1 / 22

การจัดการสถานการณ์ความไม่ปลอดภัยด้านอาหารและกรณีศึกษาเมลามีน

การจัดการสถานการณ์ความไม่ปลอดภัยด้านอาหารและกรณีศึกษาเมลามีน. ดร. ทิพย์ วรรณ ปริญญา ศิริ ผู้อำนวยการสำนักอาหาร สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา.

zia-walton
Télécharger la présentation

การจัดการสถานการณ์ความไม่ปลอดภัยด้านอาหารและกรณีศึกษาเมลามีน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การจัดการสถานการณ์ความไม่ปลอดภัยด้านอาหารและกรณีศึกษาเมลามีนการจัดการสถานการณ์ความไม่ปลอดภัยด้านอาหารและกรณีศึกษาเมลามีน ดร. ทิพย์วรรณ ปริญญาศิริ ผู้อำนวยการสำนักอาหาร สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข 1

  2. หัวข้อนำเสนอ เป้าหมายการคุ้มครองผู้บริโภคและบทบาทหน้าที่ อย. พ.ร.บ.อาหาร พ.ศ.2522 และกรอบการดำเนินงาน กรณีศึกษา “อุบัติการณ์เมลามีน” มาตรการจัดการปัญหาเมลามีนของ อย. สรุปการจัดการอุบัติการณ์เมลามีนของ อย. ระบบแจ้งเตือนภัยด้านอาหารของประเทศไทย (FAST) สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข 2

  3. เป้าหมายการคุ้มครองผู้บริโภคเป้าหมายการคุ้มครองผู้บริโภค และบทบาทหน้าที่ของ อย. ความปลอดภัย บทบาทของ อย. -ผลิตภัณฑ์อาหาร -ผู้ผลิต/นำเข้าอาหาร -ผู้บริโภค -ออกกฎหมาย -ควบคุมอาหารและโฆษณา -อนุญาต/พักใช้/เพิกถอน -พนักงานเจ้าหน้าที่ -ลงโทษผู้กระทำผิด -ให้ข้อมูลแก่สาธารณชน พรบ.อาหาร พ.ศ.2522 สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข 3

  4. เป้าหมายการคุ้มครองผู้บริโภคเป้าหมายการคุ้มครองผู้บริโภค และบทบาทหน้าที่ของ อย. รูปแบบการคุ้มครองผู้บริโภคของประเทศไทย ผู้บริโภค ฉลาก & โฆษณา ถูกต้อง อาหารปลอดภัย คุ้มค่า สมประโยชน์ ผู้ประกอบการ ผลิตตามมาตรฐานที่กำหนด โดยใช้หล้กบริหารความเสียง อุตสาหกรรมการผลิต เจ้าหน้าที่ ตรวจกำกับ &ดำเนินการตามกม. กทม./อบท./อบต,/สสจ. อย. กำหนดมาตรฐาน และดำเนินการ เพื่อ การคุ้มครองผู้บริโภค เพื่อ สร้างหลักประกันความมั่นใจ ส่วนกลาง สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข 4

  5. หัวข้อนำเสนอ เป้าหมายการคุ้มครองผู้บริโภคและบทบาทหน้าที่ อย. พ.ร.บ.อาหาร พ.ศ.2522 และกรอบการดำเนินงาน กรณีศึกษา “อุบัติการณ์เมลามีน” มาตรการจัดการปัญหาเมลามีนของ อย. สรุปการจัดการอุบัติการณ์เมลามีนของ อย. ระบบแจ้งเตือนภัยด้านอาหารของประเทศไทย (FAST) สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข 5

  6. คณะกรรมการอาหาร มีหน้าที่ให้คำแนะนำแก่รัฐมนตรี ปลอดภัย ประกาศกระทรวง คุ้มค่า วัตถุดิบ/ ผลิตภัณฑ์ กระบวนการผลิต/ สถานที่ผลิต Risk management Risk assessment สมประโยชน์ อนุกรรมการ การโฆษณา Risk communication พนักงาน/เจ้าหน้าที่ โทษ หน้าที่: • กำกับดูแล • ตรวจติดตาม ♠ ถูกเพิกถอนสิทธิ์/ ยกเลิก /พักการใช้ใบอนุญาต (ตามเงื่อนไข) สิทธิ: • ได้รับความร่วมมือจากผู้ประกอบการ • เข้าตรวจสถานที่/ เอกสาร/ ผลิตภัณฑ์ ♠ จำคุก/ ปรับ (ตามเงื่อนไข) บทบาทของผู้เกี่ยวข้องตามพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ.2522 รัฐมนตรี อย. ผู้ประกอบการ • อนุญาต • เพิกถอน ยกเลิกการอนุญาต • แต่งตั้งพนักงาน/เจ้าหน้าที่ อำนาจ: หน้าที่: • ขออนุญาตผลิต • ปฏิบัติตามประกาศกระทรวง • ให้ความร่วมมือกับเจ้าหน้าที่ สิทธิ: • ได้รับอนุญาตการผลิต

  7. การควบคุมอาหารตาม พรบ.อาหาร พ.ศ.2522 สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กำกับดูแล คุ้มครอง กฎหมาย ผู้ประกอบการ ผู้บริโภค (มาตรฐานบังคับ) ปลอดภัย คุ้มค่า สมประโยชน์ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข 7

  8. หัวข้อนำเสนอ เป้าหมายการคุ้มครองผู้บริโภคและบทบาทหน้าที่ อย. พ.ร.บ.อาหาร พ.ศ.2522 และกรอบการดำเนินงาน กรณีศึกษา “อุบัติการณ์เมลามีน” มาตรการจัดการปัญหาเมลามีนของ อย. สรุปการจัดการอุบัติการณ์เมลามีนของ อย. ระบบแจ้งเตือนภัยด้านอาหารของประเทศไทย (FAST) สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข 8

  9. กรณีศึกษา “อุบัติการณ์เมลามีน” ปีพ.ศ.2551 องค์การอนามัยโลก(WHO) แจ้งอุบัติการณ์การปนเปื้อนสารเมลามีน ดังนี้ • 17 ก.ย. 51 พบทารกและเด็กเล็กป่วยด้วย โรคนิ่วมากกว่า 6,240 ราย และ เสียชีวิต 3 ราย สาเหตุจากการบริโภค ผลิตภัณฑ์นมปนเปื้อนเมลามีน • China’s National Inspection Agency ตรวจสอบพบว่า โรงงานมากกว่า 22 แห่ง • มี เมลามีนปนเปื้อน ในระดับ 0.09 – 2,560 มก./กก. • ประเทศจีนได้มี มาตรการเรียกคืนสินค้า ทั้งที่ส่งออก และจำหน่ายในประเทศ สรุปสถานการณ์ในช่วงเดือนกันยายน-พฤศจิกายน 2551มีรายงานจำนวนทารกในประเทศจีนที่ได้รับผลกระทบจากสารเมลามีนปนเปื้อนในนมมากกว่า 240,000 คน ในจำนวนนี้ต้องเข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาลจำนวนมากกว่า 51,900 คน และเสียชีวิตไปแล้ว 6 คน

  10. มาตรการจัดการปัญหาเมลามีนของ อย. 1. มาตรการออกกฎหมาย 2. การควบคุมการนำเข้า 3. การตรวจสอบกำกับณ สถานที่ผลิต 4. การเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์ 5. การสื่อสารและประชาสัมพันธ์ Thai FDA Ministry of Public Health 10

  11. 1. มาตรการทางด้านกฎหมาย ประกาศฯ (ฉบับที่ 311) พ.ศ.2551 เรื่อง กำหนดอาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย 1. กำหนดเงื่อนไขอาหารที่ตรวจพบสารเมลามีนและสารในกลุ่มเมลามีนรวมกัน ดังนี้ 1.1ไม่เกิน 1 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม (1 ppm) สำหรับ - นมดัดแปลงสำหรับทารกและนมดัดแปลงสูตรต่อเนื่องสำหรับทารกละเด็กเล็ก - นมผงชนิดพร่องมันเนย นมผงชนิดขาดมันเนย นมผงแปลงไขมันชนิดเต็มไขมัน และนมผงแปลงไขมันชนิดพร่องไขมัน 1.2 ไม่เกิน 2.5 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม (2.5 ppm) สำหรับ - อาหารที่มีนม หรือองค์ประกอบของนมเป็นส่วนผสม - อาหารอื่นๆ 2.ผู้นำเข้าอาหารจากประเทศจีน จะต้องแสดงผลวิเคราะห์จากหน่วยงานรัฐ เอกชน หรือหน่วยงานเอกชนที่มีระบบประกันคุณภาพตามมาตรฐานสากล หากผู้ประกอบการรายใดฝ่าฝืน ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่ 6 เดือน ถึง 2 ปี และปรับตั้งแต่ 5,000-20,000 บาท

  12. 2.การกำกับ ดูแลอาหารนำเข้า ควบคุมเมื่ออาหารเข้ามาในราชอาณาจักร ควบคุม ณ ด่านอาหารและยา 41 ด่าน ทั่วประเทศไทย ส่วนกลาง : สำนักอาหาร ส่วนภูมิภาค : สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด

  13. การดำเนินการ ณ ด่านอาหารและยา 2.การกำกับ ดูแลอาหารนำเข้า (ต่อ) Thai FDA Ministry of Public Health 13

  14. 3. การตรวจสอบกำกับ ณ สถานที่ผลิต ตรวจสอบวัตถุดิบที่นำเข้าจาก ประเทศจีนเพื่อใช้ในการผลิต

  15. 4. เฝ้าระวัง ผลิตภัณฑ์ ตรวจสอบเฝ้าระวัง และสุ่มเก็บตัวอย่างผลิตภัณฑ์นมและ อาหารที่มีนมเป็นส่วนประกอบในท้องตลาด

  16. 5. การสื่อสารและประชาสัมพันธ์ 1. ประสานกรมควบคุมโรคเฝ้าระวังทารกที่สงสัย ว่าได้รับพิษจากสารเมลานีน (เป็นนิ่ว, ไตวาย) 2. แจ้งสำนักงานสาธารณสุขทุกจังหวัดให้เฝ้า ระวังติดตามผู้ป่วย รวมถึงมาตรการดำเนินการ 3. ประชาสัมพันธ์ให้ผู้บริโภคทราบเกี่ยวกับ การเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ที่มีความปลอดภัย 4. แจ้งข้อมูลข่าวสารแก่ผู้บริโภคผ่านทางเว็บไซด์ รายการทีวี รายการวิทยุ และหนังสือพิมพ์ 5. มีสายด่วนรับเรื่องร้องเรียน 1669, 1556

  17. 5. การสื่อสารและประชาสัมพันธ์ (ต่อ) อย. ติดตามสถานการณ์ และเผยแพร่บนเว็บไซด์ทุกวัน

  18. รมช. ดื่มนม เพื่อสร้างความมั่นใจให้กับผู้บริโภค 5. การสื่อสารและประชาสัมพันธ์ (ต่อ) จุดจบ/ จุดเปลี่ยน อุตสาหกรรมนม ‘ไทย’

  19. หัวข้อนำเสนอ เป้าหมายการคุ้มครองผู้บริโภคและบทบาทหน้าที่ อย. พ.ร.บ.อาหาร พ.ศ.2522 และกรอบการดำเนินงาน กรณีศึกษา “อุบัติการณ์เมลามีน” มาตรการจัดการปัญหาเมลามีนของ อย. สรุปการจัดการอุบัติการณ์เมลามีนของ อย. ระบบแจ้งเตือนภัยด้านอาหารของประเทศไทย (FAST) สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข 19

  20. สรุปการจัดการอุบัติการณ์เมลามีนของ อย. บทบาทของ อย.ตาม พรบ.อาหาร 2522 มาตรการป้องกัน การแก้ไขสถานการณ์ 1.เฝ้าระวังสินค้าในท้องตลาด 2.คุมเข้าการผลิต/นำเข้า นมและผลิตภัณฑ์ของนมจากจีน 3.ตรวจสอบสถานที่ผลิต 4.สื่อสารข้อมูลและมาตรการไปยังผู้เกี่ยวข้องรวมถึงผู้บริโภค อาหาร: ออกกฎหมาย/มาตรการ ยึด/อายัด/ทำลาย ผู้ผลิต/ผู้นำเข้า: งดผลิต/นำเข้า ผู้ค้าปลีก: นำลงจากชั้นวาง/งดจำหน่าย ผู้บริโภค: ประชาสัมพันธ์/ให้ข้อเท็จจริง และคำแนะนำ

  21. ระบบแจ้งเตือนภัยด้านอาหารของประเทศไทย (FAST) -ข้อมูลสินค้าไม่ปลอดภัย/ความเจ็บป่วย -ผลการตรวจวิเคราะห์ -เส้นทางการจัดจำหน่าย/การกระจายปัญหา ข้อมูลผู้แจ้ง ประเภทผลิตภัณฑ์ ลักษณะอันตราย ผลการตรวจสอบและดำเนินการเบื้องต้น 2 แจ้งอุบัติการณ์ด้านอาหาร อุบัติการณ์ด้านอาหาร 1 รวมรวมข้อมูล --- กำหนดให้เป็นสื่อสาร 2 ทาง --- ดำเนินการ ตรวจสอบ เรียกคืน อายัด ทำลาย 5 รายงานผล หน่วยงานเครือข่าย หน่วย FAST สรุปภาพรวม แจ้งปิดอุบัติการณ์ 6 3 ประเมินความเสี่ยงและสื่อสารมาตรการ 4 ข้อเท็จจริงทางวิชาการและมาตรการแก้ไขปัญหาตามกฎหมาย มีการแจ้ง 2 แบบ 1. เพื่อดำเนินการ (For Action) 2. เพื่อทราบ (For Information) แจ้งเตือนภัยด้านอาหาร วิเคราะห์ข้อมูลภาพรวมทั้งอันตรายและการกระจาย ทั้งใน-ต่างประเทศ และประสานมาตรการ เช่น การตรวจสอบสถานที่ การเรียกคืน การอายัด การทำลาย

  22. ขอขอบคุณ

More Related