1 / 33

ระบบรับและนำเงินส่งคลัง

ระบบรับและนำเงินส่งคลัง. (สำหรับ Excel Loader). 1. การรับและนำเงินส่งคลัง. 2. 3. บันทึกข้อมูลเข้าระบบ GFMIS. RP : Receipt Process ระบบการรับและนำส่งเงิน. กระบวนการรับเงิน. ระบบ GFMIS. กองคลัง. 1. จัดเก็บเงิน 2 . ออกใบเสร็จรับเงิน. นส. 01 นส. 03. กระบวนการนำส่ง.

Télécharger la présentation

ระบบรับและนำเงินส่งคลัง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ระบบรับและนำเงินส่งคลังระบบรับและนำเงินส่งคลัง (สำหรับ Excel Loader)

  2. 1. การรับและนำเงินส่งคลัง 2

  3. 3.บันทึกข้อมูลเข้าระบบ GFMIS RP: Receipt Process ระบบการรับและนำส่งเงิน กระบวนการรับเงิน ระบบ GFMIS กองคลัง 1. จัดเก็บเงิน 2. ออกใบเสร็จรับเงิน นส. 01 นส. 03 กระบวนการนำส่ง ธนาคารกรุงไทย กองคลัง 1. นำส่งเงิน + Pay-in 2. บันทึกข้อมูลการนำส่งเงิน 3. ส่งข้อมูลการรับเงิน (Statement) เข้าสู่ระบบ GFMIS ระบบ GFMIS นส. 02-1 นส. 02-2 4. กระทบยอดตัวเงินที่นำส่ง(Statement) กับ ข้อมูลการนำส่ง (ที่ สรก. บันทึก) 3

  4. เอกสารในการปฏิบัติงานเอกสารในการปฏิบัติงาน นส 01 ใบรับเงินของหน่วยงาน(ตนเอง) (รับรู้การจัดเก็บรายได้แผ่นดินและรายได้เงินนอกของตนเอง) นส02-1 ใบนำส่งเงิน (บันทึกการนำส่งเงินรายได้แผ่นดิน และ เบิกเกินส่งคืนเงินงบประมาณ นส02-2 รายได้เงินนอกฝากคลัง ทั้งของตนเอง/นำส่งแทน และ การนำส่งเงินเบิกเกินส่งคืนเงินนอกงบประมาณ นส03 ใบรับเงินรายได้แทนกัน (รับรู้การจัดเก็บรายได้แผ่นดิน และเงินนอกงบประมาณที่จัดเก็บแทนหน่วยงานอื่น) ใบนำฝากเงินของส่วนราชการ Pay-In Slip ใช้นำส่งเงินที่ธนาคาร

  5. ตัวอย่าง 5

  6. ตัวอย่าง 6

  7. 1,200.78

  8. ประเภทเอกสารรับและนำส่ง(R = รับ) - RA รับรายได้แผ่นดิน (นส 01) R1 นำส่งรายได้แผ่นดิน (นส 02-1) - RBรับรายได้นอกงบประมาณ (นส 01) R2 นำส่งรายได้นอกงบประมาณ (นส 02-2) RX post บัญชีเงินฝาก(โดยคลัง) - RC รับรายได้แผ่นดินแทนฯ (นส 03) R3 นำส่งรายได้แผ่นดินแทนฯ (นส 02-2) - RD รับรายได้นอกงป.แทนฯ (นส 03) R4 นำส่งรายได้นอกงบประมาณแทนฯ (นส 02-2) RY post บัญชีเงินฝาก(โดย บก.) - R6 เบิกเกินส่งคืนเงินงป. (นส 02-1) - R7 เบิกเกินส่งคืนเงินนอก (นส 02-2)

  9. ความสัมพันธ์ระหว่างแบบฟอร์มกับประเภทเอกสารความสัมพันธ์ระหว่างแบบฟอร์มกับประเภทเอกสาร เบิกเกินส่งคืน รายได้แผ่นดิน เงินฝากคลัง กระบวนงานจัดเก็บรายได้ นส.01 - ตนเอง (ผ่าน) RA RB นส.03 - แทนสรก. อื่น (พัก) RC RD กระบวนงานนำส่งเงิน R1 นส.02-1 ตนเอง (ผ่าน) R6 เบิกเกินส่งคืนเงินในตนเอง R2  RX นส.02-2 เงินฝากคลัง-ตนเอง (พัก) R3 R4  RY นำส่งแทนสรก. อื่น (พัก) R7 RX ส่งคืนเงินนอกฝากคลัง R7 RX 9

  10. หน่วยงานต้องบันทึกข้อมูลประเภทรายได้ (3หลัก) ซึ่งระบบได้ผูกความสัมพันธ์ระหว่าง บันทึกข้อมูลการรับเงิน บัญชีแยกประเภท ประเภทรายได้ แหล่งของเงิน เช่น รายได้ที่ไม่ใช่ภาษีอื่น 5219400 4206010199 830 หน่วยงานสามารถตรวจสอบรหัสที่สัมพันธ์กันได้จากหนังสือกรมบัญชีกลางด่วนที่สุด ที่ กค 0409.2/ว 74ลงวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2551เรื่อง การปฏิบัติเกี่ยวกับระบบรับและนำเงินส่งคลังในระบบ GFMIS หรือ เรียกจากเครื่อง GFMIS Terminal คำสั่งงาน ดังนี้ - คำสั่งงาน “ZRP_T02” ใช้เรียกดูรหัสบัญชีแยกประเภท และรหัสรายได้ที่สัมพันธ์กัน - คำสั่งงาน “ZRP_T01” ใช้เรียกดูรหัสรายได้ และรหัสแหล่งของเงินที่สัมพันธ์กัน 10

  11. ตารางรหัสรายได้

  12. แหล่งของเงินรายได้แผ่นดินแหล่งของเงินรายได้แผ่นดิน xx19100 เกี่ยวกับภาษี xx= ปีงปม ปี งปม. 2552 5219100 5219200 5219300 5219400 xx19200 ขายสินค้าบริการ xx19300 รัฐพาณิชย์ xx19400 รายได้อื่น xx19500 เงินกู้

  13. 5219400

  14. 830 5219400

  15. 2000600018 A006 2000600018 A006 920 2111020199 2112010199 เงินรับฝากอื่น เงินประกันอื่น 5226000

  16. 2000600018 A006 2000600018 A006 920 2000600018 5226000 2000600018 10920

  17. การกระทบยอดข้อมูลการนำส่งเงินการกระทบยอดข้อมูลการนำส่งเงิน • เมื่อหน่วยงานนำส่งเงินที่ธนาคารกรุงไทยฯ และบันทึกข้อมูลการนำส่งเข้าสู่ระบบเรียบร้อยแล้ว ระบบจะทำการกระทบยอดรายการบัญชี “พักเงินนำส่ง” (1101010112) ให้อัตโนมัติ ในทุก ๆ สิ้นวัน 18

  18. รายการที่ระบบใช้กระทบยอดบัญชีพักเงินนำส่งรายการที่ระบบใช้กระทบยอดบัญชีพักเงินนำส่ง • 1. จำนวนเงิน • 2. วันที่คิดมูลค่า (วันที่ตามใบรับเงินของธนาคาร) • 3. ศูนย์ต้นทุนของผู้นำส่ง • 4. เลขที่อ้างอิง (เลขที่ 16 หลักที่ได้รับจากธนาคาร) • 5. ประเภทเงินที่นำส่งใน Payin ต้องสัมพันธ์ กับแหล่งของเงินในเอกสารนำส่ง • หน่วยงานต้องบันทึกข้อมูลการนำส่งโดยระบุ 5 รายการข้างต้น ให้ • ครบถ้วนถูกต้อง และตรงกับใบรับเงินที่ได้รับจากธนาคาร (Bank Statement) ที่ส่งเข้าระบบ GFMIS (เอกสารประเภท CJ) 19

  19. การกระทบยอดข้อมูลการนำส่งเงินการกระทบยอดข้อมูลการนำส่งเงิน • กรณีที่บันทึกรายการนำส่งเงิน (นส.02-1 หรือนส. 02-2) ไม่ครบถ้วน/ไม่บันทึก บัญชีพักเงินนำส่งจะมียอดคงค้างด้านเครดิตและ บัญชีพักเงินนำส่งมีสถานะเป็นรายการคงค้าง • กรณีที่บันทึกข้อมูลการนำส่งเงิน (นส.02-1 หรือนส. 02-2) ไม่สอดคล้องกับข้อมูล Statement จากธนาคาร ระบบจะไม่กระทบยอดรายการนำส่งดังกล่าว บัญชีพักเงินนำส่ง จะมีสถานะเป็นรายการคงค้างในระบบ 20

  20. สาเหตุที่ระบบไม่สามารถกระทบยอดบัญชีพักเงินนำส่งได้สาเหตุที่ระบบไม่สามารถกระทบยอดบัญชีพักเงินนำส่งได้ 1. กรณีเอกสาร CJ ไม่ถูกต้อง 1.1 เกิดจากหน่วยงานใช้ใบนำฝากเงินผิดศูนย์ต้นทุน ทำให้รหัสศูนย์ต้นทุน ในเอกสาร CJ คลาดเคลื่อน (ไม่ปรากฏเอกสาร CJ ที่ศูนย์ต้นทุนตนเอง) ทำหนังสือแจ้งข้อคลาดเคลื่อน ให้กรมบัญชีกลางปรับปรุงรายการให้ 1.2 เกิดจากหน่วยงาน/ธนาคาร ระบุประเภทเงินที่นำส่งไม่ถูกต้อง ทำให้ รหัสแหล่งของเงินในเอกสาร CJ คลาดเคลื่อน พบข้อคลาดเคลื่อนภายในวันที่นำส่งเงิน ให้แจ้งธนาคารฯ ปรับปรุงรายการให้ พบข้อคลาดเคลื่อนภายหลังวันที่นำส่งเงิน ให้ทำหนังสือแจ้งข้อคลาดเคลื่อน พร้อมส่งสำเนา Pay-in Slip ให้กรมบัญชีกลาง สำนักบริหารการรับจ่ายเงินภาครัฐ ปรับปรุงรายการให้ ซึ่งหลังจากปรับปรุงรายการแล้ว ประเภทเอกสารจะเปลี่ยนเป็น CN 21

  21. สาเหตุที่ระบบไม่สามารถกระทบยอดบัญชีพักเงินนำส่งได้สาเหตุที่ระบบไม่สามารถกระทบยอดบัญชีพักเงินนำส่งได้ • 2. กรณีหน่วยงานบันทึกเอกสารนำส่ง (นส.02-1หรือ นส.02-2)คลาดเคลื่อน • 2.1 ระบุวันที่ในใบนำฝาก เลขที่ในใบนำฝาก (เลขที่อ้างอิง 16 หลัก) คลาดเคลื่อน • ให้แจ้งหน่วยงานต้นสังกัดแก้ไขเอกสารนำส่ง (สถานะ Post) ด้วยคำสั่งงานFB02 • ทั้งนี้ กรณีที่แก้ไขศูนย์ต้นทุนผู้นำส่งที่Filed การกำหนด ต้องแก้ไขให้เหมือนกันทั้ง Dr. และCr. • 2.2 ระบุจำนวนเงิน ศูนย์ต้นทุน แหล่งของเงิน หรือรหัสรายได้ คลาดเคลื่อน •  ให้กลับรายการเอกสารนำส่งนั้น และบันทึกรายการรายการที่ถูกต้องเข้าสู่ระบบ • เอกสารนำส่งเงินของตนเอง ให้หน่วยงานต้นสังกัดกลับรายการด้วยคำสั่งงาน ZFB08 • เอกสารนำส่งแทนส่วนราชการอื่น ให้แจ้งทางกรมบัญชีกลางกลับรายการให้ เมื่อแก้ไขเอกสารนำส่งให้ถูกต้องแล้ว ระบบจะกระทบยอดรายการ บัญชีพักเงินนำส่ง (1101010112) ให้อัตโนมัติเมื่อสิ้นวัน 22

  22. กรณีเอกสารนำส่งเงิน (นส.02-1 หรือ นส.02-2) คลาดเคลื่อน • 1. ระบุวันที่ในใบนำฝาก เลขที่ในใบนำฝาก (เลขที่อ้างอิง 16 หลัก) คลาดเคลื่อน • ให้แจ้งหน่วยงานต้นสังกัดแก้ไขเอกสารนำส่ง (สถานะ Post) ด้วยคำสั่งงานFB02 • 2. ระบุจำนวนเงิน ศูนย์ต้นทุน แหล่งของเงิน หรือรหัสรายได้ คลาดเคลื่อน •  ให้กลับรายการเอกสารนำส่งนั้น และบันทึกรายการรายการที่ถูกต้องเข้าสู่ระบบ • เอกสารนำส่งเงินของตนเอง ให้หน่วยงานต้นสังกัดกลับรายการที่เครื่อง Terminal • ด้วยคำสั่งงาน ZFB08 • เอกสารนำส่งแทนส่วนราชการอื่น ให้แจ้งทางกรมบัญชีกลางกลับรายการให้ 23

  23. กรณีเอกสารนำส่งเงินประเภท CJ คลาดเคลื่อน 1. หน่วยงานใช้ใบนำฝากเงินผิดศูนย์ต้นทุน ทำหนังสือแจ้งข้อคลาดเคลื่อน ให้กรมบัญชีกลางปรับปรุงรายการให้ 2. หน่วยงาน/ธนาคาร ระบุประเภทเงินที่นำส่งไม่ถูกต้อง พบข้อคลาดเคลื่อนภายในวันที่นำส่งเงิน ให้แจ้งธนาคารฯ ปรับปรุงรายการให้ พบข้อคลาดเคลื่อนภายหลังวันที่นำส่งเงิน ให้ทำหนังสือแจ้งข้อคลาดเคลื่อน พร้อมส่งสำเนา Pay-in Slip ให้กรมบัญชีกลาง สำนักบริหารการรับจ่ายเงินภาครัฐ ปรับปรุงรายการให้ ซึ่งหลังจากปรับปรุงรายการแล้วประเภทเอกสารจะเปลี่ยนเป็น CN 24

  24. 6.การกลับรายการเอกสารในระบบรับและนำส่ง6.การกลับรายการเอกสารในระบบรับและนำส่ง 1. เอกสารที่ส่วนราชการที่มีเครื่อง Terminal สามารถกลับรายการได้เอง - เอกสารการรับเงินของตนเอง ประเภท RA RB - เอกสารนำส่งเงินประเภท R1 , R5 และ R6 ที่ยังไม่กระทบยอด หักล้างบัญชีพักเงินนำส่ง 2. เอกสารที่ส่วนราชการไม่สามารถกลับรายการได้เอง ต้องแจ้ง กรมบัญชีกลาง/สำนักงานคลังจังหวัด ดำเนินการ ได้แก่ - เอกสารการรับและนำส่งเงินแทนกัน ประเภท RC RD R3 และ R4 - เอกสารนำส่งเงินประเภท R1 , R5 และ R6 ที่กระทบยอดหักล้าง บัญชีพักเงินนำส่งแล้ว - เอกสารนำส่งเงินประเภท R2 และ R7 - เอกสารปรับเพิ่มเงินฝากคลังประเภท RX และ RY 25

  25. 7. ตัวอย่างรายงานที่เกี่ยวข้อง 26

  26. 27

  27. 28

  28. ปัญหาที่พบบ่อยและแนวทางแก้ไขปัญหาที่พบบ่อยและแนวทางแก้ไข 1. บันทึกรายการนำส่งเงินนอกงบประมาณฝากคลัง หรือ รายการส่งคืนเงินฝากคลังผ่าน Excel Loader (แบบฟอร์ม นส.02-2) ได้เลขที่เอกสารนำส่งเงิน “13xxxxxxxx” แต่ไม่ได้เลขที่เอกสารปรับเพิ่มเงินฝากคลัง (RX) ต้องแก้ไขอย่างไร 1. แก้ไขได้ 2 วิธี คือ 1.1 แจ้งกรมบัญชีกลางยกเลิกเอกสาร นำส่งเงิน “13xxxxxxxx” และระบุรหัสเจ้าของเงินฝากและรหัสบัญชีเงินฝากในแบบฟอร์ม นส.02-2 ให้ครบถ้วน แล้วนำส่งใหม่อีกครั้ง 1.2 แจ้งหน่วยงานต้นสังกัดที่มีเครื่อง Terminal บันทึกเอกสารปรับเพิ่มเงินฝากคลัง (RX) เข้าระบบให้ 29

  29. ปัญหาที่พบบ่อยและแนวทางแก้ไขปัญหาที่พบบ่อยและแนวทางแก้ไข 2. หน่วยงานต้องระบุประเภทเงินที่นำส่งในใบนำฝากเงิน (Pay in Slip) อย่างไรระบบจึงจะกระทบยอดบัญชีพักเงินนำส่งได้ 2. หน่วยงานต้องระบุประเภทเงินที่นำส่งดังนี้ 2.1 เลือกประเภทเงินที่นำส่งช่อง 1 รายได้แผ่นดิน กรณีที่นำส่งเงินรายได้แผ่นดินของตนเอง หรือนำส่งเงินรายได้แผ่นดินแทนหน่วยงานอื่น 2.2. เลือกประเภทเงินที่นำส่งช่อง 2 เงินฝากคลัง ในกรณีที่ 2.2.1 นำส่งเงินฝากคลังของตนเอง หรือเงินฝากคลังแทนหน่วยงานอื่น 2.2.2 นำส่งเงินฝากคลังที่เบิกมาแล้วใช้ไม่หมด 2.2.3 นำส่งเงินทดรองราชการ 2.3 เลือกประเภทเงินที่นำส่งช่อง 3 เบิกเกินส่งคืน กรณีที่นำส่งเงินงบประมาณที่เบิกมาแล้วใช้ไม่หมด คืนคลังภายในปีงบประมาณ หรือภายในระยะเวลาการกันเงินไว้เบิกเหลื่อมปี 2.4. เลือกประเภทเงินที่นำส่งช่อง 4 ส่งแทนเช็คขัดข้อง กรณีที่นำส่งเงินแทนเช็คขัดข้อง 30

  30. ปัญหาที่พบบ่อยและแนวทางแก้ไขปัญหาที่พบบ่อยและแนวทางแก้ไข 3. การบันทึกรายการนำส่งเงินเบิกเกินส่งคืน (ประเภทเอกสาร R6 หรือ R7) ต้องระบุรหัสศูนย์ต้นทุน รหัสแหล่งของเงิน รหัสกิจกรรมหลัก และรหัสงบประมาณ อย่างไร • 3. ช่อง “การอ้างอิง” ต้องระบุการอ้างอิง • 15 หลัก คือ YY+XXXXXXXXXX+LLL • (Y คือ 2 หลักท้ายของปีงบประมาณ ค.ศ. • X คือ เลขที่เอกสารขอเบิก L คือ บรรทัดรายการค่าใช้จ่ายที่เบิกเกินส่งคืน) • - ระบุรหัสแหล่งของเงิน รหัสงบประมาณ ตามเอกสารขอเบิก- ระบุรหัสศูนย์ต้นทุน และรหัสกิจกรรมหลักของผู้นำส่งเงิน • ระบุวันที่นำฝากหรือวันที่คิดมูลค่าจำนวนเงินที่นำส่ง และรหัสอ้างอิงธนาคาร 16 หลัก ให้ตรงกับรายละเอียดในใบรับเงิน (Deposit Receipt) • ช่อง “การกำหนด” ให้ระบุรหัสศูนย์ต้นทุนของผู้นำส่ง 31

  31. ปัญหาที่พบบ่อยและแนวทางแก้ไขปัญหาที่พบบ่อยและแนวทางแก้ไข 4. การบันทึกรายการเบิกเกินส่งคืน บำนาญและเงินเดือนจ่ายตรง ในระบบ GFMIS มีขั้นตอนอย่างไร 4. กรณีบันทึกรายการเบิกเกินส่งคืนบำนาญและเงินเดือนจ่ายตรง ให้ปฏิบัติตามหนังสือเวียน ว 273 ช่อง “การอ้างอิง” ต้องระบุการอ้างอิง 15 หลัก คือ YY+XXXXXXXXXX+LLL โดยบันทึกรายการ ดังนี้ 4.1 บันทึกรับเงินเบิกส่งคืน (BD) ระบุรหัสต่าง ๆ ตามเอกสารขอเบิก 4.2 นำส่งเงินโดยใช้ใบนำฝากเงิน (Pay in Slip) ของศูนย์ต้นทุนผู้นำส่งเงิน 4.3 บันทึกรายการนำส่งเงิน (R6) (ตามข้อ 4) 4.4 หน่วยงานต้นสังกัด ปรับปรุงบัญชีเงินสดในมือ (JR) Dr. เงินสดในมือ (ศูนย์ต้นทุนผู้นำส่ง) Cr. เงินสดในมือ (ศูนย์ต้นทุนตามเอกสารขอเบิก) 4.5 บันทึกล้างรายการเบิกเกินส่งคืน (BE) ระบุรหัสต่าง ๆ ตามเอกสารขอเบิก 32

  32. ปัญหาที่พบบ่อยและแนวทางแก้ไขปัญหาที่พบบ่อยและแนวทางแก้ไข 5. กรณีเบิกเงินประกันสัญญาซ้ำ เมื่อนำส่งเงินคืนเข้าคลังแล้ว ต้องบันทึกรายการอย่างไร 5. หน่วยงานไม่สามารถบันทึกรายการเบิกเกินส่งคืนเงินประกันสัญญา หรือ หนี้สินหมุนเวียนอื่น (21xxxxxxxx) เข้าสู่ระบบได้ เนื่องจากระบบรองรับเฉพาะการเบิกเกินส่งคืนกรณีที่เป็นค่าใช้จ่ายเท่านั้น ดังนั้นหน่วยงานต้องบันทึกรายการเข้าสู่ระบบเสมือนการบันทึกรับและนำส่งเงินฝากคลังตามปกติ คือ 6.1 รับเงินประกันสัญญา (RB) 6.2 นำส่งเงินประกันสัญญา (R2) 6.3 ปรับเพิ่มเงินฝากคลัง (RX) 33

More Related