบาลห้วยพลูปีละ 1 ครั้ง

  21. ผลการดำเนินการ  สร้างความสัมพันธ์ ความร่วมมือ ของภาคีเครือข่าย องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็ก ครู ในการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพช่องปาก  การสำรวจสภาวะทันตสุขภาพเครือข่ายโรงพยาบาลห้วยพลูปี 2554 พบว่า • เด็กอายุ 3 ปีมีฟันผุร้อยละ เป้าหมายประเทศไม่เกิน • เด็กอายุ 5 ปีมีฟันผุร้อยละ เป้าหมายประเทศไม่เกิน • เด็กประถมศึกษาอายุ 12 ปีมีฟันผุร้อยละ ค่าเฉลี่ยผุถอนอุด ซี่ / คน เป้าหมายประเทศไม่เกิน

  22. การนำไปใช้ประโยชน์  เป็นต้นแบบให้โรงพยาบาลอื่นๆ นำไปดัดแปลงใช้ตามความเหมาะสม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ประสิทธิผลในการดำเนินงาน

  23. ข้อเสนอแนะ  ในระยะยาวสามารถลดต้นทุนในการดำเนินงานได้ เช่น ค่าวิทยากร เนื่องจากไม่ต้องมีการสอนภาคทฤษฎี มีเพียงภาคปฏิบัติเท่านั้น  ควรสำรวจความพึงพอใจของผู้ที่เกี่ยวข้อง เช่น ครู เจ้าพนักงานสาธารณสุข ผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็ก เจ้าหน้าที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และนำมาหาแนวทางพัฒนาให้ดียิ่งขึ้นต่อไป

  24. ขอบคุณค่ะ

  25. การเคลือบฟลูออไรด์วานิชในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กการเคลือบฟลูออไรด์วานิชในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

  26. การตรวจฟันเด็กประถมเพื่อนำมาเคลือบหลุมร่องฟันการตรวจฟันเด็กประถมเพื่อนำมาเคลือบหลุมร่องฟัน

  27. การให้ความรู้ทางทันตสุขศึกษาการให้ความรู้ทางทันตสุขศึกษา

  28. การอบรมความรู้การเฝ้าระวังทางทันตแก่ครูประจำชั้นการอบรมความรู้การเฝ้าระวังทางทันตแก่ครูประจำชั้น

  29. การตรวจช่องปากครู

More Related