1 / 21

การดูแลรักษาเด็ก ที่เกิดจากแม่ที่ติดเชื้อ เอช ไอวี

การดูแลรักษาเด็ก ที่เกิดจากแม่ที่ติดเชื้อ เอช ไอวี. โดย ศ. พญ. กุลกัญญา โชคไพบูลย์กิจ คณะแพทยศาสตร์ ศิ ริราชพยาบาล. สัมมนาวิชาการเอดส์ในอนามัยแม่และเด็กแห่งชาติ ครั้งที่ 1 25-26 มิถุนายน 2557. จำนวนเด็กที่ติดเชื้อรายใหม่ ลดน้อยลงมากในแต่ละปี.

wyome
Télécharger la présentation

การดูแลรักษาเด็ก ที่เกิดจากแม่ที่ติดเชื้อ เอช ไอวี

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การดูแลรักษาเด็กที่เกิดจากแม่ที่ติดเชื้อเอชไอวีการดูแลรักษาเด็กที่เกิดจากแม่ที่ติดเชื้อเอชไอวี โดย ศ.พญ. กุลกัญญา โชคไพบูลย์กิจ คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล สัมมนาวิชาการเอดส์ในอนามัยแม่และเด็กแห่งชาติ ครั้งที่ 1 25-26 มิถุนายน 2557

  2. จำนวนเด็กที่ติดเชื้อรายใหม่ ลดน้อยลงมากในแต่ละปี

  3. เป้าหมายอันสูงสุด1. ไม่มีเด็กติดเชื้อ จากแม่รายใหม่2. เด็กที่ติดเชื้อทุกรายได้ รับการรักษาและหาย (cure) Pediatric HIV is closest to the “dream-come-true”

  4. หลักในการดูแลทารก ที่เกิดจากแม่ที่ติดเชื้อเอชไอวี 1. ป้องกันการติดเชื้อให้ดีที่สุด 2. ทำให้เด็กมีสุขภาพแข็งแรง 3. รีบวินิจฉัยโรคให้เร็วที่สุด เพื่อเริ่มยาต้านไวรัสโดยเร็ว จะได้มีร่างกายแข็งแรง สติปัญญาปกติ และมีโอกาสหาย

  5. การดูแลทารกที่มีมารดาติดเชื้อเอชไอวี ในช่วงแรกเกิด • ให้ยาต้านไวรัสเพื่อป้องกันการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูกอย่างเหมาะสม • ติดตามผลข้างเคียงของยา • ให้งดนมแม่โดยเด็ดขาดและกินนมผสม กรมอนามัย ให้การสนับสนุนนมผสมสำหรับทารกที่คลอดจากแม่ที่ ติดเชื้อ เอชไอวีฟรีนาน 18 เดือน • ห้ามมิให้แม่หรือผู้เลี้ยงเด็กเคี้ยวข้าวเพื่อป้อนให้เด็กรับประทาน เนื่องจากมีโอกาสเกิดการติดเชื้อเอชไอวีได้ • ให้รับวัคซีนและมาตรวจสุขภาพเหมือนเด็กปกติ

  6. การดูแลทารกที่มีมารดาติดเชื้อเอชไอวี ในช่วงแรกเกิด • ให้ TMP-SMX ป้องกัน PCP(ขนาด TMP 150 mg/m2/day) รับประทาน 3 วัน ต่อสัปดาห์ โดยเริ่มยาที่อายุ 4-6 สัปดาห์ และให้ยาต่อเนื่องจนกว่าจะทราบการวินิจฉัยว่าเด็กไม่ติดเชื้อเอชไอวี โดยวิธี PCR สำหรับเด็กที่ ติดเชื้อเอชไอวีให้รับประทานยาจนอายุ 1 ปี • ต้องประเมินความเสี่ยงต่อการสัมผัสวัณโรค และให้ยา INH ป้องกันถ้ามีประวัติสัมผัส แต่ไม่เป็นโรค • ทารกควรได้รับการตรวจ PCR อย่างน้อย 2 ครั้งที่อายุ 1 และ 2-4เดือน กรณีทารกเสี่ยงสูง ควรตรวจ PCR 3ครั้ง คือ1, 2 และ 4 เดือน • หากเด็กติดเชื้อให้เริ่มยารักษาสูตร AZT+3TC+LPV/r โดยเร็วที่สุด หากไม่มียาสามารถใช้ AZT+3TC+NVP ไปก่อนได้ และเปลี่ยน NVP เป็น LPV/r เมื่อมียา

  7. แนวทางการรักษาทารก ขึ้นอยู่กับความเสี่ยง

  8. ขนาดยาต้านไวรัสสำหรับป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี จากแม่สู่ลูกในเด็กทารกแรกเกิด

  9. การตรวจวินิจฉัยการติดเชื้อในทารก ต้องทำให้ เร็วที่สุดและเริ่มรักษาเด็กที่ติดเชื้อให้เร็วที่สุด AZT/3TC/NVP 0 1 mo 2 mo 4 mo .................12-18 mo age PCR+ at 1 mo AZT+3TC+LPV/r PCR+ at 2 mo AZT+3TC+LPV/r AZT+3TC+LPV/r PCR+ at 4 mo • ถ้าเสี่ยงสูงเช่น No ANC หรือได้ยาต้านไวรัสระหว่างตั้งครรภ์เพียงสั้นๆให้เก็บเลือดใส่กระดาษกรองไว้เหมือน ตรวจ ไทรอยด์เมื่อแรกเกิด เผื่อหากต้องใช้ในอนาคต • หากผลPCR เป็นบวกควรรีบตรวจซ้ำทันทีถ้า PCR เป็นบวก 2 ครั้ง ให้ถือว่าติดเชื้อ และต้องรักษาด้วยยาต้านไวรัสทันที

  10. ผลลัพธ์ของการให้ PMTCT ในเด็กและ บริการที่เด็กที่คลอดจากแม่ที่ติดเชื้อเอชไอวีได้รับ กรมอนามัย ข้อมูล ต.ค. 54 – ส.ค. 55 วิเคราะห์เมื่อ 7 มี.ค. 2556

  11. หลักในการดูแลทารก ที่เกิดจากแม่ที่ติดเชื้อเอชไอวี 1. ป้องกันการติดเชื้อให้ดีที่สุด ด้วยยาต้านไวรัส และงดนมแม่ 2. ทำให้เด็กมีสุขภาพแข็งแรง 3. รีบวินิจฉัยโรคให้เร็วที่สุด เพื่อเริ่มยาต้านไวรัสโดยเร็ว จะได้มีร่างกายแข็งแรง สติปัญญาปกติ และมีโอกาสหาย

  12. Post partum through breastfeeding In utero Delivery 36 wk -labor During labor 0-14 wk 14-36 wk 0-6 month 6-24 month 7% 3% 1% 4% 12% 8% การติดเชื้อจากแม่สู่ลูก เกิดได้ตลอดการตั้งครรภ์ แต่สูงสุดช่วงใกล้คลอด และระหว่างคลอด Estimated Risk and Timing of Mother-To-Child HIV Transmission Source: De Cock KM, et al. JAMA. 2000; 283 (9): 1175-82Kourtiset al. JAMA 2001; DeCock et al. JAMA 2000

  13. การให้ยาต้านไวรัสเพื่อป้องกันการติดเชื้อจากมารดาสู่ทารกการให้ยาต้านไวรัสเพื่อป้องกันการติดเชื้อจากมารดาสู่ทารก การให้ยาในมารดาหลังคลอด ให้เป็นไปตามแนวทางในผู้ใหญ่ทั่วไป และควรพิจารณาให้ยาต่อเนื่องหลังคลอดทุกราย

  14. การให้ยาต้านไวรัสกรณีแม่ไม่ได้ฝากครรภ์ (เสี่ยงสูง) กรณีที่เสี่ยงสูงได้แก่ แม่ได้ยา <4 สัปดาห์ก่อนคลอด กินยาไม่สม่ำเสมอ มี VL>50 ช่วงไกล้คลอด ให้ยาลูกเหมือนกรณีนี้ การให้ยาในมารดาหลังคลอด ให้เป็นไปตามแนวทางในผู้ใหญ่ทั่วไป และควรพิจารณาให้ยาต่อเนื่องหลังคลอดทุกราย

  15. การให้นมลูก ทำให้ทารกติดเชื้อได้ 7-10% • ห้ามเลี้ยงลูกด้วยนมแม่โดยเด็ดขาด • ให้ใช้นมผงทดแทนนมแม่ (กระทรวงให้ฟรี) • และห้ามให้นมแม่สลับกับนมผง

  16. การเคี้ยวอาหารให้ทารกโดยผู้ที่ติดเชื้อเอชไอวี อาจแพร่เชื้อให้ทารกได้ Gaur, A.H., et al. 2009. Pediatrics 124(August):658. DOI: 10.1542/peds.2008-3612

  17. ตรวจรักษาผลข้างเคียงจากยาตรวจรักษาผลข้างเคียงจากยา • AZT: Transient anemia, + mitochondrial dysfunction • AZT+3TC: Neutropenia, thrombocytopenia, + mitochondrial dysfunction • d4T / ddI : Safe (limited data) • NVP (single dose): Transient anemia • EFV: Myelomeningocele • PIs: May cause premature labor, hyperglycemia

  18. การให้วัคซีนในเด็กที่เกิดจากแม่ที่ติดเชื้อ และเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี Routine (EPI) Optional Hib HAV VZV (if CD4>15% x2 doses in 3 M) Pneumococcal conjugate vaccine Rota • BCG (แรกเกิด • HBV (แรกเกิด) • DTP -HB • OPV or IPV • MMR (CD4>15%, not ‘C’) • JE (inactivated) • Influenza

  19. แนะนำการดูแลด้านสุขภาพเด็ก เป้าหมาย : ให้มีสุขภาพดี มีความสุข • ให้อาหารที่เหมาะตามวัย • แนะนำสุขอนามัยที่ดี หมั่นล้างมือ • ดื่มน้ำต้มสุก สะอาด • ไม่เลี้ยงสัตว์ที่มีการสัมผัส • ให้มีกิจกรรมตามปกติที่เหมาะกับวัย • ส่งเสริมให้ไปโรงเรียน ร่วมกิจกรรมได้ • ดูแลสุขภาพฟัน ตรวจร่างกายเป็นระยะ • ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคแก่ผู้ปกครอง ช่วยเหลือทางจิตใจ และสังคม ฟันผุจากการดูดนมขวดตลอดเวลา

  20. โรคติดเชื้อฉวยโอกาส ที่ควรเฝ้าระวังและให้ยาป้องกัน ในเด็กที่คลอดจากแม่ที่ติดเชื้อเอชไอวี Pneumocysticjiroveci (PCP) วัณโรค

  21. Cascade from Early Infant Diagnosis to Antiretroviral Treatment 2008-2011 Coverage of EID among infants born to HIV mothers 2011 = 73% EID program evaluation 2008-2011: Thai MOPH, CDC Thailand, UNICEF-Thailand

More Related