941 likes | 40.32k Vues
เคมีไฟฟ้า. ELECTROCHEMISTRY. ปฏิกิริยารีดอกซ์ REDOX REACTION. ครูนารีรัตน์ พิริยะพันธุ์สกุล. โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย. เนื้อหา ปฎิกิริยาออกซิเดชันและปฏิกิริยารีดักชัน ตัวรีดิวซ์และตัวออกซิไดซ์ การเขียนและดุลสมการ.
E N D
เคมีไฟฟ้า ELECTROCHEMISTRY ปฏิกิริยารีดอกซ์ REDOX REACTION ครูนารีรัตน์ พิริยะพันธุ์สกุล โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
เนื้อหา ปฎิกิริยาออกซิเดชันและปฏิกิริยารีดักชัน ตัวรีดิวซ์และตัวออกซิไดซ์ การเขียนและดุลสมการ • จุดประสงค์ • 1. อธิบายความหมายและการเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน ปฏิกิริยารีดักชัน และปฏิกิริยารีดอกซ์ได้ • อธิบายความหมายของ ตัวรีดิวซ์และตัวออกซิไดซ์ได้ • เขียนและดุลสมการรีดอกซ์ได้
การเปลี่ยนแปลง การเปลี่ยนสถานะ การเกิดสารละลาย การเกิดปฏิกิริยาเคมี มีกระแสไฟฟ้ามาเกี่ยวข้อง มีการถ่ายโอนอิเล็กตรอน ไม่มีการถ่ายโอนอิเล็กตรอน ไม่มีกระแสไฟฟ้ามาเกี่ยวข้อง Redox reaction Non-redox reaction
การทดลอง ปฏิกิริยาระหว่างโลหะกับสารละลายของโลหะไอออน จุดประสงค์ 1. ทำการทดลองเพื่อศึกษาปฏิกิริยาระหว่างโลหะกับสารละลายของโลหะไอออนได้ 2. อธิบายปฏิกิริยาออกซิเดชัน ปฏิกิริยารีดักชัน และปฏิกิริยารีดอกซ์ที่เกิดขึ้นได้ 3. อธิบายความหมายของตัวรีดิวซ์ และตัวออกซิไดซ์ได้ 4. เปรียบเทียบความสามารถในการชิงอิเล็กตรอนของโลหะไอออนได้ 5. เปรียบเทียบความสามารถในการเสียอิเล็กตรอนของโลหะได้ สารเคมี 1. โลหะทองแดง ขนาด 0.5 cm x 7cm 2 ชิ้น 2. โลหะสังกะสี ขนาด 0.5 cm x 7cm 2 ชิ้น 3. สารละลาย CuSO4 25 cm3 4. สารละลาย ZnSO4 25 cm3 อุปกรณ์ 1. บีกเกอร์ ขนาด 50 mL 4 ใบ 2. กระดาษทราย ขนาด 3 cm 3 cm 1 แผ่น 3. กระบอกตวง ขนาด 10 mL 2 ใบ 4. แท่งแก้วคนสาร 1 อัน
Zn metal Cu metal Cu metal Zn metal CuSO4(aq) ZnSO4(aq) ZnSO4(aq) CuSO4(aq) 1 2 3 4
redox reaction 1 krooree @ pcccr.ac.th ในสารละลายมีไอออนชนิดใดละลายอยู่บ้าง Cu2+(aq) SO42- (aq) ในสารละลายมีไอออนของโลหะชนิดใดละลายอยู่ Cu2+(aq) CuSO4(aq) ในสารละลายชนิดอื่นๆ เช่น สารละลาย ZnSO4 นักเรียนอธิบายได้หรือไม่
Zn metal Cu metal Cu metal Zn metal Cu2+ ions Cu2+ ions Zn2+ ions Zn2+ ions CuSO4(aq) ZnSO4(aq) ZnSO4(aq) CuSO4(aq) 1 2 3 4
จากการทดลอง โลหะกับไอออนของโลหะคู่ใดที่มีปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้น และทราบได้อย่างไร
Zn(s) Zn2+(aq) + 2e- Cu2+(aq) + 2e- Cu(s)
ปฏิกิริยาออกซิเดชัน Zn(s) Zn2+(aq) + 2e- ปฏิกิริยารีดักชัน Cu2+(aq) + 2e- Cu(s) With time, Cu plates out onto Zn metal strip, and Zn strip “disappears.” • Reduction (gaining electrons) can’t happen without an oxidation to provide the electrons. ปฏิกิริยารีดอกซ์ Zn(s) + Cu2+(aq) Cu(s) + Zn2+(aq) You can’t have 2 oxidations or 2 reductions in the same equation. Reduction has to occur at the cost of oxidation
reducer • Zn is oxidized and is the reducing agent Zn2+(aq) 2e- Zn(s) + ตัวรีดิวซ์ ตัวออกซิไดซ์ ปฏิกิริยารีดอกซ์ Zn(s) Cu(s) + + Cu2+(aq) Zn2+(aq) นักเรียนอธิบายปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นระหว่าง โลหะกับโลหะไอออน คู่อื่นๆ ได้หรือไม่ Cu2+(aq) + 2e- Cu(s) Cu2+ is reduced and is the oxidizing agent oxidiser
ตัวรีดิวซ์ ตัวออกซิไดซ์ Zn(s) + Cu2+(aq) Cu(s) Zn2+(aq) + ความสามารถในการให้อิเล็กตรอน ความสามารถในการรับอิเล็กตรอน ความสามารถในการจ่ายอิเล็กตรอน ความสามารถในการชิงอิเล็กตรอน Zn(s) Zn2+(aq) Cu(s) Cu2+(aq)
REDUCING AGENT electron donor; species is oxidized. OXIDIZING AGENT electron acceptor; species is reduced. เลขออกซิเดชัน +2 0 +2 0 Zn(s) + Cu2+(aq) Cu(s) + Zn2+(aq) ปฏิกิริยารีดักชัน เลขออกซิเดชันลดลง • REDUCTION—gain of electron(s); decrease in oxidation number; ปฏิกิริยาออกซิเดชัน เลขออกซิเดชันเพิ่มขึ้น • OXIDATION—loss of electron(s) by a species; increase in oxidation number ปฏิกิริยารีดอกซ์ ปฏิกิริยาที่สารมีการเปลี่ยนแปลงเลขออกซิเดชัน
เขียนรายงานการทดลอง และทำแบบฝึกหัดด้วยนะคร๊าบ
แบบฝึกหัด 9.1 1. จงพิจารณาว่าปฏิกิริยาใดต่อไปนี้เป็นปฏิกิริยารีดอกซ์
แบบฝึกหัด 9.1 ข้อ1(ก) เลขออกซิเดชัน Na = +1 Na = +1 C = +4 C = +4 O = -2 O = -2 O = -2 H = +1 H = +1 Cl = -1 Cl = -1 + + CO2(g) H2O (l) + 2HCl (aq) Na2CO3(aq) 2NaCl (aq) ไม่มีการเปลี่ยนแปลงเลขออกซิเดชัน ตอบ ไม่เป็นปฏิกิริยารีดอกซ์
แบบฝึกหัด 9.1 ข้อ1(ข) เลขออกซิเดชัน Na = +1 Na = +1 S = 0 S = +4 S = +2 O = -2 O = -2 O = -2 H = +1 H = +1 Cl = -1 Cl = -1 + 2HCl (aq) Na2S2O3(aq) + + + 2NaCl (aq) SO2(g) H2O (l) S (s) เลขออกซิเดชัน S เพิ่มขึ้น จาก +2 เป็น +4 เลขออกซิเดชัน S ลดลง จาก +2 เป็น 0 ตอบ เป็นปฏิกิริยารีดอกซ์
แบบฝึกหัด 9.1 ข้อ1(ค) เลขออกซิเดชัน H = +1 H = +1 H = +1 C = +4 C = +4 O = -2 O = -2 O = -2 O = -2 + + H2CO3(aq) OH-(aq) H2O (l) CO32-(g) ไม่มีการเปลี่ยนแปลงเลขออกซิเดชัน ตอบ ไม่เป็นปฏิกิริยารีดอกซ์
แบบฝึกหัด 9.1 ข้อ1(ง) เลขออกซิเดชัน O = -2 O = 0 H = +1 H = +1 N = 0 N = -2 + + N2H4(aq) O2(g) N2(g) H2O (l) เลขออกซิเดชัน O ลดลง จาก 0 เป็น -2 เลขออกซิเดชัน S เพิ่มขึ้น จาก -2 เป็น 0 ตอบ เป็นปฏิกิริยารีดอกซ์
แบบฝึกหัด 9.1 ข้อ1(จ) เลขออกซิเดชัน H = +1 H = +1 O = -2 O = -2 O = -2 Cr = +6 Cr = +6 + Cr2O72-(aq) 2OH-(aq) + 2CrO42-(aq) H2O (l) ตอบ ไม่เป็นปฏิกิริยารีดอกซ์
แบบฝึกหัด 9.1 2. จงเขียนสมการแสดงครึ่งปฏิกิริยาออกซิเดชันและครึ่งปฎิกิริยารีดักชันของปฏิกิริยารีดอกซ์ที่กำหนดให้พร้อมทั้งระบุตัวออกซิไดซ์และตัวรีดิวซ์
แบบฝึกหัด 9.1 ข้อ2(ก) Cu(s) + 2Ag+(aq) + 2Ag (s) Cu2+(aq) ปฏิกิริยารีดอกซ์ ครึ่งปฏิกิริยา ออกซิเดชัน Cu(s) Cu2+(aq) + 2e- ครึ่งปฏิกิริยา รีดักชัน + Ag+(aq) e- Ag (s) ตัวรีดิวซ์ Cu ตัวออกซิไดซ์ Ag+
แบบฝึกหัด 9.1 ข้อ2(ข) 2Al(s) + + 6H+(aq) 2Al3+(aq) 3H2(g) ปฏิกิริยารีดอกซ์ ครึ่งปฏิกิริยา ออกซิเดชัน Al(s) Al3+(aq) + 3e- ครึ่งปฏิกิริยา รีดักชัน + 2H +(aq) 2e- H2(s) ตัวรีดิวซ์ Al ตัวออกซิไดซ์ H+
แบบฝึกหัด 9.1 ข้อ2(ค) Mg(s) + Cl2(aq) + Mg2+(aq) 2Cl-(g) ปฏิกิริยารีดอกซ์ ครึ่งปฏิกิริยา ออกซิเดชัน Mg(s) Mg2+(aq) + 2e- ครึ่งปฏิกิริยา รีดักชัน Cl2(aq) 2e- 2Cl-(s) + ตัวรีดิวซ์ Mg ตัวออกซิไดซ์ Cl2
แบบฝึกหัด 9.1 3.เมื่อทดลองจุ่มลวดโครเมียมลงในสารละลายกรดไฮโดรคลอริกเจือจาง พบว่าสารละลายเปลี่ยนจากไม่มีสีเป็นสีฟ้า และมีแก๊สเกิดขึ้น ก. จงเขียนสมการแสดงครึ่งปฏิกิริยาและปฏิกิริยารีดอกซ์ พร้อมทั้งระบุ ตัวออกซิไดซ์และตัวรีดิวซ์ ข. H+และ Cr 2+ ในสารละลาย ไอออนชนิดใดรับอิเล็กตรอนได้ดีกว่ากันเพราะเหตุใด Cr metal HCl(aq)
แบบฝึกหัด 9.1 ข้อ3 Cr metal Cr2+ สีฟ้า ครึ่งปฏิกิริยา ออกซิเดชัน + Cr2+ (aq) Cr(s) ไอออนของCr 2e- Cr3+ สีเขียว ครึ่งปฏิกิริยา รีดักชัน HCl(aq) 2H+ (aq) + 2e- H2(g) Cr(s) + 2H+ (aq) Cr2+ (aq) + H2(g) ปฏิกิริยารีดอกซ์ ตัวรีดิวซ์ ตัวออกซิไดซ์ Cr H+ H+ Cr2+ รับอิเล็กตรอนได้ดีกว่า เพราะ Cr เป็นโลหะ มี IE ต่ำและ EN ต่ำ Cr จึงเสีย e-ได้ง่ายกว่า และ Cr2+จึงชิง e- ได้ยาก
แบบฝึกหัด 9.1 4. จงเขียนสมการแสดงปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น และพิจารณาว่าเป็นปฏิกิริยารีดอกซ์ หรือไม่ เพราะเหตุใด ก. ผสมสารละลาย Pb(NO3)2 กับสารละลาย KI เกิดตะกอนสีเหลือง ข.. จุ่มลวดแมกนีเซียมลงในสารละลายZnSO4 เกิดสารสีเทาเงินที่ชิ้นแมกนีเซียม ตรงส่วนที่จุ่มลงในสารละลาย เมื่อเคาะสารสีเทาเงินออกพบว่าลวด แมกนีเซียมกร่อนไป
แบบฝึกหัด 9.1 ข้อ4 (ก) เลขออกซิเดชัน I = -1 I = -1 K = +1 K = +1 (NO3- ) = -1 (NO3- ) = -1 Pb = +2 Pb = +2 + Pb(NO3 )2(aq) KI(aq) 2KI(aq) PbI2(s) + KNO3(aq) 2KNO3(aq) ตอบ ไม่เป็นปฏิกิริยารีดอกซ์
แบบฝึกหัด 9.1 ข้อ4(ข) เลขออกซิเดชัน Zn = 0 Zn = +2 Mg = +2 Mg = 0 + Mg (s) ZnSO4(aq) + MgSO4(aq) Zn (s) เลขออกซิเดชัน Zn ลดลง จาก +2 เป็น 0 เลขออกซิเดชัน Mg เพิ่มขึ้น จาก 0 เป็น +2 ตอบ เป็นปฏิกิริยารีดอกซ์
แบบฝึกหัด 9.1 5. โลหะแมกนีเซียมทำปฏิกิริยากับสารละลายกรดไฮโดรคลอริกและสารละลาย ZnSO4 ส่วนโลหะสังกะสีทำปฏิกิริยากับสารละลายกรดไฮโดรคลอริก แต่ไม่ทำปฏิกิริยากับสารละลาย MgSO4 ก. จงเขียนสมการแสดงปฏิกิริยารีดอกซ์ที่เกิดขึ้น ข. จงเขียนลำดับความสามารถในการรับอิเล็กตรอนของ H+Mg2+ และ Zn2+ ในสารลาย และลำดับคววามสามารถในการเป็นตัวรีดิวซ์ของ H2 Mg และ Zn
แบบฝึกหัด 9.1 ข้อ5 ความสามารถในการรับอิเล็กตรอน ความสามารถในการเป็น ตัวรีดิวซ์ ปฏิกิริยารีดอกซ์ Mg metal H2 H+ Mg(s) + H2(g) Mg2+(aq) + 2H+(aq) Mg Mg2+ HCl(aq) Mg metal Zn Zn2+ Zn2+(aq) Mg2+(aq) + Mg(s) + Zn (s) Mg2+ Mg ZnSO4 (aq) H+ H2 Zn metal Zn(s) Zn2+(aq) + H2(g) + 2H+(aq) Zn2+ Zn H+ H2 HCl(aq) Zn Zn2+ Zn metal Zn2+ Mg2+ Mg MgSO4 (aq)
ปฏิกิริยารีดอกซ์ ไม่ยากเลย ใช่ไหมคะ Take it easy
Balancing Equations Balancing Equations ปฏิกิริยารีดอกซ์ = ปฏิกิริยาที่มีการถ่ายโอนอิเล็กตรอน = ปฏิกิริยาที่มีการเปลี่ยนแปลงเลขออกซิเดชัน ปฏิกิริยาออกซิเดชัน ปฏิกิริยารีดักชัน ตัวรีดิวซ์ Al = สารตั้งต้นที่เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน = สารตั้งต้นที่เลขออกซิเดชันเพิ่มขึ้น ตัวออกซิไดซ์ = สารตั้งต้นที่เกิดปฏิกิริยารีดักชัน H+ = สารตั้งต้นที่เลขออกซิเดชันลดลง
Balancing Equations การดุลปฏิกิริยารีดอกซ์โดยใช้เลขออกซิเดชัน 1. หาเลขออกซิเดชันของสารที่เปลี่ยนแปลง 2. ทำเลขออกซิเดชันที่เพิ่มขึ้นและเลขออกซิเดชันที่ลดลงให้เท่ากัน 3. ดุลจำนวนอะตอมของธาตุ และประจุไฟฟ้า ของสารตั้งต้นและสารผลิตภัณฑ์ สมการที่ดุลเรียบร้อยแล้วคือ 0 +2 +3 0 + Al(s) 2 3 Zn2+(aq) Al3+(aq) 2 + Zn(s) 3 ตัวรีดิวซ์ เลขออกซิเดชันเพิ่มขึ้น= 3 2= 6 ตัวออกซิไดซ์ เลขออกซิเดชันลดลง= 2 3= 6
Balancing Equations การดุลปฏิกิริยารีดอกซ์โดยใช้เลขออกซิเดชัน 1. หาเลขออกซิเดชันของสารที่เปลี่ยนแปลง 2. ทำเลขออกซิเดชันที่เพิ่มขึ้นและเลขออกซิเดชันที่ลดลงให้เท่ากัน 3. ดุลจำนวนอะตอมของธาตุ และประจุไฟฟ้า ของสารตั้งต้นและสารผลิตภัณฑ์ สมการที่ดุลเรียบร้อยแล้วคือ Zn = 0 Cr=+6 Zn=+2 Cr= +3 + Cr2O72-(aq) + + + Zn(s) 3 14 H+(aq) Zn2+(aq) 3 2 Cr3+(aq) 7 H2O (l) ตัวรีดิวซ์ เลขออกซิเดชันเพิ่มขึ้น= 2 3= 6 ตัวออกซิไดซ์ เลขออกซิเดชันลดลง= 3 2 = 6
ทำแบบฝึกหัด 9.2 ข้อ 1 เพื่อทบทวนความเข้าใจ ก่อนนะคะ
Balancing Equations การดุลปฏิกิริยารีดอกซ์โดยใช้ครึ่งปฏิกิริยา 1. แยกปฏิกิริยารีดอกซ์ออกเป็นครึ่งปฏิกิริยาออกซิเดชันและครึ่งปฏิกิริยารีดักชัน และทำให้แต่ละครึ่งปฏิกิริยามีจำนวนอะตอมและประจุเท่ากัน 2. ทำจำนวนอิเล็กตรอนที่ให้และที่รับในแต่ละครึ่งปฏิกิริยาเท่ากัน 3. รวมสองครึ่งปฏิกิริยาเข้าด้วยกัน + + Al3+(aq) Al(s) Zn2+(aq) Zn(s) 2 Al3+(aq) + 3e- Al(s) 2 2 สมการที่ดุลเรียบร้อยแล้วคือ + 2e- 3 Zn(s) 3 Zn2+(aq) 3 + + 3Zn(s) 2Al3+(aq) 3Zn2+(aq) 2Al(s)
Balancing Equations การดุลปฏิกิริยารีดอกซ์โดยใช้ครึ่งปฏิกิริยาในกรด 1. แยกปฏิกิริยารีดอกซ์ออกเป็นครึ่งปฏิกิริยาออกซิเดชันและครึ่งปฏิกิริยารีดักชัน และดุลแต่ละครึ่งปฏิกิริยา ยกเว้น H และ O 2. ดุล O โดยการเติม H2O และ ดุล H โดยการเติม H+ 3. ดุลประจุของแต่ละครึ่งปฏิกิริยาโดยการเติมอิเล็กตรอน 4. ทำจำนวนอิเล็กตรอนที่ให้และที่รับในแต่ละครึ่งปฏิกิริยาเท่ากัน 5. รวมสองครึ่งปฏิกิริยาเข้าด้วยกัน + + Fe3+ Mn2+ MnO4- Fe2+ + e- Fe3+ Fe2+ 5 5 สมการที่ดุลเรียบร้อยแล้วคือ 5 + + 5e- Mn2+ MnO4- + 4H2O 8H+ + MnO4- + + Mn2+ + 5Fe2+ 5Fe3+ 8H+ 4H2O
Balancing Equations การดุลปฏิกิริยารีดอกซ์โดยใช้ครึ่งปฏิกิริยาในเบส 1. แยกปฏิกิริยารีดอกซ์ออกเป็นครึ่งปฏิกิริยาออกซิเดชันและครึ่งปฏิกิริยารีดักชัน และดุลแต่ละครึ่งปฏิกิริยา ยกเว้น H และ O วิธีเดียวกับปฏิกิริยาในกรด 2. ดุล O โดยการเติม H2O และ ดุล H โดยการเติม H+ 3. ดุลประจุของแต่ละครึ่งปฏิกิริยาโดยการเติมอิเล็กตรอน 4. ทำจำนวนอิเล็กตรอนที่ให้และที่รับในแต่ละครึ่งปฏิกิริยาเท่ากัน 5. รวมสองครึ่งปฏิกิริยาเข้าด้วยกัน 6. เปลี่ยน H+ ให้เป็น H2O โดยการเติม OH -ทั้งสองข้าง 7. กำจัดน้ำที่มีอยู่ในสมการทั้ง 2 ข้าง + MnO4- C2O42- + MnO2 CO32- + C2O42- 2 + CO32- + 2e- 3 2H2O 3 3 3 4H+ 3 + + MnO4- + 3 e- MnO2 2 2 4H+ 2 2 2 2H2O สมการที่ดุลเรียบร้อยแล้วคือ + 2MnO4- + + + + 6CO32- + 4OH- 3C2O42- 2MnO2 4OH- 2H2O 4H+ + 4OH- + 2MnO4- + 3C2O42- 2MnO2 + 6CO32- 2H2O
ทำแบบฝึกหัด 9.2 ข้อ 2-4 เพื่อทบทวนความเข้าใจ ด้วยนะคะ ระวังจะเรียนเรื่องต่อไป ไม่เข้าใจเน้อ
แบบฝึกหัด 9.2 ข้อ1(ก) การดุลปฏิกิริยารีดอกซ์โดยใช้เลขออกซิเดชัน 1. หาเลขออกซิเดชันของสารที่เปลี่ยนแปลง 2. ทำเลขออกซิเดชันที่เพิ่มขึ้นและเลขออกซิเดชันที่ลดลงให้เท่ากัน 3. ดุลจำนวนอะตอมของธาตุ และประจุไฟฟ้า ของสารตั้งต้นและสารผลิตภัณฑ์ สมการที่ดุลเรียบร้อยแล้วคือ Al= 0 H=+1 Al=+3 H= 0 + + Al(s) 2 6 3 2 H+(aq) Al3+(aq) 2 3 H2(aq) ตัวรีดิวซ์ เลขออกซิเดชันเพิ่มขึ้น= 3 2= 6 ตัวออกซิไดซ์ เลขออกซิเดชันลดลง= 12 = 2 3= 6
แบบฝึกหัด 9.2 ข้อ1(ข) การดุลปฏิกิริยารีดอกซ์โดยใช้เลขออกซิเดชัน 1. หาเลขออกซิเดชันของสารที่เปลี่ยนแปลง 2. ทำเลขออกซิเดชันที่เพิ่มขึ้นและเลขออกซิเดชันที่ลดลงให้เท่ากัน 3. ดุลจำนวนอะตอมของธาตุ และประจุไฟฟ้า ของสารตั้งต้นและสารผลิตภัณฑ์ สมการที่ดุลเรียบร้อยแล้วคือ S= -2 O = 0 S=+4 O = -2 + + H2S (s) 2 2 3 3 O2(g) 2 SO2(g) 2 H2O (aq) 2 ตัวรีดิวซ์ เลขออกซิเดชันเพิ่มขึ้น= 6 ตัวออกซิไดซ์ เลขออกซิเดชันลดลง= 23 = 6
แบบฝึกหัด 9.2 ข้อ1(ค) การดุลปฏิกิริยารีดอกซ์โดยใช้เลขออกซิเดชัน 1. หาเลขออกซิเดชันของสารที่เปลี่ยนแปลง 2. ทำเลขออกซิเดชันที่เพิ่มขึ้นและเลขออกซิเดชันที่ลดลงให้เท่ากัน 3. ดุลจำนวนอะตอมของธาตุ และประจุไฟฟ้า ของสารตั้งต้นและสารผลิตภัณฑ์ สมการที่ดุลเรียบร้อยแล้วคือ Cu= 0 N=+5 Cu=+2 N= +2 + Cu(s) 3 2 HNO3(aq) Cu2+(aq) 3 + 2 NO (g) + H2O (l) ตัวรีดิวซ์ เลขออกซิเดชันเพิ่มขึ้น= 2 3= 6 ตัวออกซิไดซ์ เลขออกซิเดชันลดลง= 3 2= 6
แบบฝึกหัด 9.2 ข้อ1(ง) การดุลปฏิกิริยารีดอกซ์โดยใช้เลขออกซิเดชัน 1. หาเลขออกซิเดชันของสารที่เปลี่ยนแปลง 2. ทำเลขออกซิเดชันที่เพิ่มขึ้นและเลขออกซิเดชันที่ลดลงให้เท่ากัน 3. ดุลจำนวนอะตอมของธาตุ และประจุไฟฟ้า ของสารตั้งต้นและสารผลิตภัณฑ์ Cr = +6 Cl = -1 Cr =+3 Cl = 0 + + + + 2 Cl-(aq) 14 H+(aq) Cr3+(aq) 2 3 Cl2(g) 7 H2O (l) Cr2O72-(aq) 3 ตัวออกซิไดซ์ เลขออกซิเดชัน ลดลง= 32 = 6 ตัวรีดิวซ์ เลขออกซิเดชันเพิ่มขึ้น= 12 =2 3= 6
แบบฝึกหัด 9.2 ข้อ1(จ) การดุลปฏิกิริยารีดอกซ์โดยใช้เลขออกซิเดชัน 1. หาเลขออกซิเดชันของสารที่เปลี่ยนแปลง 2. ทำเลขออกซิเดชันที่เพิ่มขึ้นและเลขออกซิเดชันที่ลดลงให้เท่ากัน 3. ดุลจำนวนอะตอมของธาตุ และประจุไฟฟ้า ของสารตั้งต้นและสารผลิตภัณฑ์ Mn = +7 S= -2 Mn=+2 S= 0 + 5 S2-(aq) + + + 2 MnO-4(aq) 4 H+(aq) 2 Mn2+(aq) 8 H2O (l) S (s) 5 ตัวออกซิไดซ์ เลขออกซิเดชัน ลดลง= 5 2= 10 ตัวรีดิวซ์ เลขออกซิเดชันเพิ่มขึ้น= 2 5= 10
แบบฝึกหัด 9.2 ข้อ1(ฉ) การดุลปฏิกิริยารีดอกซ์โดยใช้เลขออกซิเดชัน 1. หาเลขออกซิเดชันของสารที่เปลี่ยนแปลง 2. ทำเลขออกซิเดชันที่เพิ่มขึ้นและเลขออกซิเดชันที่ลดลงให้เท่ากัน 3. ดุลจำนวนอะตอมของธาตุ และประจุไฟฟ้า ของสารตั้งต้นและสารผลิตภัณฑ์ Zn = 0 Mn=+7 Zn=+2 Mn= +4 + 2 MnO4-(aq) + + + Zn(s) 3 4 H2O (l) Zn2+(aq) 3 2 MnO2(aq) 8 OH-(aq) ตัวรีดิวซ์ เลขออกซิเดชันเพิ่มขึ้น= 2 3= 6 ตัวออกซิไดซ์ เลขออกซิเดชันลดลง= 3 2= 6
แบบฝึกหัด 9.2 2. จงดุลสมการต่อไปนี้โดยใช้ครึ่งปฏิกิริยา ก. ข. ค. ง. ไม่มีประโยชน์อะไรที่จะดูเฉลย ถ้าไม่ลองทำมาก่อน
แบบฝึกหัด 9.2 ข้อ2(ก) การดุลปฏิกิริยารีดอกซ์โดยใช้ครึ่งปฏิกิริยาในกรด 1. แยกปฏิกิริยารีดอกซ์ออกเป็นครึ่งปฏิกิริยาออกซิเดชันและครึ่งปฏิกิริยารีดักชัน และดุลแต่ละครึ่งปฏิกิริยา ยกเว้น H และ O 2. ดุล O โดยการเติม H2O และ ดุล H โดยการเติม H+ 3. ดุลประจุของแต่ละครึ่งปฏิกิริยาโดยการเติมอิเล็กตรอน 4. ทำจำนวนอิเล็กตรอนที่ให้และที่รับในแต่ละครึ่งปฏิกิริยาเท่ากัน 5. รวมสองครึ่งปฏิกิริยาเข้าด้วยกัน +2 +3 +4 +2 + + Fe2+(aq) + H+(aq) + Fe3+(aq) H2O(l) MnO2 (s) Mn2+(aq) + e- Fe3+ Fe2+ 2 2 2 สมการที่ดุลเรียบร้อยแล้วคือ + + + 2e- Mn2+ MnO2 2H2O 4H+ + MnO2 + + Mn2+ + 2Fe2+ 2Fe3+ 4H+ 2H2O
แบบฝึกหัด 9.2 ข้อ2(ข) การดุลปฏิกิริยารีดอกซ์โดยใช้ครึ่งปฏิกิริยาในกรด 1. แยกปฏิกิริยารีดอกซ์ออกเป็นครึ่งปฏิกิริยาออกซิเดชันและครึ่งปฏิกิริยารีดักชัน และดุลแต่ละครึ่งปฏิกิริยา ยกเว้น H และ O 2. ดุล O โดยการเติม H2O และ ดุล H โดยการเติม H+ 3. ดุลประจุของแต่ละครึ่งปฏิกิริยาโดยการเติมอิเล็กตรอน 4. ทำจำนวนอิเล็กตรอนที่ให้และที่รับในแต่ละครึ่งปฏิกิริยาเท่ากัน 5. รวมสองครึ่งปฏิกิริยาเข้าด้วยกัน +4 -1 0 +6 + + SO2(g) + H2O (l) + Cl-(aq) H+(aq) Cl2 (g) SO42-(aq) SO2 + SO42- + 2e- + 2H2O 4H+ สมการที่ดุลเรียบร้อยแล้วคือ + 2e- Cl- Cl2 2 + Cl2 + SO2 SO42- + + 2Cl- 2 H2O 4H+