1 / 70

แนวทางการบริหารการจัดหาพัสดุ

แนวทางการบริหารการจัดหาพัสดุ ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม. กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดหาพัสดุ. ๓. วิธีการจัดหา. วิธีตกลงราคา วงเงินงบประมาณไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท วิธีสอบราคา วงเงินงบประมาณไม่เกิน ๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท

Télécharger la présentation

แนวทางการบริหารการจัดหาพัสดุ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวทางการบริหารการจัดหาพัสดุแนวทางการบริหารการจัดหาพัสดุ ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม

  2. กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดหาพัสดุ

  3. ๓. วิธีการจัดหา วิธีตกลงราคา วงเงินงบประมาณไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท วิธีสอบราคา วงเงินงบประมาณไม่เกิน ๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท วิธีประกวดราคา วงเงินงบประมาณเกิน ๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท วิธีพิเศษ วงเงินงบประมาณเกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท แต่มีเงื่อนไข วิธีกรณีพิเศษ ไม่กำหนวงเงิน แต่มีเงื่อนไข วิธี e-Auction วงเงินงบประมาณตั้งแต่๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท ขึ้นไป

  4. หน่วยงานเริ่มจัดหาเมื่อใดหน่วยงานเริ่มจัดหาเมื่อใด • ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ ๑๓ กำหนดว่า “หลังจากได้ทราบยอดเงินที่จะนำไปใช้ในการจัดหาแล้ว ให้ส่วนราชการรีบดำเนินการตามขั้นตอนของระเบียบนี้ เพื่อให้พร้อมที่จะทำสัญญาได้ทันทีเมื่อได้รับอนุมัติทางการเงินแล้ว • พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ มาตรา ๒๓ กำหนดสรุปว่า ห้ามมิให้จ่ายเงินหรือก่อหนี้ผูกพันตามพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี หรือพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม จนกว่าจะได้รับอนุมัติเงินประจำงวดแล้ว

  5. พ.ร.บ. วิธีการงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๐๒ มาตรา 26 ข้าราชการ หรือ ลูกจ้างผู้ใดของส่วนราชการ กระทำการก่อหนี้ผูกพัน หรือ จ่ายเงิน หรือโดยรู้อยู่แล้วยินยอมอนุญาตให้กระทำการดังกล่าวนั้นโดย ฝ่าฝืน พ.ร.บ. นี้ หรือระเบียบ หรือข้อบังคับที่ออก โดย พ.ร.บ.นี้ นอกจากความรับผิดทางอาญา จะต้องชดใช้จำนวนเงินที่ส่วนราชการจ่ายไป/ต้องผูกพันจะต้องจ่ายบุคคลภายนอกผู้ได้รับประโยชน์จากการกระทำนั้นจะต้องร่วมรับผิดชอบใช้จำนวนเงินนั้น ตลอดจนค่าสินไหมใด ๆ ให้แก่ส่วนราชการ

  6. หนังสือคณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ ด่วนที่สุด ที่ กค(กวพ) 0421.3/ว 320 ลว 27 ส.ค. 55 ซ้อมความเข้าใจเกี่ยวกับการเตรียมการจัดหาพัสดุก่อนพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 ประกาศใช้ เพื่อให้หน่วยงานสามารถก่อหนี้ผูกพันและเบิกจ่ายเงินได้ทัน และเป็นไปตามนโยบายเร่งรัดการเบิกจ่ายเงินของรัฐบาล ให้เริ่มดำเนินกระบวนการจัดซื้อจัดจ้างตามระเบียบไว้ก่อนได้ แต่จะก่อหนี้ผูกพัน (ลงนามในสัญญา) ได้เมื่อพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 มีผลใช้บังคับ และสำนักงบประมาณได้จัดสรรงบประมาณให้แล้ว เมื่อสภาผู้แทนราษฎรได้พิจารณาอนุมัติร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 แล้ว เงื่อนไข : การจัดซื้อหรือจัดจ้างครั้งนี้จะมีการลงนามในสัญญาได้ต่อเมื่อพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 มีผลใช้บังคับ และได้รับจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 จากสำนักงบประมาณแล้ว และในกรณีที่ไม่ได้รับการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 จากสำนักงบประมาณเพื่อการจัดหาในครั้งดังกล่าว ส่วนราชการและหน่วยงานสามารถยกเลิกการจัดหาได้ (อนุมัติเป็นหลักการแบบนี้ทุกปี) ให้ถือว่าทราบยอดเงินแล้วโดยอนุโลม

  7. หัวหน้าส่วนราชการ จัดทำรายงานขอซื้อขอจ้าง ตามระเบียบฯ 35 ข้อ 27 เสนอหัวหน้าส่วนราชการ เจ้าหน้าที่พัสดุ ผ่านหัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ • กรณีนอกเหนือจากวิธีพิเศษและกรณีพิเศษ • หัวหน้าส่วนราชการ • ไม่เกิน 50ลบ. • ปลัดกระทรวง • เกิน 50 แต่ไม่เกิน 100 ลบ. • รมต.เจ้าสังกัด • - เกิน 100ลบ. ขออนุมัติสั่งซื้อ/สั่งจ้าง จากผู้มีอำนาจ ตามระเบียบฯ ข้อ 65 - 67 ดำเนินการจัดหาตามระเบียบฯ (6 วิธี)จนได้ตัวผู้ชนะราคา • กรณีวิธีพิเศษ • หัวหน้าส่วนราชการ • ไม่เกิน 25ลบ. • ปลัดกระทรวง • เกิน 25 แต่ไม่เกิน 50 ลบ. • รมต.เจ้าสังกัด • - เกิน 50ลบ. ควบคุมพัสดุ แจ้งผู้ชนะราคาให้มาทำสัญญา ตรวจรับพัสดุ/งานจ้าง วิธีกรณีพิเศษ หัวหน้าส่วนราชการสั่งซื้อหรือสั่งจ้างได้ไม่จำกัดวงเงิน

  8. รายงานขอซื้อหรือขอจ้าง (ข้อ 27) ** ก่อนการซื้อ – จ้างทุกวิธีต้องทำรายงานขอซื้อหรือขอจ้าง** หลักการ รายละเอียดของรายงาน - เหตุผลความจำเป็น - รายละเอียดของพัสดุ - ราคามาตรฐาน หรือราคากลาง หรือราคาครั้งหลังสุดไม่เกิน 2 ปี - วงเงินที่จะซื้อ/จ้าง - กำหนดเวลาที่ต้องใช้ - วิธีจะซื้อ/จ้าง • - ข้อเสนออื่นๆ * การแต่งตั้งคณะกรรมการต่าง ๆ * การออกประกาศสอบราคา หรือประกวดราคา

  9. คณะกรรมการในการซื้อ/จ้างคณะกรรมการในการซื้อ/จ้าง • คณะกรรมการเปิดซองสอบราคา (ห้ามเป็น คกก. ตรวจรับฯ) • คณะกรรมการรับ และเปิดซองประกวดราคา (ห้ามเป็น คกก.พิจารณาผลฯ) • คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา (ห้ามเป็น คกก. ตรวจรับฯ) • คณะกรรมการจัดซื้อโดยวิธีพิเศษ • คณะกรรมการจัดจ้างโดยวิธีพิเศษ • คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ • คณะกรรมการตรวจการจ้าง • คณะกรรมการกำหนดราคากลาง(มติคณะรัฐมนตรี)

  10. ผู้ที่เกี่ยวข้องในการจัดหาพัสดุผู้ที่เกี่ยวข้องในการจัดหาพัสดุ เจ้าหน้าที่พัสดุ - โดยตำแหน่ง - โดยแต่งตั้ง (ข้าราชการ,ลูกจ้างชั่วคราว, พนักงานราชการ, พนักงานของรัฐ) หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ - โดยตำแหน่ง - โดยแต่งตั้ง (ข้าราชการ) หัวหน้าส่วนราชการ - อธิบดี (ส่วนกลาง) - ผู้ว่าราชการจังหวัด (ภูมิภาค) ผู้มีอำนาจอนุมัติสั่งซื้อ-จ้าง - หัวหน้าส่วนราชการ - ปลัดกระทรวง - รัฐมนตรีเจ้าสังกัด คณะกรรมการต่าง ๆ /ผู้ควบคุมงาน

  11. องค์ประกอบของคณะกรรมการองค์ประกอบของคณะกรรมการ • ประธาน 1 คน • กรรมการอื่นอย่างน้อย 2 คน • แต่งตั้งจากข้าราชการ พนักงานราชการ พนักงานมหาวิทยาลัย หรือพนักงานของรัฐ ** ทั้งนี้ โดยคำนึงถึงลักษณะหน้าที่และความรับผิดชอบของผู้ที่ได้รับแต่งตั้งเป็นสำคัญ ** ในกรณีจำเป็นหรือเพื่อประโยชน์ของทางราชการ จะแต่งตั้งบุคคลอื่นอีกไม่เกิน 2 คน ร่วมเป็นกรรมการด้วยก็ได้ (ปรับปรุงตามระเบียบฯ ฉบับที่ 7 พ.ศ. (2552) )

  12. องค์ประกอบของคณะกรรมการ (ต่อ) • กวพ. อนุมัติให้ส่วนราชการสามารถแต่งตั้งลูกจ้างประจำของส่วนราชการเป็นกรรมการ ตามระเบียบฯ โดยการแต่งตั้งลูกจ้างประจำ จะต้องคำนึงถึงความรู้ ความสามารถ ลักษณะงาน • หน้าที่และความรับผิดชอบของผู้ที่ได้รับแต่งตั้งเป็นสำคัญ • (ตามหนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค (กวพ) 0421.3/ว 417 ลว. 22 ตค. 53) • ** การแต่งตั้งคณะกรรมการจะต้องแต่งตั้งเป็นครั้ง ๆ ไป • (ไม่จำเป็นต้องมีรูปแบบ)

  13. กรณี การซื้อ / จ้าง ไม่เกิน 10,000 บาท (ระเบียบฯ ข้อ 35 วรรคท้าย) ให้แต่งตั้งข้าราชการ / ลูกจ้างประจำคนหนึ่ง ซึ่งมิใช่ ผู้จัดซื้อหรือจัดจ้าง เป็นผู้ตรวจรับพัสดุหรืองานจ้างนั้น กวพ. อนุมัติผ่อนผันการแต่งตั้ง พนักงานราชการ พนักงาน มหาวิทยาลัย หรือพนักงานของรัฐ เป็นผู้ตรวจรับพัสดุหรืองานจ้าง (ตามหนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค (กวพ) 0421.3/ว 341 ลว. 20 กย. 53)

  14. การประชุมของคณะกรรมการการประชุมของคณะกรรมการ - ประธาน + กรรมการไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง และประธานจะต้องอยู่ด้วยทุกครั้ง องค์ประชุม - ถือเสียงข้างมาก - ถ้าเสียงเท่ากันให้ประธานออกเสียง เพิ่มอีก 1 เสียง มติกรรมการ ยกเว้น - คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ - คณะกรรมการตรวจการจ้าง - ต้องใช้มติเอกฉันท์

  15. การแบ่งซื้อแบ่งจ้าง การแบ่งซื้อ แบ่งจ้าง หมายถึง การลดวงเงินที่จะซื้อ หรือจ้างในครั้งเดียวกัน ออกเป็นหลายครั้ง โดยไม่มีเหตุผลความจำเป็น และมีเจตนาที่จะหลีกเลี่ยง 1) แบ่งวงเงิน ให้ลดลงเพื่อเปลี่ยนวิธีจัดหาพัสดุ 2) ให้ผู้มีอำนาจสั่งซื้อ สั่งจ้าง เปลี่ยนไป

  16. วงเงินที่ได้รับมาพร้อมกันหรือไม่วงเงินที่ได้รับมาพร้อมกันหรือไม่ พัสดุที่จะจัดหาเป็นประเภทเดียวกันหรือไม่ พิจารณาจากความต้องการของผู้ใช้ พัสดุว่าต้องการใช้พร้อมกันหรือไม่ แนวทางการพิจารณาเรื่องแบ่งซื้อแบ่งจ้าง

  17. การแบ่งซื้อแบ่งจ้าง การจัดซื้อพัสดุประเภทชนิดเดียวกัน แม้ต่างขนาดและราคา เมื่อมีการประมาณการความต้องการในการใช้งานของทั้งปีแล้ว จะต้องจัดซื้อรวมในครั้งเดียวกัน เว้นแต่มีเหตุผลที่ชัดเจนที่จำเป็นต้องแยกซื้อที่ไม่ใช่เป็นการแบ่งซื้อแบ่งจ้าง เพื่อประโยชน์ในการบริหารการพัสดุ จะต้องกำหนดเงื่อนไขในการดำเนินการจัดซื้อโดยใช้สัญญาจะซื้อจะขายแบบราคาคงที่ไม่จำกัดปริมาณ เพื่อออกใบสั่งซื้อเป็นคราว ๆ ให้สอดคล้องกับการใช้งานจริง

  18. การดำเนินการโดยวิธีตกลงราคาการดำเนินการโดยวิธีตกลงราคา 3 เจ้าหน้าที่ พัสดุ 4 ติดต่อ 1 เสนอราคา รายงาน (๒๗) 5 ใบสั่ง ผู้ขาย/ผู้รับจ้าง หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ ส่งของ/งาน 6 เห็นชอบ (๒๙) 2 คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ/ ตรวจการจ้าง ผู้ตรวจรับพัสดุ/ผู้ตรวจรับการจ้าง หัวหน้าส่วนราชการ

  19. ข้อยกเว้น ** การซื้อ/จ้าง โดยวิธีตกลงราคา วงเงินไม่เกิน 10,000 บาท และ วิธีพิเศษกรณีเร่งด่วนตาม 23 (2) หรือ 24 (3) ซึ่งไม่อาจทำรายงานตามปกติได้ จะทำรายงานขอซื้อหรือขอจ้างเฉพาะรายการที่เห็นว่าจำเป็นก็ได้ ** การซื้อ/จ้าง โดยวิธีตกลงราคาในกรณีจำเป็นและเร่งด่วน เกิดขึ้นโดยไม่ได้คาดหมายไว้ก่อน และไม่อาจดำเนินการตามปกติได้ทัน ตามข้อ 39 วรรคสอง ไม่ต้องรายงานขอซื้อหรือขอจ้าง แต่ต้องทำรายงานขอความเห็นชอบ

  20. ขั้นตอนวิธีการตกลงราคา (e-GP) (ในอนาคต) เชื่อมกับธนาคาร - ระบบเงินค้ำประกันอิเล็กทรอนิกส์ สัญญาลดรูป - สัญญาเต็มรูป ตามตัวอย่างที่ กวพ. กำหนด บริหารให้เป็นไปตามเงื่อนไขที่ระบุไว้ในสัญญา ซึ่งส่วนนี้จะเชื่อมกับระบบ GF

  21. วันประกาศห่างจากวันปิดรับซอง ไม่น้อยกว่า ๑๐ วัน เริ่มต้นรับซองนับตั้งแต่วันประกาศ วันปิดรับซอง จะต้องห่างจากวันเริ่มต้นรับซองไม่น้อยกว่า ๑๐ วัน ... ?... วัน คำนึงถึงตรวจฮั้ว วันประกาศ รับซองอย่างน้อย ๑๐ วัน วันรับซอง ปิดรับซอง เปิดซอง การดำเนินการโดยวิธีสอบราคา (๑) ข้อ 27 เจ้าหน้าที่พัสดุ หัวหน้าส่วนราชการ ข้อ 29 - ก่อนวันเปิดซองสอบราคาไม่น้อยกว่า 10 วัน / นานาชาติ ไม่น้อยกว่า 45 วัน - ส่งประกาศ + เอกสารสอบราคา ให้ผู้มีอาชีพขายหรือรับจ้างโดยตรง หรือทางไปรษณีย์ลงทะเบียนให้มากที่สุด - ปิดประกาศเผยแพร่ ณ ที่ทำการโดยเปิดเผย จัดทำประกาศ (ข้อ 40) เผยแพร่เอกสาร

  22. ระยะเวลาสอบราคา • ประกาศ / รับซอง ตรวจฮั้ว • อย่างน้อย 10 วัน เปิดซอง

  23. - ผู้เสนอราคาจะต้องผนึกซองจ่าหน้าถึง ประธานกรรมการ การยื่นซอง - ยื่นซองด้วยตนเอง / ทางไปรษณีย์ (กรณีที่กำหนดไว้) - เจ้าหน้าที่รับโดยไม่เปิดซอง การรับซอง - ระบุวันและเวลารับซอง - ส่งมอบซองให้แก่หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุทันที • หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุส่งให้ คกก.เปิดซองสอบราคาในวันเปิดซอง การเก็บรักษาซอง - หนังสือเวียน ด่วนมาก ที่ นร (กวพ) 1305/ว 7286 ลว. 20 ส.ค. 42 ให้ส่งมอบโดยพลัน หลังครบกำหนดรับซอง การดำเนินการโดยวิธีสอบราคา (๒)

  24. การดำเนินการโดยวิธีสอบราคา (๓) คณะกรรมการเปิดซองสอบราคา (ข้อ 42) ขั้นที่ 1ตรวจสอบผู้เสนอราคาที่มีผลประโยชน์ร่วมกัน + ประกาศชื่อผู้มีสิทธิได้รับการคัดเลือก ขั้นที่ 2 เปิดซองใบเสนอราคาเฉพาะผู้ไม่มีผลประโยชน์ร่วมกัน + อ่านแจ้งราคา บัญชีรายการเอกสารหลักฐาน + ลงชื่อกำกับ ตรวจสอบคุณสมบัติของผู้เสนอราคา ใบเสนอราคา แคตตาล็อกหรือแบบรูปรายการละเอียด แล้วคัดเลือกผู้เสนอราคาที่ถูกต้องตามเงื่อนไขในเอกสารสอบราคา

  25. การดำเนินการโดยวิธีสอบราคา (๓) ขั้นที่ 3คัดเลือกพัสดุหรืองานจ้างที่ผ่านขั้นตอนที่ 2 ที่มีคุณภาพและคุณสมบัติเป็นประโยชน์ต่อทางราชการ ** หนังสือ ที่ นร (กวพ) 0901/ว 48 ลว. 14 ก.ค. 29 การคัดเลือกคุณภาพและคุณสมบัติดังกล่าว มุ่งหมายถึง การพิจารณาจากเกณฑ์ในส่วนที่ ไม่สามารถกำหนดไว้เป็นเงื่อนไขในประกาศ ** ข้อสังเกต รายที่เลือกไม่ยอมเข้าทำสัญญา ให้พิจารณารายต่ำถัดไป ราคาเท่ากันหลายราย ให้ผู้ที่เสนอราคาดังกล่าวยื่นซองใหม่ ถูกต้องตามเอกสารสอบราคารายเดียว ให้ดำเนินการตามขั้นที่ 3 โดยอนุโลม ขั้นที่ 4เสนอให้ซื้อหรือจ้างจากรายที่คัดเลือกไว้แล้วซึ่งเสนอราคาต่ำสุด ขั้นที่ 5รายงานผลและความเห็น ต่อหัวหน้าส่วนราชการเพื่อสั่งการ

  26. การดำเนินการโดยวิธีสอบราคา (๔) กรณีเกินวงเงิน (ข้อ 43) • เรียกรายต่ำสุดมาต่อรองให้อยู่ในวงเงินหรือสูงกว่าไม่เกิน 10 % • ถ้าไม่ได้ผลให้เรียกทุกรายมายื่นซองใหม่ • ถ้าไม่ได้ผลอีก ให้เสนอความเห็นต่อหัวหน้าส่วนราชการเพื่อ • ** ขอลดรายการ ลดจำนวน หรือลดเนื้องาน • ** ขอเงินเพิ่มเติม • ** ยกเลิกการสอบราคา

  27. ขั้นตอนการประกวดราคา จัดทำรายงานขอซื้อ/จ้าง และแต่งตั้ง คณะกรรมการ (ข้อ ๒๗) จัดทำเอกสาร ประกวดราคา (ข้อ ๔๔) การประกาศเผยแพร่การประกวดราคา (ข้อ ๔๔, ๔๖) การขออนุมัติสั่งซื้อ/จ้าง (ข้อ ๖๕) การพิจารณาผลการประกวดราคา (ข้อ ๕๐) การรับและเปิดซอง (ข้อ ๔๙) การทำสัญญา (ข้อ ๑๓๒-๑๓๓) ตรวจรับ

  28. ข้อ 27 หัวหน้าส่วนราชการ เจ้าหน้าที่พัสดุ ข้อ 29 จัดทำเอกสาร (ข้อ 44) • ทำตามตัวอย่างที่ กวพ. กำหนด หรือ • ที่ผ่านการตรวจจาก สนง.อัยการสูงสุด • - แตกต่างหรือไม่รัดกุมส่ง • สนง.อัยการสูงสุดตรวจ การดำเนินการโดยวิธีประกวดราคา (1)

  29. การดำเนินการโดยวิธีประกวดราคา ประกาศ ไม่น้อยกว่า 7 วัน ทำการ • ไม่น้อยกว่า 7 วัน ทำการ ให้ขาย • ห้ามมีเงื่อนไขในการให้/ขาย คำนวณราคา ไม่น้อยกว่า 7 วัน ทำการ ห้ามร่นหรือเลื่อนวันรับซอง และเปิดซองประกวดราคา วันรับซองประกวดราคา

  30. การเผยแพร่ข่าวการประกวดราคาการเผยแพร่ข่าวการประกวดราคา ส่งไปรษณีย์ EMS • ให้จัดทำเป็นประกาศ • ส่งวิทยุและหนังสือพิมพ์ • ส่งกรมประชาสัมพันธ์ • ส่งองค์การสื่อสารมวลชน • ส่งศูนย์รวมข่าวประกวดราคา • ส่ง สตง. • ปิดประกาศ ณ ที่ ทำการ • ในตู้ปิดประกาศมีกุญแจปิด • มีผู้ปิดและผู้ปลดประกาศ ซึ่งมิใช่ คนเดียวกัน และมีพยานรับรองด้วย การดำเนินการโดยวิธีประกวดราคา (2) หากเห็นสมควรจะส่งประกาศไปยังผู้มีอาชีพขาย/รับจ้างก็ได้

  31. การดำเนินการโดยวิธีประกวดราคา คณะกรรมการรับและเปิดซองประกวดราคา- รับซองประกวดราคา ลงทะเบียนรับซอง ลงชื่อกำกับ- ตรวจหลักประกันซองร่วมกับเจ้าหน้าที่การเงิน กรณีหลักประกันซองเป็นหนังสือค้ำประกัน ส่งสำเนาให้ธนาคารผู้ออก- รับเอกสารตามบัญชีรายการ พร้อมพัสดุตัวอย่าง แคตตาล๊อก หรือแบบรูป และรายการละเอียด (ถ้ามี) หากไม่ถูกต้องให้บันทึกไว้ - พ้นกำหนดรับซอง ห้ามรับซองประกวดราคาหรือเอกสารหลักฐาน

  32. การดำเนินการโดยวิธีประกวดราคา • คณะกรรมการรับและเปิดซองประกวดราคา • - ส่งเอกสารส่วนที่ 1 ให้ คกก.พิจารณาผลการประกวดราคาเพื่อตรวจสอบผู้มีผลประโยชน์ร่วมกัน • เปิดซองใบเสนอราคาและอ่านแจ้งราคา พร้อมบัญชีรายการเอกสาร โดยเปิดเผย เฉพาะผู้ที่ผ่านการตรวจสอบผู้มีผลประโยชน์ร่วมกัน และลงลายมือชื่อกำกับเอกสารทุกฉบับ • - ส่งมอบใบเสนอราคาทั้งหมด และเอกสารหลักฐาน พร้อมรายงาน การดำเนินการให้คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา

  33. การดำเนินการโดยวิธีประกวดราคา คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา - ตรวจสอบคุณลักษณะเฉพาะ ยกเลิก/ดำเนินการต่อไป - คัดเลือกสิ่งของ/งานจ้าง - ถูกต้องรายเดียว (๔๑) - พิจารณาราคา เกณฑ์ปกติ ยกเลิก - ไม่มีผู้เสนอราคา หรือไม่ถูกต้องตาม spec (๕๒) - เท่ากันหลายราย - สูงกว่าวงเงิน รายต่ำสุด - ประกวดราคาใหม่ ไม่ได้ผลดี ยื่นซองใหม่ อนุโลมข้อ ๔๓ ใช้วิธีพิเศษ

  34. หากท่านต้องรับบท เป็นนักบินอวกาศ ในเรื่องนี้ ท่านจะรู้สึกอย่างไร ? เมื่อต้องใช้ยานอวกาศ ที่รัฐบาลจัดซื้อมาจาก บริษัทที่เสนอราคาต่ำสุด

  35. ปัญหาและแนวทางการปฏิบัติเกี่ยวกับการดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างโดยวิธีพิเศษปัญหาและแนวทางการปฏิบัติเกี่ยวกับการดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างโดยวิธีพิเศษ ผมผิดตรงไหน ทำไมใครๆ ก็โทษผม

  36. ขั้นตอนการจัดซื้อโดยวิธีพิเศษขั้นตอนการจัดซื้อโดยวิธีพิเศษ หัวหน้าส่วนราชการ เจ้าหน้าที่พัสดุ ๑. ทำรายงานขอซื้อเสนอหัวหน้าส่วนราชการเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบตามระเบียบฯ ข้อ ๒๗ พร้อมทั้งเสนอแต่งตั้ง “คณะกรรมการจัดซื้อโดยวิธีพิเศษ” ๒. หัวหน้าส่วนราชการให้ความเห็นชอบตามระเบียบฯ ข้อ ๒๙ และอนุมัติคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการจัดซื้อโดยวิธีพิเศษตามที่เจ้าหน้าที่พัสดุเสนอ ๓. แจ้งคำสั่ง ให้แก่ คณะกรรมการจัดซื้อโดยวิธีพิเศษเพื่อดำเนินการ จัดซื้อตามระเบียบข้อ ๒๓ และ ข้อ ๕๗ ๕. เสนอหัวหน้าส่วนราชการเพื่อพิจารณาสั่งการ ๔. รายงานผลการพิจารณาและความเห็น พร้อมด้วยเอกสารที่ได้รับไว้ทั้งหมดโดยเสนอ ผ่านหัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ ตามระเบียบข้อ ๕๗

  37. ขั้นตอนการจัดจ้างโดยวิธีพิเศษขั้นตอนการจัดจ้างโดยวิธีพิเศษ หัวหน้าส่วนราชการ เจ้าหน้าที่พัสดุ ๑. ทำรายงานขอซื้อเสนอหัวหน้าส่วนราชการเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบตามระเบียบฯ ข้อ ๒๗ พร้อมทั้งเสนอแต่งตั้ง “คณะกรรมการจัดจ้างโดยวิธีพิเศษ” ๒. หัวหน้าส่วนราชการให้ความเห็นชอบตามระเบียบฯ ข้อ ๒๙ และอนุมัติคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการจัดจ้างโดยวิธีพิเศษตามที่เจ้าหน้าที่พัสดุเสนอ ๓. แจ้งคำสั่ง ให้แก่ คณะกรรมการจัดจ้างโดยวิธีพิเศษเพื่อดำเนินการ จัดจ้างตามระเบียบข้อ ๒๔ และ ข้อ ๕๘ ๕. เสนอหัวหน้าส่วนราชการเพื่อพิจารณาสั่งการ ๔. รายงานผลการพิจารณาและความเห็น พร้อมด้วยเอกสารที่ได้รับไว้ทั้งหมดโดยเสนอ ผ่านหัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ ตามระเบียบข้อ ๕๘

  38. การซื้อ/จ้าง โดยวิธีพิเศษ จำเป็นต้องมีเหตุผลประกอบทุกครั้งหรือไม่ ? ในการจัดซื้อโดยวิธีพิเศษ ผู้ดำเนินการจัดหาและเจ้าหน้าที่พัสดุจะต้องระบุเหตุผลและความจำเป็นที่ต้องซื้อ รายละเอียดของพัสดุที่จะซื้อและเหตุผลความจำเป็นที่จะต้องซื้อโดยวิธีพิเศษ เสนอต่อหัวหน้าส่วนราชการ เพื่อให้ความเห็นชอบ ให้การจัดซื้อโดยวิธีพิเศษ ตามระเบียบฯ ข้อ ๒๗ ให้ชัดเจน หนังสือสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ นร (กวพ) ๑๓๐๕/ว ๑๑๗๐ ลงวันที่ ๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๓

  39. เงื่อนไข (ข้อ ๒๓) วิธีการ (ข้อ ๕๗) การดำเนินการจัดซื้อโดยวิธีพิเศษ (๑) จะขายทอดตลาด (๑) เจรจาตกลงราคา (๒) เชิญผู้มีอาชีพขายมาเสนอราคาและต่อรอง (๒) เร่งด่วนช้าเสียหาย (๓) เชิญผู้มีอาชีพขายมาเสนอราคาและต่อรอง (๓) ราชการลับ (๔) ซื้อเพิ่ม (Repeat Order) (๔) เจรจาผู้ขายรายเดิม เงื่อนไขเดิม ราคาเดิมหรือดีกว่า

  40. เงื่อนไข (ข้อ ๒๓) วิธีการ (ข้อ ๕๗) การดำเนินการซื้อโดยวิธีพิเศษ (๕) ซื้อจากต่างประเทศ (๕) สั่งตรงโดยให้หน่วยงานอื่นในต่างประเทศสืบราคาให้ (๖) จำเป็นต้องระบุยี่ห้อ (๖) เชิญผู้ผลิต/ผู้แทนจำหน่ายมาเสนอราคาและต่อรอง (๗) ซื้อที่ดินและสิ่งก่อสร้างเฉพาะ (๗) เชิญเจ้าของมาตกลงราคา (๘) ดำเนินงานโดยวิธีอื่นแล้ว ไม่ได้ผลดี (๘) สืบราคาจากผู้มีอาชีพขายและผู้เสนอราคาที่ถูกยกเลิกไป (ถ้ามี) ต่อรองราคา

  41. หนังสือสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ นร (กวพ) ๑๒๐๔/๖๙๓๒ ลงวันที่ ๑๔ กรกฎาคม ๒๕๓๗ ระเบียบฯ พ.ศ. ๒๕๓๕ ข้อ ๒๓(๖) กำหนดให้การซื้อโดยวิธีพิเศษ กรณีเป็นพัสดุที่โดยลักษณะของการใช้งานหรือมีข้อจำกัดทางเทคนิคที่จำเป็นต้องระบุยี่ห้อเป็นการเฉพาะ ให้หมายความรวมถึงกรณีที่ส่วนราชการมีความจำเป็นจะต้องซื้อพัสดุที่มีผู้จัดทำหรือผู้ผลิตรายใดรายหนึ่งโดยเฉพาะด้วย โดยให้ส่วนราชการสามารถดำเนินการจัดซื้อโดยวิธีพิเศษได้โดยตรง

  42. ในขั้นตอนการดำเนินการจัดซื้อโดยวิธีพิเศษ ตามระเบียบฯ ข้อ ๕๗ (๖) กรณีมีความจำเป็นต้องระบุยี่ห้อ หากมีผู้ผลิตหรือผู้แทนจำหน่ายพัสดุดังกล่าวจำนวนหลายรายให้คณะกรรมการจัดซื้อโดยวิธีพิเศษเชิญผู้ผลิตหรือผู้แทนจำหน่ายเข้าร่วมการแข่งขันราคาให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ หนังสือสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ นร (กวพ)1305/ว 1170 ลว17 ก.พ. 2543

  43. รายงาน ข้อ ๒๗ หัวหน้าส่วนราชการ เจ้าหน้าที่พัสดุ ให้ความเห็นชอบ ๒๙ เงื่อนไข (ข้อ ๒๔) วงเงินเกิน 1 แสนบาท วิธีการ (ข้อ ๕๘) (๑) เชิญผู้มีอาชีพโดยตรงมาเสนอราคา (๑) กรณีเป็นงานที่ต้องใช้ช่างฝีมือโดย เฉพาะหรือชำนาญโดยพิเศษ (๒) เชิญผู้มีอาชีพโดยตรงมาเสนอราคา (๒) กรณีเป็นงานจ้างซ่อมที่จำเป็นต้อง ถอดตรวจให้ทราบความชำรุดเสียหายก่อน จึงจะประมาณค่าซ่อมได้ (๓) เชิญผู้มีอาชีพโดยตรงมาเสนอราคา (๓) เป็นงานที่ต้องกระทำโดยเร่งด่วน การดำเนินการจ้างโดยวิธีพิเศษ

  44. การดำเนินการจ้างโดยวิธีพิเศษ (๔) ราชการลับ (๔) เชิญผู้มีอาชีพโดยตรงมาเสนอราคา (๕) เจรจากับผู้รับจ้างรายเดิม ราคาต่ำกว่าหรือราคาเดิม (๕) จ้างเพิ่ม (Repeat Order) (๖) สืบราคาจากผู้มีอาชีพรับจ้างและผู้เสนอราคาที่ถูกยกเลิกไป (ถ้ามี) ต่อรองราคา (๖) ดำเนินการโดยวิธีอื่นไม่ได้ผลดี

  45. กวพ. ได้มีหนังสือสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ นร (กวพ) ๑๓๐๕/ว ๘๑๘๖ ลงวันที่ ๓๑ สิงหาคม ๒๕๔๓ ซักซ้อมความเข้าใจเกี่ยวกับการเช่าและการจ้างเหมาบริการที่มีความจำเป็นต่อเนื่องว่า กรณีที่มีเหตุผลความจำเป็น ที่จะต้องเช่าพัสดุจากผู้ให้เช่ารายเดิม หรือจ้างผู้ให้บริการรายเดิมต่อเนื่อง เพื่อประโยชน์แก่ทางราชการ ให้ถือว่าอยู่ในหลักเกณฑ์ที่หัวหน้าส่วนราชการจะใช้ดุลยพินิจพิจารณา จัดจ้างหรือจัดเช่าโดยวิธีพิเศษ ตามระเบียบฯ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ ๕๗ (๔) repeat order หรือข้อ ๕๘ (๒) repeat order แล้วแต่กรณี โดยอนุโลมได้

  46. มาตรการให้ความช่วยเหลือ ฟื้นฟูและพัฒนาเศรษฐกิจในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจแจ้งตามหนังสือคณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ ด่วนที่สุด ที่ กค (กวพ) ๐๔๒๑.๓/ว ๑๖๘ ลงวันที่ ๑๙ พ.ค. ๒๕๕๔ ครม. มีมติเมื่อวันที่ ๒๖ พ.ค. ๒๕๕๒ เห็นชอบขยายระยะเวลาให้ความช่วยเหลือฯ โดยขยายเวลาตามมติคณะรัฐมนตรีออกไปอีก ๒ ปี (ขยายถึงวันที่ ๒๒ พ.ค. ๒๕๕๖) การจัดซื้อวงเงินเกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท แต่ไม่เกิน ๑๕,๐๐๐,๐๐๐ บาท การจัดจ้างวงเงินเกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท แต่ไม่เกิน ๓๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท ให้สามารถจัดซื้อจัดจ้างโดยวิธีพิเศษ ได้โดยอนุโลม ยะละปัตตานี นราธิวาส สตูล สงขลา (อำเภอจะนะ อำเภอเทพา อำเภอนาทวี อำเภอสะบ้าย้อย)

  47. (ข้อ27) จนท.พัสดุ หัวหน้าส่วนราชการ (ข้อ29) - วงเงินเกิน 100,000 บาท หส.ราชการเป็นผู้สั่งซื้อหรือจ้าง - วงเงินไม่เกิน 100,000 บาท เป็นอำนาจ หัวหน้า จนท.พัสดุ ติดต่อตกลงราคา กับผู้ขายหรือผู้รับจ้าง เงื่อนไข : ส่วนราชการ /รัฐวิสาหกิจหน่วยงานตามกฎหมายท้องถิ่น หรือหน่ายงานอื่น 1. เป็นผู้ทำ/ผลิตเองและนายกรัฐมนตรีอนุมัติ ให้ซื้อหรือจ้าง 2. มีกฎหมาย/มติคณะรัฐมนตรี กำหนดให้ซื้อ/จ้าง การดำเนินการซื้อและการจ้างโดยวิธีกรณีพิเศษ

  48. สรุปขั้นตอนการจัดซื้อ/จัดจ้าง โดยวิธีกรณีพิเศษ ๑. ขออนุมัติดำเนินการจัดซื้อ/ จัดจ้าง โดยวิธีกรณีพิเศษ และแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ/ตรวจงานจ้าง ๒. ติดต่อตกลงราคากับผู้ขายหรือผู้รับจ้าง ๔. ส่งมอบพัสดุ/ส่งมอบงาน ๓. จัดทำใบสั่งซื้อหรือสัญญาซื้อขาย/ใบสั่งจ้างหรือสัญญาจ้าง ๕. ตรวจรับพัสดุ/ตรวจการจ้าง

  49. www.gprocurement.go.th

More Related