1 / 66

สถานการณ์ทางการผลิตสัตว์

วิชาเกษตรผสมผสานปริทัศน์ ( Overview of Integrated Agriculture ) คณะทรัพยากรธรรมชาติและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร. สถานการณ์ทางการผลิตสัตว์. โดย อาจารย์วัชรวิทย์ มีหนองใหญ่. ประวัติการเลี้ยงสัตว์.

Télécharger la présentation

สถานการณ์ทางการผลิตสัตว์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. วิชาเกษตรผสมผสานปริทัศน์ (Overview of Integrated Agriculture)คณะทรัพยากรธรรมชาติและอุตสาหกรรมเกษตรมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร สถานการณ์ทางการผลิตสัตว์ โดย อาจารย์วัชรวิทย์ มีหนองใหญ่

  2. ประวัติการเลี้ยงสัตว์ประวัติการเลี้ยงสัตว์ • ในยุคหินเก่าประมาณ 10,000-8,000 ปีก่อน มนุษย์ยังไม่รู้จักการเลี้ยงสัตว์ ซึ่งคาดว่าสุนัขเป็นสัตว์พวกแรกที่มนุษย์นำมาเลี้ยงเพื่อใช้ประโยชน์ในการล่าสัตว์ • ต่อมาในยุคหินใหม่ 8,000-6,000 ปีก่อนมนุษย์จึงเริ่มนำสัตว์มาเลี้ยงดู ซึ่งสัตว์เลี้ยงในยุคต้นได้แก่ โค ม้า แพะ แกะ นอกจากนี้ยังมีสัตว์ชนิดอื่นๆ เช่น แมว สุกร เป็ด ไก่ และห่าน

  3. โค เป็นสัตว์ที่ได้รับความรัก สักการบูชา ตลอดจนการบูชายัน ขึ้นอยู่กับสังคมแต่ละประเทศ ภาพกิจกรรมการดูแลจัดการลูกโคมีหลักฐานประมาณ 2625 ปีก่อน ค.ศ. • สุกร มีการเลี้ยงทั่วไปในโลก จากหลักฐานการบันทึกของชาวจีนระบุว่ามีการลี้ยงสุกรเมื่อ 4,900 ปีก่อนค.ศ. ส่วนในคัมภีร์ไบเบิลระบุว่า 1,500 ปีก่อน ค.ศ. • แกะ คาดว่าเลี้ยงครั้งแรกใน เอเชียกลางและเอเชียตะวันตก พบภาพวาดในอียิปต์ ซึ่งวาดเมื่อ 5,000 – 4,000 ปีก่อน ค.ศ.

  4. ความสำคัญของการเลี้ยงสัตว์ความสำคัญของการเลี้ยงสัตว์ • เลี้ยงเพื่อเป็นอาหาร • เลี้ยงเพื่อเป็นเครื่องนุ่งห่ม • เลี้ยงไว้เพื่อใช้แรงงาน • เลี้ยงไว้เพื่อเป็นเพื่อน • ประโยชน์ในแง่งานวิจัยทางวิทยาศาสตร์ • วัตถุประสงค์อื่นๆ เช่น บ่งบอกฐานะ ชำระบาป ยาบำรุง เป็นต้น

  5. สัตว์เศรษฐกิจที่สำคัญของไทยสัตว์เศรษฐกิจที่สำคัญของไทย • กระบือ • โคเนื้อ • โคนม • สุกร • ไก่เนื้อ • ไก่ไข่ • สัตว์น้ำ

  6. สถานการณ์การผลิตกระบือสถานการณ์การผลิตกระบือ • ในอดีตเป็นสัตว์ที่มีไว้ใช้แรงงาน • ในปี 2532 ประเทศไทยมีกระบืออยู่ประมาณ 4.6 ล้านตัว • ปัจจุบันประชากรของกระบือลดลงตามลำดับ • โดยในปี 2550 มีกระบือเหลืออยู่ไม่ถึง 1.6 ล้านตัว

  7. สถิติจำนวนกระบือในประเทศไทยแสดงตามภาคต่างๆ ตั้งแต่ปี ๒๕๓๒-๒๕๔๓ • ที่มา: http://www.dld.go.th/ict/yearly/yearly43/yearly43.html

  8. สถานการณ์การผลิตโคเนื้อสถานการณ์การผลิตโคเนื้อ • ในอดีตโคเนื้อไทยส่วนใหญ่แล้วจะเป็นโคพันธุ์พื้นเมือง และมีการเลี้ยงโคพันธุ์ลูกผสมบราห์มันเป็นอันดับรองลงมา • ปัจจุบันรัฐบาลได้มีการส่งเสริมการเลี้ยงโคพันธุ์ลูกผสมบราห์มันจึงทำให้มีจำนวนเพิ่มมากขึ้น • ส่วนการเลี้ยงโคเนื้อสายพันธุ์ยุโรปยังมีปริมาณน้อยโดยส่วนใหญ่จะเลี้ยงพันธุ์ลูกผสมชาโลเลห์, ซิมเมนทอล เป็นต้น • ผลกระทบ FTA (2548)

  9. สาระสำคัญ FTA ไทย-ออสเตรเลีย • การลดภาษีจะครอบคลุมสินค้าทุกรายการ มีผลตั้งแต่วันแรกที่มีผลบังคับใช้ (1 ม.ค.48) • ออสเตรเลียจะลดภาษีทุกรายการเป็น 0% ภายใน 5 ปี ยกเว้นสินค้าอ่อนไหว จะลดภายใน 10 ปี • ไทยจะลดภาษีส่วนใหญ่ภายใน 5 ปี ยกเว้นสินค้าอ่อนไหว จะลดภายใน 10-20 ปี • สินค้าอ่อนไหวของไทยได้แก่ เหล็ก อุปกรณ์ไฟฟ้า ผัก ผลไม้ เนื้อ นมและผลิตภัณฑ์นม เป็นต้น • สินค้าอ่อนไหวของออสเตรเลียได้แก่ ทูน่ากระป่อง สิ่งทอ ชิ้นส่วนยานยนต์ เหล็ก เคมีภัณฑ์ พลาสติก เสื้อผ้าสำเร็จรูป รองเท้า

  10. แนวทางแก้ปัญหากลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงโคเนื้อแนวทางแก้ปัญหากลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงโคเนื้อ • การสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาพันธุ์โคเนื้อ • ส่งเสริมสหกรณ์และการรวมกลุ่มผู้เลี้ยง และสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างกัน • การปรับโครงสร้าง การลดต้นทุน การพัฒนากระบวนการผลิต เน้นมาตรฐาน ความสะอาด ความน่าเชื่อถือ • การสร้างตลาดกลางซื้อขายเนื้อโค • ปรับปรุงระบบโรงฆ่าให้ได้มาตรฐาน ส่งเสริมอุตสาหกรรมแปรรูปเนื้อโคให้มากขึ้น • ส่งเสริมการทำตลาดเหมือนธุรกิจเฟรนไชส์ที่มีกระบวนการครบวงจร

  11. สถานการณ์การผลิตโคนม • การเลี้ยงโคนมและการผลิตน้ำนมในประเทศไทยเริ่มมาตั้งแต่ปี 1907 โดยชาวอินเดียที่อพยพเข้ามาในประเทศไทย • ต่อมาในปี 1960 ทางรัฐบาลเดนมาร์กได้น้อมเกล้าฯถวายโครงการเลี้ยงโคนมในประเทศไทย แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว • อัตราการบริโภคนมของคนไทยในปัจจุบันยังอยู่ในปริมาณที่ต่ำมากเฉลี่ยประมาณ 11.5 ลิตร/คน/ปี (2550)

  12. สถานการณ์การผลิตโคนม (ต่อ) • ในปี 2550 ประเทศไทยมีโคนมอยู่ประมาณ 489,593 ตัว • ผลผลิตน้ำนมดิบยังไม่เพียงพอต่อความต้องการการบริโภคภายในประเทศแต่มีปัญหานมล้นตลาด • การเลี้ยงโคนมของเกษตรกรไทยมีประสิทธิภาพต่ำและต้นทุนการผลิตสูง • โครีดนมให้ผลผลิตต่ำเฉลี่ยประมาณวันละ 10 กก./ตัว/วัน มีปัญหาการผสมไม่ติด การจัดการด้านอาหาร และการคัดโคคุณภาพต่ำออกจากฟาร์ม

  13. ผลกระทบจากสารเมลามีน • การปนเปื้อนสารเมลามีนทำให้ผู้บริโภคนมลดต่ำลง

  14. ความตกลงเขตการค้าเสรีไทย- นิวซีแลนด์ • วันที่ 1 กรกฎาคม 2548 เป็นกำหนดเวลาที่ความตกลงเขตการค้าเสรีไทย- นิวซีแลนด์จะมีผลบังคับใช้ • นิวซีแลนด์เป็นประเทศส่งออกผลิตภัณฑ์โคเนื้อ โคนม อันดับต้นๆ ของโลก การเปิดเสรี FTA กับนิวซีแลนด์ทำให้อุตสาหกรรมโคเนื้อ โคนม ซึ่งเป็นสินค้าอ่อนไหวของไทยจะได้รับผลกระทบ • ดังนั้นการเตรียมพร้อมภายในของไทยก่อนการเปิดเสรีอุตสาหกรรมโคเนื้อและโคนมอย่างเต็มที่ ซึ่งมีเวลาปรับตัวอีก 15-20 ปี จึงเป็นสิ่งจำเป็น

  15. แนวทางแก้ปัญหากลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงโคนมแนวทางแก้ปัญหากลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงโคนม • รณรงค์กระตุ้นให้คนไทยหันมาบริโภคนมสดภายในประเทศ • การสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาพันธุ์โคนม • ส่งเสริมสหกรณ์และการรวมกลุ่มผู้เลี้ยง • ส่งเสริมการใช้น้ำนมดิบในอุตสาหกรรมอื่น ๆ • การปรับโครงสร้าง การลดต้นทุน การพัฒนากระบวนการผลิต เน้นมาตรฐาน ความสะอาด ความน่าเชื่อถือ • การสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างกัน • ส่งเสริมการทำตลาดเหมือนธุรกิจเฟรนไชส์ที่มีกระบวนการครบวงจร

  16. สถานการณ์การผลิตแพะ-แกะสถานการณ์การผลิตแพะ-แกะ • ผู้เลี้ยงส่วนใหญ่อยู่ทางภาคใต้ • ผู้บริโภคส่วนใหญ่ยังไม่คุ้นเคยกับกลิ่นของเนื้อแพะ-แกะ • ปัจจุบันมีการเลี้ยงแพะเพื่อจำหน่ายผลิตภัณฑ์นมซึ่งทำให้มีผู้เลี้ยงมีจำนวนเพิ่มขึ้น

  17. สถานการณ์การผลิตสุกร • ในอดีตสุกรที่เลี้ยงกันในประเทศไทยเป็นสุกรพันธุ์พื้นเมือง • ในปัจจุบันสุกรที่เลี้ยงในประเทศจะเป็นพันธุ์ลาจไวท์, แลนด์เรซ และดูรอคเจอร์ซี่ • ปัจจุบันเกิดปัญหาเรื่องไข้หวัดนกจึงทำให้ผู้คนหันมาบริโภคเนื้อสุกรมากขึ้นส่งผลให้ราคาเนื้อสุกรสูงขึ้นตามไปด้วย • ปัญหาราคาตกต่ำที่เกิดจาก วัฏจักรสุกร (Hog cycle)

  18. สถานการณ์การผลิตไก่เนื้อสถานการณ์การผลิตไก่เนื้อ • การเลี้ยงไก่เนื้อมีการพัฒนาเรื่อยมาจนปัจจุบันสามารถผลิตไก่เนื้อสายพันธุ์ที่สามารถเลี้ยงให้โตได้น้ำหนัก 1.5-2 กิโลกรัม ภายใน 6 สัปดาห์ • อุตสาหกรรมการเลี้ยงไก่เนื้อปัจจุบันอยู่ในมือของธุรกิจเอกชนเกือบทั้งสิ้น ยกเว้นไก่พื้นเมืองซึ่งมีการเลี้ยงแบบหลังบ้านที่ยังเป็นอิสระ แต่ในปัจจุบันธุรกิจเอกชนได้พยายามเข้ามามีบทบาทเช่นเดียวกัน

  19. การส่งออกเนื้อไก่ • ปัญหาเรื่องไข้หวัดนกส่งผลต่อการส่งออกเนื้อไก่ของไทยทำให้อุตสาหกรรมไก่เนื้อของไทยมีการปรับปรุงรูปแบบการเลี้ยงไปสู่ระบบการเลี้ยงในโรงเรือนแบบปิดที่ได้มาตรฐาน • ในปี 2551 การส่งออกไก่แปรรูปของไทยมีแนวโน้มขยายตัวโดยเฉพาะในตลาดสำคัญ ทั้งสหภาพยุโรปและญี่ปุ่น • เนื่องจากจีนซึ่งเป็นคู่แข่งประสบปัญหาด้านภาพลักษณ์ด้านสุขอนามัย รวมทั้งการตรวจพบยาตกค้างในผลิตภัณฑ์  ทำให้ผู้นำเข้าหันมานำเข้าไก่แปรรูปจากไทยแทน

  20. สถานการณ์ไก่เนื้อ • ความต้องการไก่เนื้อเพิ่มสูงขึ้น 4%เนื่องจากปัญหาโรคไข้หวัด 2009 • ปี 2552 ราคาไก่เนื้อหน้าฟาร์มเพิ่มขึ้นจาก กก.ละ 29 เป็น 39-40 บาท • ราคาไก่รุ่นพันธุ์เนื้อที่เกษตรกรขายได้ ในสัปดาห์ที่ 3 เดือนมิถุนายน 2553 (วันที่  21 – 27 มิถุนายน 2553 ) อยู่ที่ กิโลกรัมละ 45.48 บาท • และปัจจุบันตลาดส่งเนื้อไก่ที่สำคัญคือ EU (48%)และ ญี่ปุ่น (39%) • โดยส่งออกในรูปเนื้อไก่ปรุงสุก

  21. สถานการณ์การผลิตไก่ไข่สถานการณ์การผลิตไก่ไข่ • ปี 2547 เกิดไข้หวัดนก มีการทำลายไก่ไข่ประมาณ 10 ล้านตัว • ในปี 2549 ราคาไข่ไก่เฉลี่ยอยู่ที่ 1.66 บาท ขาดทุนกันตลอดทั้งปี • ในปี 2550 เฉลี่ยอยู่ที่ 1.90 บาท คาบเกี่ยวระหว่างขาดทุนกับเท่าทุน • และตลอดครึ่งปี 2551 ราคาเคยสูงขึ้นไปถึง 2.50 บาทในระยะสั้นๆ แต่สุดท้ายก็อ่อนตัวลงมาอยู่ที่ 2.00 บาท • มิถุนายน 2553 ราคาไข่ไก่ปรับตัวเพิ่มขึ้นจากราคาฟองละ 2.70 บาทเป็นราคาฟองละ 2.80 บาทซึ่งเป็นผลมาจากสภาพอากาศร้อนจัดทำให้แม่ไก่กินอาหารน้อย และออกไข่ได้ปริมาณน้อยลง

  22. สถานการณ์การผลิตสัตว์น้ำ • การผลิตสัตว์น้ำได้แก่การผลิต กุ้ง หอย ปู ปลาและการผลิตสัตว์น้ำเพื่อส่งออกได้แก่การผลิตกุ้งตามชายฝั่งทะเล โดยประเทศไทยส่งออกกุ้งไปที่ประเทศสหรัฐอเมริกาเป็นส่วนใหญ่

  23. สัตว์เศรษฐกิจชนิดใหม่สัตว์เศรษฐกิจชนิดใหม่ • กระต่าย เคยเลี้ยงกันอย่างกว้างขวางใน 2520 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการจำหน่ายเนื้อและหนัง แต่ปัจจุบันล้มเลิกไปแล้ว ทั้งนี้เนื่องจากสาเหตุจากโรคและปัญหาด้านการตลาด • สุกรป่า มีวัตถุประสงค์เพื่อจำหน่ายพันธุ์และเนื้อแก่ผู้ชอบบริโภคของป่า แต่สุกรป่ามีการเจริญเติบโตช้าและดุร้าย และในปัจจุบันก็ยังมีการเพาะเลี้ยงอยู่ และจำนวนการเลี้ยงก็เพิ่มขึ้น

  24. สัตว์เศรษฐกิจชนิดใหม่สัตว์เศรษฐกิจชนิดใหม่ • กวาง วัตถุประสงในการเลี้ยงกวางคือ เลี้ยงเพื่อตัดเอาเขาอ่อนกวาง ซึ่งใช้ทำยา, เพื่อบริโภคเนื้อ, เพื่อกิจการท่องเที่ยวและอื่นๆ และการเลี้ยงกวางจะต้องมีใบอนุญาตุจากกรมป่าไม้ • นกกระจอกเทศ ประโยชน์จากนกกระจอกเทศคือ เนื้อ หนัง ไข่ และขน

  25. อุปสรรคในการผลิตสัตว์ปีกและสุกรอุปสรรคในการผลิตสัตว์ปีกและสุกร 1. ปัญหาด้านการผลิต • โรคระบาด • ขาดการวางแผนด้านการผลิตทำให้ผลผลิตล้นตลาด • ต้นทุนอาหารที่ผันผวน

  26. อุปสรรคในการผลิตสัตว์ปีกและสุกรอุปสรรคในการผลิตสัตว์ปีกและสุกร 2. ปัญหาด้านการตลาดและการแปรรูป • - ขาดองค์กรของเกษตรกรที่แข็งแกร่ง • - มีการปั่นราคาและลดราคาชั่วคราว • - ระบบฆ่าและชำแระยังไม่ทันสมัย

  27. อุปสรรคในการผลิตสัตว์ปีกและสุกรอุปสรรคในการผลิตสัตว์ปีกและสุกร 3. ปัญหาการขยายตลาดไปยังต่างประเทศ • มีการรังเกียจเรื่องโรคระบาดในสุกร • มีปัญหาการปนเปื้อนของสารตกค้าง ยา และปัญหาการใช้สารเร่งเนื้อแดง • ปัญหาเรื่องไข้หวัดนกในสัตว์ปีก (Bird flu) • มีการแข่งขันด้านราคากับประเทศที่พัฒนาแล้ว

  28. อุปสรรคในการผลิตโคและกระบืออุปสรรคในการผลิตโคและกระบือ 1. ปัญหาด้านการผลิต • การทิ้งไร่นาและการล้มละลายของเกษตรกรรายย่อย ทำให้การเลี้ยงสัตว์ลดลง • ราคาที่ดินที่ใช้ในการเลี้ยงสัตว์สูงเกินจริง • โรคระบาดยังมีอยู่กว้างขวาง • มีการหลงกระแสในการเลี้ยงโคสวยงาม ซึ่งราคาไม่คงที่

  29. อุปสรรคในการผลิตโคและกระบืออุปสรรคในการผลิตโคและกระบือ 2. ปัญหาการตลาด • ขาดมาตรการป้องกันการลักลอบนำเข้า ทำให้ราคาโคในประเทศไม่สูงพอ • มาตรฐานในการซื้อขายทั้งเนื้อและนมอาจยังไม่เหมาะสม • ปัจจุบันการผลิตเนื้อและนมยังไม่เพียงพอ

  30. อุปสรรคในการผลิตโคและกระบืออุปสรรคในการผลิตโคและกระบือ 3. การค้ากับต่างประเทศ • การเปิดเสรีทางการค้ามีปัญหาด้านค่าจ้างแรงงานสูงและผลผลิตที่ได้จากสัตว์ต่ำ เมื่อเทียบกับคู่แข่ง

  31. จบข่าว http://www4.csc.ku.ac.th/~fnawwm

  32. พันธุ์สุกร

  33. Large white

  34. Landrace

  35. Duroc Jersey

  36. Pietrain

  37. White Cornish

  38. White Plymouth Rock

  39. Barred Plymouth Rock

  40. Leghorn

  41. กระบือปลัก (Swamp type)

  42. กระบือแม่น้ำ (River type) กระบือพันธุ์ มูร่าห์ (Murrah)

  43. Bison American Bison(Bison bison) European Bison(Bison bonasus)

  44. แกะพันธุ์พื้นเมือง

  45. แกะพันธุ์เนลลอร์

  46. แกะพันธุ์คาทาดิน

  47. แกะพันธุ์แซนตาอิเนส

  48. แกะพันธุ์ดอร์เปอร์

  49. แกะพันธุ์บาร์บาโดส แบลคเบลลี่

  50. โฮลสไตน์ ฟรีเชียน หรือ ขาวดำ

More Related