1 / 44

Joomla Open source (JOS) Content Management System (CMS)

Joomla Open source (JOS) Content Management System (CMS). 6-7 กุมภาพันธ์ 2553 ณ โรงเรียนกัลยาณวัตร By w e b m a s t e r @ e s a r n . c o m. รู้จักกับ Joomla. รู้จักกับ. รู้จักกับ Joomla !

ziazan
Télécharger la présentation

Joomla Open source (JOS) Content Management System (CMS)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Joomla Open source (JOS)Content Management System (CMS) 6-7 กุมภาพันธ์ 2553 ณ โรงเรียนกัลยาณวัตร By w e b m a s t e r @ e s a r n . c o m

  2. รู้จักกับ Joomla

  3. รู้จักกับ • รู้จักกับ Joomla! • Joomla! (อ่านออกเสียงว่า "จูมล่า") เป็นซอฟต์แวร์สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปจัดเป็น CMS โดยมีลิขสิทธิ์เป็นโอเพ่นซอร์ส ทุกคนทั่วโลกสามารถนำไปใช้งานได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย มีระบบจัดการรูปแบบและเนื้อหาของเว็บไซต์ที่ดี มีเว็บไซต์อย่างเป็นทางการ คือ www.joomla.org • Joomla! สามารถประยุกต์ใช้ตามรูปแบบที่ต้องการได้ง่าย สามารถนำมาจัดทำเว็บไซด์ได้ในหลายๆ รูป เช่น เว็บท่า เว็บ Blog เว็บ e-Commerce

  4. รู้จักกับ • รู้จักกับ Joomla! • Joomla! ใช้งานง่าย ไม่ซับซ้อน เหมาะสมตั้งแต่ ผู้ที่ยังไม่มีประสบการณ์พัฒนาเว็บไซต์ ไปจนถึงผู้พัฒนาเว็บไซด์มืออาชีพ • Joomla! มีรูปแบบในการจัดทำ Package ทำให้สามารถติดตั้งหรือถอดถอนการติดตั้งได้โดยง่าย • จุดแข็งของ Joomla! คือ สามารถสร้างเว็บไซต์ได้อย่างรวดเร็ว ง่าย และมีประสิทธิภาพสูง ประหยัดเวลาในการออกแบบ ลดค่าใช่จ่ายได้มาก

  5. รู้จักกับ • รู้จักกับ Joomla! • Joomla! เป็น CMS ที่มีเครือข่ายของผู้พัฒนาทั่วโลก ทั้งหมด จะพัฒนาแยกอิสระหลายส่วน เช่น คอมโพเนนต์ โมดูล และ แมมบอท ซึ่งในแต่ละแพ็กเกจสามารถนำมาติดตั้งเพื่ออัพเกรดได้ ตามวัตถุประสงค์ของผู้ใช้งาน

  6. รู้จักกับ • การประยุกต์ใช้ Joomla! • เว็บไดเรกทอรี เช่น รวมรายชื่อเว็บไซต์ รายชื่อ บุคคล หรือ ข้อมูลเฉพาะที่มีรายการมากๆ • เว็บจัดการกับเอกสาร เช่น เอกสารออนไลน์ คู่มือทางเทคนิค หรือ FAQ บทความ รีวิวต่างๆ • เว็บแกลอรีรูปภาพและมัลติมีเดีย เช่น แสดงรูปภาพเกี่ยวกับสัตว์ คน สิ่งของ เฟอร์นิเจอร์ รถยนต์ ของสะสม • เว็บไซต์ด้านอีคอมเมิร์ซ เช่น ขายสินค้า การเก็บเงิน • เว็บบล็อก เช่น เผยแพร่ประวัติส่วนตัว เรื่องประจำวัน เรื่องที่น่าประทับใจ หรือ ข้อเรียกร้องต่อสาธารณชน

  7. รู้จักกับ 1.0.15 • Joomla!version 1.0.x

  8. รู้จักกับ 1.5.14 • Joomla!version 1.5.x

  9. รู้จักกับ • ความต้องการของระบบ -ในการใช้งาน Joomla! คุณต้องทำการติดตั้งโปรแกรมเว็บเซิร์ฟเวอร์ หรือบนเว็บโฮสติ้งที่จะใช้รัน Joomla! ควรมีซอฟต์แวร์ (เว็บเซิร์ฟเวอร์) ดังนี้ • PHP 4.2.x ขึ้นไป (แนะนำใช้ PHP 5) • MySQL 3.23.x ขึ้นไป • Apache 1.13.19 ขึ้นไป -เว็บเบราเซอร์ที่ Joomla! ทำงานด้วยได้ ได้แก่ Firefox, Netscape, IE 5.5, IE 6.0, IE 7.0 หรือสูงกว่า

  10. เว็บไซต์ทางการของ Joomla http://www.joomla.org/ 1.5.14

  11. เว็บไซต์ Joomla ในประเทศไทย http://www.joomlacorner.com/ Joomla! LaiThai

  12. การใช้งาน Joomlaเบื้องต้น

  13. โปรแกรม joomlaจะแบ่งเว็บไซต์ออกเป็นสองส่วนหลัก ๆ คือ • frontend คือส่วนที่แสดงผลให้กับผู้เข้าชมเว็บไซต์ หรืออีกนัยหนึ่งก็คือเนื้อหาของเว็บไซต์นั่นเอง • backend คือส่วนการจัดการเนื้อหารวมถึงโครงสร้างของเว็บไซต์ หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่าส่วน administrator

  14. frontend

  15. backend

  16. การจัดการ User ใน Joomla! • การจัดการ User ใน Joomla! เว็บไซต์ที่สร้างด้วย Joomla! จะเกี่ยวข้องกับผู้ใช้หรือ User 2 กลุ่ม คือ • Guests คือผู้เข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์ที่ไม่ได้สมาชิก ซึ่งผู้ที่เป็น Guests จะใช้งานเว็บไซต์ได้ไม่เต็มที่ ทั้งนี้ Super Admin หรือ เว็บมาสเตอร์ จะเป็นผู้กำหนดสิทธิ์ในการใช้งานส่วนต่างๆ บนเว็บไซต์ เช่นการดูข้อมูลในบางส่วนของเว็บไซต์จะไม่สามรถเข้าถึงได้

  17. การจัดการ User ใน Joomla! • การจัดการ User ใน Joomla! Registered คือผู้เข้าเยี่ยมชมที่ลงทะเบียนไว้กับทางเว็บไซต์ ซึ่งมีขอบเขตการใช้งานที่กว้างกว่า guests โดยผู้ใช้จะต้องลงทะเบียนสมัครกับทางเว็บไซต์ จากนั้นเมื่อเข้าชมเว็บไซต์จะต้องทำการป้อนชื่อและรหัสผ่านเพื่อพิสูจน์ตัวตนก่อนเข้าใช้งานเว็บไซต์ แต่ถ้าไม่ได้ทำการล็อกอิน ขอบเขตการทำงานก็จะถือว่าเป็นเพียง Guests เท่านั้น โดย Joomla! แบ่งกลุ่มผู้ใช้ที่เป็น Registered ออก เป็น 2 กลุ่ม คือ • Front-end • Back-end

  18. การจัดการ User ใน Joomla! • ผู้ใช้กลุ่ม Front-End ผู้ใช้กลุ่มนี้จะมีสิทธิพิเศษในการเข้าใช้งานสูงกว่ากลุ่ม Guests ซึ่งรวมถึงสามารถสร้างและเผยแพร่ข้อมูลบนเว็บไซต์ได้ โดย Joomla! มีชุดคำสั่งที่เตรียมไว้ให้สมาชิกในการเผยแพร่ข้อมูลของตัวเองได้ และสามารถจัดการคอนเท็นต์ได้ตามขอบเขตที่เว็บมาสเตอร์กำหนด โดยแบ่งเป็น 4 ระดับ คือ • ผู้ลงทะเบียน (Registered) • ผู้เขียนเนื้อหา (Author) • ผู้ตรวจสอบเนื้อหา (Editor ) • ผู้รับผิดชอบการเผยแพร่ข้อมูลระดับสูงสุด (Publisher)

  19. การจัดการ User ใน Joomla! • ผู้ใช้กลุ่ม Front-End

  20. การจัดการ User ใน Joomla! • ผู้ใช้กลุ่ม Back-End ผู้ใช้กลุ่มนี้เป็นกลุ่มที่เกี่ยวข้องกับระบบต่างๆ บนเว็บไซต์ ซึ่งแบ่งออกเป็น 3ระดับ คือ Manager, Admin, และ Super Admin ซึ่งในการจัดการข้อมูลสำคัญของระบบจะใช้ผู้ใช้ระดับ Admin และ Super Admin เป็นผู้จัดการ

  21. การจัดการเนื้อหา (Content Management)

  22. ลักษณะเนื้อหาของ Joomla มี 2 แบบ การจัดการเนื้อหา (Content Management) • เนื้อหาแบบไม่มีหมวดหมู่ (Uncategorized) • เนื้อหาแบบมีหมวดหมู่ (Categoriezed)

  23. เนื้อหาแบบไม่มีหมวดหมู่ (Uncategorized) การจัดการเนื้อหา (Content Management) • เนื้อหาคงที่ไม่ค่อยมีการเปลี่ยนแปลง • เช่น ประวัติหน่วยงาน • วิสัยทัศน์ • พันธกิจ

  24. เนื้อหาแบบมีหมวดหมู่ (Categorized) การจัดการเนื้อหา (Content Management) การจัดการเนื้อหาลักษณะการเก็บข้อมูลที่เป็นหมวดหมู่ และมีการเปลี่ยนแปลงบ่อย ๆ • (การจัดการหมวดหมู่เนื้อหา) Sections Manager • (การจัดการประเภทเนื้อหา) Categories Manager • (รายการเนื้อหา) Article

  25. โครงสร้างของระบบการจัดการเนื้อหาบนเว็บไซต์โครงสร้างของระบบการจัดการเนื้อหาบนเว็บไซต์ การจัดการเนื้อหา (Content Management)

  26. ตัวอย่างโครงสร้างของระบบการจัดการเนื้อหาบนเว็บไซต์ตัวอย่างโครงสร้างของระบบการจัดการเนื้อหาบนเว็บไซต์ การจัดการเนื้อหา (Content Management)

  27. โปรแกรมส่วนเสริม (Extension)

  28. โปรแกรมส่วนเสริม (Extension) โปรแกรมส่วนเสริม (Extensions) ทำหน้าที่ช่วยขยายขีดความสามารถทำงานของ Joomla CMS ให้สามารถทำงานได้ตามวัตถุประสงค์โดยไม่จำเป็นต้องเขียนโปรแกรมเพิ่มเติม เพียงดาวน์โหลดโปรแกรมเสริมที่ต้องการ และนำไปติดตั้งผ่านระบบบริหารจัดการของ Joomla CMS ก็ใช้งานได้ทันที รวมทั้งสามารถติดตั้งหรือถอดถอนการติดตั้งได้โดยง่าย

  29. โปรแกรมส่วนเสริม (Extension) • Extension ประกอบไปด้วย • Component • Module • Plugin • Template http://extensions.joomla.org/

  30. โปรแกรมส่วนเสริม (Extension) Component • เป็นโปรแกรมเสริมที่เพิ่มความสามารถการทำงานให้กับโปรแกรมหลัก โดยไม่จำเป็นต้องเขียนโปรแกรมใหม่ให้เสียเวลา เพียงแต่ดาวน์โหลด Component มาติดตั้งก็ใช้งานได้แล้ว • การติดตั้ง Component จะเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างฐานข้อมูลหลัก และโครงสร้างไดเรคทอรี่ส์ของ Hosing เพื่อให้สามารถบันทึกข้อมูลต่างๆลงในฐานข้อมูลได้ • การติดตั้งมีข้อควรระวังเบื้องต้นเหมือนกัน คือความไม่เสถียรของ Component ที่บางครั้งอาจจะทำให้ระบบเสียหาย เพราะการติดตั้ง Component จะต้องเข้าไปยุ่งเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างฐานข้อมูลหลัก ดังนั้นการติดตั้งควรที่จะเลือกเอาเฉพาะเวอร์ชั่นที่เสถียรแล้ว (STABLE) จะดีกว่า • ตัวอย่าง เช่น กระดานสนทนา (FireBoard Forum) การจัดการเอกสารดาวน์โหลด (Docman) ภาพกิจกรรม (Phoca Gallery) เป็นต้น

  31. โปรแกรมส่วนเสริม (Extension) Module • เป็นโปรแกรมเสริมที่ช่วยในการดึงข้อมูลจากฐานข้อมูลภายในมานำเสนอผ่านหน้า เว็บ แต่ก็มีบางโปรแกรมที่ถึงเอาข้อมูลจากภายนอกมาใส่ไว้ในเว็บของเราได้เช่นกัน • แสดงผลตามตำแหน่งหรือ Position ที่มีใน Template ตามที่เรากำหนดไว้ • การทำงานของ Module ทำให้เว็บไซต์ที่สร้างจาก Joomla CMS มีการนำเสนอข้อมูลที่มีความสวยงาม และหลากหลาย เช่น โมดูลการนำเสนอข้อมูลดัชนีซื้อขาย-หลักทรัพย์ โมดูลแสดงรายการบทความใหม่ โมดูลแสดงสถิติผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์ เป็นต้น • Joomla CMS มีโมดูลจำนวนมากที่จะช่วยทำให้เว็บของเรานำเสนอข้อมูลได้น่าสนใจ การติดตั้งโมดูลก็ทำตามปกติ ดาวน์โหลดจากเว็บไซต์ www.joomla.org เลือกหาโมดูลที่ชอบ แล้วดาวน์โหลดลงมา หลังจากนั้นก็ติดตั้งเข้าไปเป็นอันใช้ได้

  32. โปรแกรมส่วนเสริม (Extension) Plug-in • เป็นส่วนแก้ไขเพิ่มเติมให้กับโปรแกรมหลักเพื่อเพิ่มความสามารถให้กับความสามารถเดิมที่มีอยู่แล้วให้ทำงานได้ดียิ่งขึ้น เช่น การค้นหาข้อมูลในเว็บไซต์ ถ้ามีการเพิ่มเติม Component เกี่ยวกับปฏิทินกิจกรรมเข้าไป ก็จะต้องไปเพิ่มความสามารถให้กับฟังก์ชั่นการค้นหาให้รู้จักกับฐานข้อมูล ปฏิทินกิจกรรม เป็นต้น

  33. โปรแกรมส่วนเสริม (Extension) Template • เป็นรูปแบบเว็บไซต์ ที่แสดงกราฟิกหรือหน้าตา สไตล์ของเว็บไซต์ • การเลือก Template ควรเลือกที่มีโทนสีที่สบายตา และมีตำแหน่งต่างๆ (Position) ตามที่เราต้องการ • Template ที่เลือกใช้ ควรสามารถนำมาปรับแก้ไขได้ง่าย

  34. School Administrative Unit 21 Technology Department

  35. Joomla Structure footer

  36. Position

  37. http://www.themza.com/joomla1.5/

  38. http://www.siteground.com/joomla-hosting/joomla-templates.htmhttp://www.siteground.com/joomla-hosting/joomla-templates.htm

  39. ตัวอย่างเว็บไซต์ที่พัฒนาโดยใช้ Joomla http://www.raikhingonline.org/

  40. ตัวอย่างเว็บไซต์ที่พัฒนาโดยใช้ Joomla http://www.moe.go.th/strategy4/

  41. ตัวอย่างเว็บไซต์ที่พัฒนาโดยใช้ Joomla http://www.edtechno.com

  42. แหล่งข้อมูลในการศึกษาเพิ่มเติมแหล่งข้อมูลในการศึกษาเพิ่มเติม ----- ต่างประเทศ ------ http://www.joomla.org http://www.joomlaos.de http://www.joomlashack.com http://www.joomla-templates.com http://www.joomlahacks.com http://www.joomlart.com ------ Joomla ในไทย -------- http://www.joomlasiam.com http://www.joomlacorner.com http://www.joomlalaithai.com http://www.thailandcms.com

  43. ข้อมูลอ้างอิง • ดร.วรัท พฤกษากุลนันท์ • www.edtechno.com

More Related