1 / 42

การใช้สารเคมีในด้านเกษตรกรรม

การใช้สารเคมีในด้านเกษตรกรรม. ประภาวดี บรรดาศักดิ์ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอำนาจเจริญ. สารเคมีกำจัดศัตรูพืช คือ อะไร………………. สารหรือส่วนประกอบของสารที่ได้จากการ สังเคราะห์ขึ้นหรือจากธรรมชาติ มีประสิทธิภาพใน

wyatt-witt
Télécharger la présentation

การใช้สารเคมีในด้านเกษตรกรรม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การใช้สารเคมีในด้านเกษตรกรรมการใช้สารเคมีในด้านเกษตรกรรม ประภาวดี บรรดาศักดิ์ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอำนาจเจริญ

  2. สารเคมีกำจัดศัตรูพืช คือ อะไร………………. สารหรือส่วนประกอบของสารที่ได้จากการ สังเคราะห์ขึ้นหรือจากธรรมชาติ มีประสิทธิภาพใน การป้องกัน ควบคุม และทำลายศัตรูพืช (แมลง และวัชพืช) ศัตรูสัตว์ (เชื้อโรค แมลง และสัตว์ ที่เป็นพาหะนำโรค เช่น หนู แมลงสาบ เป็นต้น)

  3. ความเป็นอันตราย เป็นพิษ ทำให้บาดเจ็บ หรือ ตายเมื่อเข้าสู่ร่างกาย ไวไฟ ติดไฟได้ง่าย เมื่อถูกประกายไฟ หรือ เมื่อได้รับ ความร้อนสูง กัดกร่อน ทำให้เนื้อเยื่อบริเวณที่สัมผัสสารนั้น ถูกทำลาย หรือ ไม่สามารถกลับคืนสู่สภาพปกติดังเดิมได้ ระคายเคืองทำให้ ผิวหนัง นัยน์ตา เนื้อเยื่อ และ ระบบ ทางเดินหายใจ เกิดอาการระคายเคือง หรือ อักเสบ หน้า 30

  4. ระดับความเป็นพิษของสารเคมีกำจัดศัตรูพืชระดับความเป็นพิษของสารเคมีกำจัดศัตรูพืช ระดับหนึ่ง เอ (Class 1a) ที่มีความเป็นพิษร้ายแรงยิ่ง (สีแดง) ระดับหนึ่ง บี (Class 1b) ที่มีความเป็นพิษร้ายแรง (สีแดง) ระดับสอง (Class 11) ที่มีความเป็นพิษปานกลาง (สีเหลือง) ระดับสาม (Class 111) ที่มีความเป็นพิษเล็กน้อย (สีน้ำเงิน) ระดับสี่ (Class 1V) ที่มีความเป็นพิษน้อยมาก

  5. ตัวอย่างฉลาก สารเคมีที่มีพิษร้ายแรงมาก (1 เอ)

  6. ตัวอย่างสารเคมีที่มีพิษระดับต้องระวัง (ชั้น 3)

  7. สารพิษ: สารเคมีกำจัดศัตรูพืช/วัตถุมีพิษทางการเกษตร • /วัตถุอันตรายทางการเกษตร(Pesticides) • 5 กลุ่มหลัก • สารกำจัดแมลง(Insecticides) • สารกำจัดวัชพืช(Herbicides) • สารกำจัดหนูและสัตว์ฟันแทะ(Rodenticides) • สารกำจัดเชื้อรา (Fungicides) • สารรมควัน(Fumigant)

  8. ความรู้ในการใช้สารเคมีของเกษตรกรความรู้ในการใช้สารเคมีของเกษตรกร

  9. อุปกรณ์ป้องกันอันตรายจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืชอุปกรณ์ป้องกันอันตรายจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืช

  10. การจัดเก็บสารเคมีกำจัดศัตรูพืชการจัดเก็บสารเคมีกำจัดศัตรูพืช

  11. การผสมและการแบ่งบรรจุสารเคมีกำจัดศัตรูพืชการผสมและการแบ่งบรรจุสารเคมีกำจัดศัตรูพืช

  12. การฉีดพ่นสารเคมีกำจัดศัตรูพืชการฉีดพ่นสารเคมีกำจัดศัตรูพืช

  13. การจัดการกับสารเคมีกำจัดศัตรูพืชที่หกรดการจัดการกับสารเคมีกำจัดศัตรูพืชที่หกรด

  14. การทำลายหรือกำจัดภาชนะบรรจุสารเคมีกำจัดศัตรูพืชการทำลายหรือกำจัดภาชนะบรรจุสารเคมีกำจัดศัตรูพืช

  15. สิ่งที่เกษตรกรควรตระหนักสิ่งที่เกษตรกรควรตระหนัก

  16. สารเคมีกำจัดศัตรูพืชทุกชนิดมีอันตรายต่อสุขภาพของเกษตรกร ครอบครัว ชุมชน ระบบนิเวศน์ สิ่งแวดล้อม

  17. การตรวจหาระดับเอนไซม์โคลีนเอสเตอเรสการตรวจหาระดับเอนไซม์โคลีนเอสเตอเรส

  18. แผ่นเทียบสีมาตรฐานสำหรับแปลผลโคลีนเอสเตอเรสของกระดาษทดสอบ “REACTIVE PAPER” แสดงสีของกระดาษแต่ละชนิด ไม่ปลอดภัย มีความเสี่ยง ปลอดภัย ปกติ

  19. การแปลผลการตรวจหาโคลีนเอสเตอเรสการแปลผลการตรวจหาโคลีนเอสเตอเรส ปกติ ระดับโคลีนเอสเตอเรส มากกว่า หรือเท่ากับ 100 หน่วยต่อมิลลิลิตร ปลอดภัยระดับโคลีนเอสเตอเรส มากกว่า หรือเท่ากับ 87.5 หน่วยต่อมิลลิลิตร มีความเสี่ยงระดับโคลีนเอสเตอเรส มากกว่า หรือเท่ากับ 75.0 หน่วยต่อมิลลิลิตร ไม่ปลอดภัยระดับโคลีนเอสเตอเรส ต่ำกว่า 75.0 หน่วยต่อมิลลิลิตร

  20. เกษตรกรควรหันมาพิจารณาการควบคุม กำจัดศัตรูพืชด้วยวิธีการไม่ใช้สารเคมี

  21. หากไม่สามารถหลีกเลี่ยงการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชได้ ควรใช้ให้น้อยลงหรือใช้ร่วมกับวิธีอื่นและต้องใช้อย่างถูกวิธี

  22. การใช้สารเคมีอย่างปลอดภัยโดยการใช้สารเคมีอย่างปลอดภัยโดย ตรวจสอบดูรายละเอียด/ประเภทของสารเคมี ใช้สารเคมีในสภาพที่ปลอดภัย - เวลา - ทิศทางลม - แสงแดด - ความสูง-ต่ำของหัวฉีด 3. สวมถุงมือยางขณะทำงานกับสารเคมีทุกครั้ง 4. ล้างมือทุกครั้งหลังหยิบจับสารเคมี 5. อาบน้ำทันทีและเปลี่ยนเสื้อผ้าหลังการฉีดพ่น

  23. ข้อพิจารณาเพื่อความปลอดภัยข้อพิจารณาเพื่อความปลอดภัย ตรวจสอบดูรายละเอียด/ประเภทของสารเคมี ใช้สารเคมีในสภาพที่ปลอดภัย - เวลา - ทิศทางลม - แสงแดด - ความสูง-ต่ำของหัวฉีด

  24. อันตรายของการใช้สารเคมีของเกษตรกรอันตรายของการใช้สารเคมีของเกษตรกร อันตราย= ความเป็นพิษ x การใช้

  25. สวัสดี...ค่ะ

More Related