1.31k likes | 4.44k Vues
ระบบยา โรงพยาบาลทรายมูล. คณะกรรมการเภสัชกรรมและบำบัด. ประกอบด้วย. 1. นพ. ปกา สิต โอวาทกานนท์ (ประธานทีม). 2. แพทย์. 3. ทันตแพทย์. พยาบาล. 4. 5. นักเทคนิคการแพทย์. 6. เภสัชกร (เลขานุการ). นโยบายทีม PTC.
E N D
ระบบยาโรงพยาบาลทรายมูลระบบยาโรงพยาบาลทรายมูล
คณะกรรมการเภสัชกรรมและบำบัดคณะกรรมการเภสัชกรรมและบำบัด • ประกอบด้วย 1 นพ.ปกาสิต โอวาทกานนท์ (ประธานทีม) 2 แพทย์ 3 ทันตแพทย์ พยาบาล 4 5 นักเทคนิคการแพทย์ 6 เภสัชกร (เลขานุการ)
นโยบายทีม PTC • จัดหาและสนับสนุนยาที่มีคุณภาพให้เพียงพอรวมทั้งประกันคุณภาพเกี่ยวกับการเก็บรักษา การกระจายยาการบริหารยา, การใช้ยา, และการควบคุมยา • ประเมินประสิทธิภาพความปลอดภัยของการใช้ยาและติดตามประเมินผลในการบริหารยาในโรงพยาบาลให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด
นโยบายทีม PTC (ต่อ) 3. ไม่มียาและเวชภัณฑ์ที่หมดอายุในโรงพยาบาล 4. ให้ข้อมูลข่าวสารด้านยาและการใช้ยาที่ถูกต้องเหมาะสมและทันสมัยแก่บุคลากรทางการแพทย์
บทบาทหน้าที่ วางระบบบริหาร ระบบบริการยาของโรงพยาบาลเพื่อให้เกิด ความปลอดภัยแก่ผู้รับบริการ โดย จัดให้มีเภสัชตำรับหรือรายการยาที่เพียงพอและเหมาะสม ปรับปรุงบัญชีรายการยาและเวชภัณฑ์ของโรงพยาบาลให้ทันสมัย ส่งเสริมให้มีการใช้ยาในโรงพยาบาลอย่างสมเหตุสมผล กำหนดแนวทางปฏิบัติเพื่อให้เกิดการใช้ยาอย่างมีประสิทธิภาพและปลอดภัย
บทบาทหน้าที่ (ต่อ) 5.เฝ้าระวังความคลาดเคลื่อนทางยาอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง 6. ติดตามและประเมินการเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากผลิตภัณฑ์สุขภาพ 7. ส่งเสริมและให้ความรู้ด้านยาแก่บุคลากรทางการแพทย์และผู้มารับบริการ
โรงพยาบาลมียาที่มีคุณภาพพร้อมใช้ ผู้รับบริการมีความปลอดภัย จากการใช้ยา
การดำเนินงาน • ความคลาดเคลื่อนด้านยา • ระบบเฝ้าระวังAdverse Product Reaction (APR) • High Alert Drug • Drug Interaction • อื่นๆ
ความคลาดเคลื่อนด้านยาความคลาดเคลื่อนด้านยา
ความคลาดเคลื่อนด้านยาผู้ป่วยนอกความคลาดเคลื่อนด้านยาผู้ป่วยนอก หมายเหตุ : ข้อมูลปี 2557 เก็บข้อมูลตั้งแต่ ต.ค. 56 – เม.ย.57
ความคลาดเคลื่อนด้านยาผู้ป่วยในความคลาดเคลื่อนด้านยาผู้ป่วยใน หมายเหตุ : ข้อมูลปี 2557 เก็บข้อมูลตั้งแต่ ต.ค. 56 – เม.ย.57
จำนวนอุบัติการณ์แยกตามระดับความรุนแรงจำนวนอุบัติการณ์แยกตามระดับความรุนแรง ข้อมูลปี 57 ใช้ข้อมูลเดือน ต.ค. 56 – เม.ย.57
อุบัติการณ์ระดับ D • เกิด dispensing error • เช่น ผู้ป่วยไม่ได้รับยาจากคลินิกหอบหืด เนื่องจากเข้ารับบริการ 2 จุด • จ่ายยาผิดชนิดยา • Administration error • Order Tienam 1 g IV q 8 hr บริหารให้ผู้ป่วย 500 mg IV q 8 hr • อุบัติการณ์ระดับ E • ผู้ป่วยไม่ได้ทานยาต้านขณะมานอนรักษาตัวที่ รพ.
Pre-dispensing error (ต่อ) แนวทางแก้ไข • ประชุมเจ้าหน้าที่ห้องยาเพื่อรับทราบปัญหาและหาแนวทางแก้ไขร่วมกัน • จัดวางยาที่มีลักษณะทางกายภาพคล้ายกันห่างกัน • ทบทวนยาที่จัดกับใบสั่งยาและเซ็นชื่อผู้จัดยาในใบสั่งยา • กรณีไม่แน่ใจให้ถามเภสัชกรทุกครั้ง
Pre-dispensing error (ต่อ) แนวทางแก้ไข (ต่อ) • เมื่อเภสัชกรพบความคลาดเคลื่อนทางยา feed back กลับไปที่ผู้จัดยาทันที • ยาที่มีการแบ่งบรรจุให้ติดสติ๊กเกอร์ ชื่อยา ความแรง จำนวนและวันหมดอายุ • วางระบบเฝ้าระวังยาความเสี่ยงสูงที่อาจก่อให้เกิดอันตรายถึงชีวิต เช่น มีการแยกเก็บ มีป้ายแสดงชัดเจน มีการติดสติ๊กเกอร์สีแดงระบุข้อความยาความเสี่ยงสูง ตั้งแต่กระบวนการรับยาเข้าสู่คลังยาจนกระทั่งการจ่ายยา
Dispensing error (ต่อ) แนวทางแก้ไข • ระบุตัวผู้ป่วยโดยถามชื่อ-สกุลซ้ำอีกครั้งก่อนจ่ายยา • ตรวจสอบความถูกต้องของยาที่จัดกับใบสั่งยาและฉลากยา • จัดให้มีระบบ Double check ก่อนจ่ายยา • ถามประวัติแพ้ยา โดยเฉพาะยา Antibiotic
Administrationerror (ต่อ) แนวทางแก้ไข • ประชุมผู้เกี่ยวข้อง • ยกเลิก card ยา ใช้ Medication Note แทนและเซ็นชื่อกำกับเมื่อให้ยาผู้ป่วย • มีระบบ double check ก่อนการให้ยา • มีการแยกเก็บและติดสติ๊กเกอร์แสดงยาความเสี่ยงสูงชัดเจน • มีการบันทึกการให้ยาในกลุ่มยาความเสี่ยงสูงและยาเสพติดพร้อมเซ็นชื่อผู้ให้ยา • ลดปริมาณยาสำรองบนหอผู้ป่วย • เภสัชกร check การให้ยาในรถเข็นยาเพื่อค้นหาและป้องกัน (Administration error)
ความคลาดเคลื่อนด้านยาความคลาดเคลื่อนด้านยา วางระบบการจัดการ Medication error • ปรับระบบกระจายยาบนหอผู้ป่วย • กระตุ้นการรายงาน Medication error จากทุกจุดที่เกี่ยวข้องกับยาโดยไม่มีการตำหนิหรือลงโทษ • สรุปความคลาดเคลื่อนที่เกิดขึ้นทุกเดือน • จัดการประชุมเพื่อหาแนวทางแก้ไขร่วมกัน
ความคลาดเคลื่อนด้านยาความคลาดเคลื่อนด้านยา ปรับระบบการกระจายยา การปรับระบบการกระจายยา พยาบาลนำ Copy order มาให้ห้องยา เภสัชกรเข้าไปรับ orderใน ward พยาบาลคัดลอกคำสั่งแพทย์
ปรับระบบการกระจายยา (ต่อ) ลดขั้นตอนในการถ่ายทอดคำสั่งการใช้ยาของแพทย์ ลดความเสี่ยงของความคลาดเคลื่อนจากการคัดลอกคำสั่งแพทย์ระบบเดิม มีระบบตรวจสอบภายในหน่วยงานและระหว่างหน่วยงาน ลดจำนวนและปริมาณยาค้างใน ward
รายการยา 10 อันดับที่พบ ADR ข้อมูลปี 55 -57 (ต.ค. 56 – เม.ย.57)
ADR ที่พบ ข้อมูลปี 55 -57 (ต.ค. 56 – เม.ย.57)
ระบบเฝ้าระวังการเกิด APR • ติดป้าย ท่านแพ้ยาอะไรกรุณาบอกด้วย ทุกจุดบริการ • พยาบาลซักประวัติ โดยใช้คำถาม ท่านเคยแพ้ยาหรือไม่ • ก่อนจ่ายยาเภสัชกรซักถามประวัติแพ้ยาโดยใช้คำถามหลัก ท่านเคยแพ้ยาหรือไม่ โดยเฉพาะเมื่อแพทย์สั่งยา Antibotics
ระบบเฝ้าระวังการเกิด APR (ต่อ) • สงสัยแพ้ยา แจ้งเภสัชกร เพื่อประเมินการแพ้ยา • เภสัชกรconsult กลับไปที่แพทย์/ทันตแพทย์ • ออกบัตรแพ้ยาให้ผู้ป่วยติดสติ๊กเกอร์แพ้ยาที่ OPD card • ลงบันทึกประวัติแพ้ยาในคอมพิวเตอร์ แจ้งเตือนเมื่อแพทย์สั่งยา • สำหรับยาที่ ERจ่ายนอกเวลาและที่ฝ่ายทันตกรรมจ่ายให้ผู้ป่วยเอง โดยเฉพาะยา Antibiotics และ NSAIDs ซึ่งพบอุบัติการณ์แพ้ยาบ่อยจะแนบเอกสารอาการแพ้ยาในซองยา • เขียนแนวทาง ประชุมเครือข่ายทรายมูล
การเชื่อมต่อข้อมูลแพ้ยาในCUP ทรายมูล
High Alert Drugs (ต่อ) • ปี 2555-2556 การติดตาม ติดตามเฉพาะยา KCl inj. และ Dopamine • KClinj ปัญหาที่พบคือ • ช่วงแรกยังไม่บันทึกลงในใบติดตาม----> แจ้งพยาบาลอีกครั้ง • ขาดการติดตาม EKG และ K+ ----> จัดประชุม และมีการปรับปรุงใบติดตาม
High Alert Drugs (ต่อ) • Dopamine ปัญหาที่พบคือ • ช่วงแรกยังไม่บันทึกลงในใบติดตาม----> แจ้งพยาบาลอีกครั้ง • มีการสั่งใช้ยาไม่เหมาะสม 2 ราย ----> จัดประชุม แจ้งแพทย์ให้ทราบ • การผสมยายังไม่เป็นแบบเดียวกัน ----> แจ้งพยาบาลให้ทำตามแนวปฏิบัติเดียวกัน
High Alert Drugs (ต่อ) • ปี 2557 มีการปรับปรุงบัญชียาความเสี่ยงสูงและจัดทำใบติดตามยาความเสี่ยงสูงทุกรายการ
High Alert Drugs จัดวางมาตรฐานการปฏิบัติสำหรับยาHigh Alert Drugs จัดทำคู่มือแนวทางการปฏิบัติเกี่ยวกับ High Alert Drugs เฝ้าระวังตั้งแต่กระบวนการรับยาเข้าคลังยามีการแยกเก็บและมีป้ายแสดงชัดเจน การเบิก-จ่ายติดสติ๊กเกอร์สีแดงข้อความยาความเสี่ยงสูง แพทย์สั่งใช้ยาด้วย Generic name ความแรงDiluentและ rate การให้ชัดเจน
High Alert Drugs (ต่อ) • การจ่ายยามีใบ Monitor เพื่อใช้ Monitoring อาการผู้ป่วยแนบไปด้วยพร้อมติดสติ๊กเกอร์ยาความเสี่ยงสูงที่ซองยา • การให้ยาพยาบาลมีการทบทวนตรวจสอบก่อนการให้ยาและบันทึกการ Monitor อาการของผู้ป่วยใน nurse note • เมื่อเกิดอาการไม่พึงประสงค์แจ้งแพทย์ทันที
Drug Interaction เฝ้าระวังการเกิด Drug Interaction • กำหนดรายการยาที่เกิด Drug Interaction ที่ควรเฝ้าระวังและการ Management • มีระบบคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการตรวจสอบคู่ยาที่เกิด Drug Interaction ซึ่งจะแจ้งเตือนเมื่อมีการสั่งใช้ร่วมกัน
การดำเนินงาน • กำหนดแนวทางปฏิบัติ (Work in) เช่น • ยา Stat dose • ยาเดิมผู้ป่วย (Drug Reconciliation) • การปรับปรุงแก้ไขกรอบบัญชียาโรงพยาบาล • กำหนดยาที่ใช้ในหญิงตั้งครรภ์ และ หญิงให้นมบุตร • แนวทางการควบคุมอุณหภูมิตู้เย็น • แนวทางการควบคุมการกระจายยาบนหอผู้ป่วย
ควบคุมความชื้นสัมพัทธ์และอุณหภูมิที่คลังยาควบคุมความชื้นสัมพัทธ์และอุณหภูมิที่คลังยา ควบคุมอุณหภูมิตู้เย็น