1 / 27

Universal coverage Scheme (UC)

ม้ง. Dynamic of health insurance status in Thailand. Dead. Dead. Civil Servant Medical Benefits Scheme (CSMBS). Social security Scheme (SSS). Beneficiary enrollment System. Quit Fired retired. Work in Formal sector. Quit Fired retired. Become gov.officer.

zagiri
Télécharger la présentation

Universal coverage Scheme (UC)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ม้ง Dynamic of health insurance status in Thailand Dead Dead Civil Servant Medical Benefits Scheme (CSMBS) Social security Scheme (SSS) Beneficiary enrollment System Quit Fired retired Work in Formal sector Quit Fired retired Become gov.officer Stateless people Universal coverage Scheme (UC) Dead

  2. Beneficiary enrollment System EAI Birth – death data (every day) SSS member (every 2 weeks ) Ministry of Interior Centralized database Social Security Office Health insurance data (every day) Birth – death data (every month) NHSO CSMBS member (every 2 weeks) Enrollment data Death data (every month) Verified data Registration transactions from provincial offices (offline) Civil Servant local gov. members ( every 2 wks) Enrollment data People live in foreign countries Verified data ( real time) Internet Registration transactions from registration units (online) Immigration Department Local government

  3. แนวทางการดำเนินงานโครงการพัฒนาระบบการจดทะเบียนการเกิดแนวทางการดำเนินงานโครงการพัฒนาระบบการจดทะเบียนการเกิด ศูนย์บริหารงานทะเบียน สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สปสช.เขต 7 ขอนแก่น

  4. บทนำ • การจดทะเบียนการเกิดในระบบทะเบียนราษฎรเป็นขั้นตอนสำคัญของการแสดงความมีตัวตนของคนที่สมบูรณ์ตามกฎหมายที่จะนำไปสู่การคุ้มครองสิทธิและสวัสดิการอันควรจะได้รับตามหลักสิทธิมนุษยชน • ความเป็นจริงพบว่ามีเด็กจำนวนมากที่ไม่ได้รับการแจ้งเกิด เนื่องจากบิดามารดา หรือผู้ปกครองสำคัญผิดว่าหนังสือรับรองการเกิดนั้นเป็นใบเกิด (สูติบัตร) และขาดการติดตามเพื่อให้บิดามารดา หรือผู้ปกครองนำเด็กมาจดทะเบียนการเกิด • ปัญหาดังกล่าวจึงมีผลให้เด็กดังกล่าวกลายเป็นบุคคลที่ไม่ได้อยู่ในระบบทะเบียนราษฎร ทำให้สิทธิต่าง ๆ ที่พึงได้รับนั้นเสียไป โดยหนึ่งในนั้นคือสิทธิการรับบริการสาธารณสุขในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า

  5. บทนำ เด็กเกิดใหม่ เกิดนอกรพ. เกิดในรพ. ไม่ได้ออกใบรับรองการเกิด ออกใบรับรองการเกิด ไม่แจ้งเกิด แจ้งเกิด สนบท.

  6. ความเป็นมาของโครงการ • เริ่มโครงการในปี 2552 เป็นความร่วมมือระหว่าง สนบท. กรมการปกครอง กับ สนย. กระทรวงสาธารณสุข ภายใต้การสนับสนุนของ Unicef มีโรงพยาบาลเข้าร่วม 4 แห่ง • ปี 2553 สปสช. ได้เข้าร่วมดำเนินงานและรับเป็นผู้บริหารโครงการ มี โรงพยาบาลนำร่อง 44 แห่ง • ปัจจุบัน ขยายผลโครงการ มีโรงพยาบาลให้ความสนใจเข้าร่วมโครงการเพิ่มขึ้นอีก 490 รวมทั้งสิ้นเป็น 534 แห่ง

  7. ความมุ่งหวังของโครงการความมุ่งหวังของโครงการ • เพื่อพัฒนาระบบการจดทะเบียนการเกิดให้มีความเชื่อมโยงระหว่างหน่วยบริการกับหน่วยทะเบียนของกระทรวงมหาดไทย • เพื่อติดตามเด็กทุกคนที่ยังไม่เข้าสู่ระบบการทะเบียนให้มาเข้าระบบได้อย่างครบถ้วน • เพื่อส่งเสริมการเข้าถึงหลักประกันสุขภาพของประชาชน

  8. ประโยชน์ที่จะได้รับ • สำหรับกระทรวงมหาดไทย, กระทรวงสาธารณสุข, UNICEF • ข้อมูลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องในระบบมีความครบถ้วนถูกต้องมากขึ้น • เช่น ข้อมูลในฐานทะเบียนราษฎร, ข้อมูลเด็กแรกเกิด เป็นต้น • ลดปัญหาทางทะเบียนที่อาจเกิดขึ้นได้ในอนาคต

  9. ประโยชน์ที่จะได้รับ • สำหรับ สปสช. • เพิ่มความครอบคลุมสิทธิหลักประกันสุขภาพ • ข้อมูลประชากรมีความถูกต้อง

  10. ประโยชน์ที่จะได้รับ • สำหรับหน่วยบริการ • มีฐานข้อมูลในระบบอิเล็คโทนิก • เพิ่มความครอบคลุมสิทธิหลักประกันสุขภาพ • เพิ่มเงินที่จะได้รับจัดสรรจากรายหัวประชากร • สามารถ Claim ค่ารักษาพยาบาลของเด็กกับ สปสช.

  11. ประโยชน์ที่จะได้รับ • สำหรับ ประชาชน • ลดภาระค่าใช้จ่ายกรณีเด็กแรกเกิดต้องรับการรักษา • ลดปัญหาทางทะเบียนที่จะเกิดขึ้นในอนาคต

  12. ระบบการแจ้งเกิดเดิม ผู้ปกครองเด็ก เด็กเกิด รับแจ้งเกิด จนท.ห้องคลอด ออกหนังสือรับรองการเกิด จนท.ห้องคลอด ดำเนินการแจ้งเกิด ธุรการ สนง.ประกันสุขภาพ ญาติ รับสูติบัตร ลงทะเบียนสิทธิในระบบหลักประกันสุขภาพ

  13. กรอบแนวคิด

  14. ผลการดำเนินงาน ปี 2554 ผลงานรวม 96.39 %

  15. แผนดำเนินงานปี 2555

  16. การเตรียมความพร้อมของหน่วยบริการการเตรียมความพร้อมของหน่วยบริการ Hardware • Computer • (OS : Windows XP, Seven 32 bit ลงมา) • Printer • Smart Card Reader • Scanner Software • โปรแกรมระบบการออกหนังสือรับรองการเกิด

  17. การเตรียมความพร้อมของหน่วยบริการการเตรียมความพร้อมของหน่วยบริการ ผู้ให้บริการ • เจ้าหน้าที่ที่ผ่านการอบรมการใช้งานโปรแกรม • มีบัตรประชาชน Smart Card • มีรหัสลับ Pin Code • มีรหัสผู้ใช้งาน / รหัสผ่าน ของโปรแกรม

  18. การเตรียมความพร้อมของหน่วยบริการการเตรียมความพร้อมของหน่วยบริการ กระบวนการ • จัดวางระบบภายในหน่วยงาน (Model) • กำหนดผู้รับผิดชอบ • แจ้งรหัสประจำบ้านของ รพ. (HID) 11 หลัก • แจ้งเลขที่หนังสือรับรองการเกิดลำดับสุดท้าย • ก่อนทำการบันทึกในระบบ • ระบบ Internet ณ จุดใช้งานโปรแกรม เป็นระบบ LAN (*Proxy),Wireless, ADSL

  19. แบบฟอร์มลงทะเบียน http://e-registration.dopa.go.th/birth_cer/

  20. รูปแบบของการจัดระบบ โมเดล 1 ลำดับ ขั้นตอน 1 พยาบาลห้องคลอดบันทึกข้อมูลเกิดลงในโปรแกรม พยาบาล พิมพ์หนังสือรับรองการเกิด 2 พยาบาล 3 ให้หนังสือรับรองการเกิด พยาบาล มารดา/ญาติ ไปแจ้งเกิดเพื่อรับสูติบัตร 4 จนท. เทศบาล/อำเภอ มารดา/ญาติ ลงทะเบียนบัตรประกันสุขภาพ 5 จนท. งานประกัน

  21. โมเดล 1 รูปแบบของการจัดระบบ • ข้อดี • เป็นการบริการ ณ จุดเดียว ผู้ป่วยไม่ต้องประสานหลายจุด • สามารถทำงานได้ตลอด 24 ชั่วโมง เนื่องจากมีพยาบาลขึ้นเวรตลอด • ข้อด้อย • ใช้งานไม่คล่องแคล่ว , ขาดความเชี่ยวชาญเฉพาะ • เพิ่มงานให้พยาบาลห้องคลอด • แนวทางแนะนำ • ให้ฝ่ายอื่นช่วยดำเนินงานก่อนการบันทึก เช่น ให้ห้องฝากท้องขอเอกสาร หรือตรวจสอบข้อมูล บิดามารดาให้ก่อน • จัดกระบวนการเรียนรู้เรื่องกฎ ระเบียบ หลักเกณฑ์ของทะเบียนราษฎร์

  22. โมเดล 2 รูปแบบของการจัดระบบ ลำดับ ขั้นตอน พยาบาลห้องคลอดบันทึกข้อมูลเกิดลงในแบบฟอร์ม มอบให้ จนท.ที่รับผิดชอบบันทึกข้อมูล 1 พยาบาล บันทึกข้อมูลลงโปรแกรมรับรองการเกิด พร้อมพิมพ์หนังสือรับรองการเกิด 2 จนท. 3 ให้หนังสือรับรองการเกิดแก่ผู้ป่วยหรือญาติ จนท. มารดา/ญาติ 4 ไปแจ้งเกิดเพื่อรับสูติบัตร จนท. เทศบาล/อำเภอ มารดา/ญาติ ลงทะเบียนบัตรประกันสุขภาพ 5 จนท. งานประกัน

  23. โมเดล 2 รูปแบบของการจัดระบบ • ข้อดี • มีหน่วยงาน/เจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบโดยตรง ง่ายต่อการกำกับ ติดตามงาน • เจ้าหน้าที่มีความสามารถเฉพาะ จึงทำให้บันทึกข้อมูลรวดเร็วกว่า • ข้อด้อย • ขั้นตอนซ้ำซ้อน, ผู้ป่วยต้องประสานงานหลายจุด • สุ่มเสี่ยงต่อการทำให้เอกสารหายหรือกระบวนการไม่ต่อเนื่อง มีการแจ้งเกิด โดยยังไม่บันทึกข้อมูล • ให้บริการได้เฉพาะเวลาราชการ • แนวทางแนะนำ • ป้องกันเอกสารหายด้วยการให้ จนท. ของรพ. ดำเนินรับเอกสารจากห้องคลอดเอง • ควรจัดให้มีเวรนอกเวลาราชการ

  24. รูปแบบของการจัดระบบ โมเดล 3 ลำดับ ขั้นตอน 1 บันทึกข้อมูลทั่วไปลง โปรแกรมของโรงพยาบาล จนท.งานเวชระเบียน พยาบาลห้องคลอดบันทึกข้อมูลเกิดลงใน โปรแกรมของโรงพยาบาล 2 พยาบาล Print หนังสือรับรองการเกิด จากโปรแกรมของโรงพยาบาล 3 พยาบาล มารดา/ญาติ Export and Upload ข้อมูลลงโปรแกรมรับรองการเกิด 4 จนท. งานประกัน สรุปผลการออกตรวจเยี่ยม ไปแจ้งเกิดเพื่อรับสูติบัตร 5 จนท. เทศบาล/อำเภอ มารดา/ญาติ ลงทะเบียนบัตรประกันสุขภาพ 6 จนท. งานประกัน

  25. โมเดล 3 รูปแบบของการจัดระบบ • ข้อดี • ลดขั้นตอนการบันทึกข้อมูลลงในโปรแกรมหนังสือรับรองการเกิด • ข้อด้อย • ต้องมีการปรับปรุงโปรแกรม • สุ่มเสี่ยงต่อการไม่เชื่อมโยงข้อมูลระหว่างโปรแกรม • อาจเกิดภาวะพึ่งพาเจ้าหน้าที่คอมพิวเตอร์ • แนวทางแนะนำ • ควรจัดระบบการ Export / Upload / Download / Update ข้อมูล ระหว่างโปรแกรมอย่างเป็นระบบ • ควรจัดกระบวนการเรียนรู้ให้เจ้าหน้าที่สามารถทำงานได้อย่างทั่วถึง

  26. ประสบการณ์จากปีที่ผ่านมาประสบการณ์จากปีที่ผ่านมา • 1. ความตั้งใจ ความมุ่งมั่น ของทีมงานโรงพยาบาล • 2. ปัญหาที่พบส่วนใหญ่ • ความไม่เข้าใจเกี่ยวกับระเบียบของทะเบียนราษฎร์ • หน่วยงานที่เกี่ยวข้องยังไม่ประสานกัน • หน่วยงานภายใน • หน่วยงานภายนอก • การบันทึกข้อมูลซ้ำ / ผิด / ไม่บันทึกข้อมูล • การไม่ยินยอมใช้ลายเซ็นอิเล็กทรอนิกส์ • 3. รพ.บางแห่งจัดบริการเบ็ดเสร็จให้แก่ผู้ป่วย (One-Stop-Service) • 4. อุปสรรคใหญ่ยังเป็นเรื่องการติดตามให้เด็กมาแจ้งเกิด

  27. ด้วยความขอบคุณอย่างสูงด้วยความขอบคุณอย่างสูง

More Related