1 / 53

กองทุน FTA กับการเสริมสร้างเกษตรกรไทยรับมือ AEC โดย นาง ราตรี พูนพิริยะทรัพย์

กองทุน FTA กับการเสริมสร้างเกษตรกรไทยรับมือ AEC โดย นาง ราตรี พูนพิริยะทรัพย์ ผู้อำนวยการส่วนบริหารกองทุนภาคการเกษตร สำนักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร ๕ เมษายน 2555 ณ โรงแรมมณีจันทร์ รีสอร์ท จังหวัดจันทบุรี. การเปิดเสรีการค้า (FTA) ระหว่างประเทศไทยกับประเทศต่างๆ.

zlata
Télécharger la présentation

กองทุน FTA กับการเสริมสร้างเกษตรกรไทยรับมือ AEC โดย นาง ราตรี พูนพิริยะทรัพย์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กองทุน FTA กับการเสริมสร้างเกษตรกรไทยรับมือ AEC โดย นางราตรี พูนพิริยะทรัพย์ ผู้อำนวยการส่วนบริหารกองทุนภาคการเกษตร สำนักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร ๕ เมษายน 2555 ณ โรงแรมมณีจันทร์ รีสอร์ท จังหวัดจันทบุรี

  2. การเปิดเสรีการค้า(FTA)ระหว่างประเทศไทยกับประเทศต่างๆการเปิดเสรีการค้า(FTA)ระหว่างประเทศไทยกับประเทศต่างๆ

  3. การเปิดเสรีการค้า(FTA)ระหว่างประเทศไทยกับประเทศต่างๆการเปิดเสรีการค้า(FTA)ระหว่างประเทศไทยกับประเทศต่างๆ

  4. การเปิดเสรีการค้า(FTA)ระหว่างประเทศไทยกับประเทศต่างๆการเปิดเสรีการค้า(FTA)ระหว่างประเทศไทยกับประเทศต่างๆ

  5. ผลได้ - ไทยส่งออกสินค้าเกษตรได้มากขึ้น เนื่องจากภาษีที่ลดลง - สินค้าวัตถุดิบนำเข้าราคาถูก ทำให้ลดต้นทุนการผลิตเพื่อส่งออก - เกษตรกร/ ผู้ประกอบการ เกิดการปรับตัวทางการผลิต ทำให้สามารถแข่งขันได้

  6. ผลเสีย - เกษตรกรบางสาขาอาจได้รับผลกระทบด้าน-สินค้าเกษตร ตกต่ำเมื่อมีการนำเข้าสินค้าราคาถูก คุณภาพต่ำ - สินค้าเกษตรที่มีประสิทธิภาพการผลิต/ผลผลิตต่อไร่ต่ำกว่า เพื่อนบ้านอาจแข่งขันไม่ได้ เช่น กาแฟ - มาตรการด้านสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช (SPS) และความ ปลอดภัยด้านอาหารจะถูกหยิบยกมาเป็นเงื่อนไขในการค้า มากขึ้น

  7. สถานการณ์การค้าสินค้าเกษตรระหว่างไทยกับตลาดโลกสถานการณ์การค้าสินค้าเกษตรระหว่างไทยกับตลาดโลก ที่มา : กรมศุลกากร หมายเหตุ : สินค้าเกษตรพิกัดศุลกากรที่ 1-24

  8. ตลาดส่งออกหลักสินค้าเกษตรไทยตลาดส่งออกหลักสินค้าเกษตรไทย ที่มา : กรมศุลกากร หมายเหตุ : สินค้าเกษตรพิกัดศุลกากรที่ 1-24

  9. การค้าสินค้าเกษตรไทยกับประเทศในอาเซียน ปี 2553 หมายเหตุ: สินค้าเกษตรพิกัดศุลกากร 01-24

  10. การค้าสินค้าเกษตรไทยกับอาเซียน ปี 2554 (ม.ค. – พ.ย.) หน่วย:ล้านบาท ที่มา:สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร คำนวณจากสถิติการค้าสินค้าของกรมศุลกากร หมายเหตุ:สินค้าเกษตรในที่นี้ หมายถึงสินค้าพิกัดศุลกากร 01-24 รวมยางพารา

  11. เมื่อปี 2535 มีการจัดตั้ง AFTA ซึ่งเป็นการริเริ่มเขตการค้าเสรีอาเซียน ปี 2553 ไทย ต้องลดภาษีนำเข้าเหลือร้อยละ 0 และยกเลิกโควตา ปี 2558 จัดตั้งเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC)เปิดเสรีการค้า บริการ แรงงาน และทุน ASEAN

  12. แนวทางรองรับการเปิดเสรีสินค้าเกษตร (บทบาทภาครัฐ) • ขั้นที่ 1 : บริหารการนำเข้า ณ ด่านศุลกากร • ขั้นที่ 2 : เยียวยาเกษตรกรที่ได้รับผลกระทบ • (ปรับโครงสร้างการผลิตให้สามารถแข่งขันได้โดยใช้เงินสนับสนุนจากกองทุน FTAกษ.) • ขั้นที่ 3: ใช้มาตรการปกป้องพิเศษ • (เพื่อระงับผลกระทบชั่วคราว โดย กรมศุลกากร กรมการค้าต่างประเทศ แล ะสศก. ติดตามและเฝ้าระวังการนำเข้า หากนำเข้าผิดปกติให้เสนอคณะกรรมการฯ ที่ดูแลสินค้า 23 รายการพิจารณาการเก็บค่าธรรมเนียมปกป้อง => แจ้ง พณ. และ ก. คลัง => เสนอครม. เพื่อเก็บค่าธรรมเนียมปกป้อง)

  13. แนวทางการปรับตัวของเกษตรกรแนวทางการปรับตัวของเกษตรกร • เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต • ลดต้นทุนการผลิต • ปรับปรุงคุณภาพผลผลิต (สอดคล้องกับความต้องการของตลาด) • ผลิตสินค้าที่หลากหลายเพื่อลดความเสี่ยง • แปรรูปเพื่อเพิ่มมูลค่า หรือเก็บรักษาได้นานขึ้น • ปรับเปลี่ยนอาชีพ • น้อมนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาปฏิบัติ

  14. บทบาทภาครัฐ การเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขัน (มาตรการเชิงรุก) 1. ส่งเสริมการลดต้นทุนการผลิต เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตแก่เกษตรกร (ระบบน้ำ/ ระบบชลประทาน ปุ๋ย วิจัยและพัฒนาพันธุ์ดี) 2. ส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพมาตรฐานสินค้าเกษตรสู่สากล3. สนับสนุนผู้ผลิตรายย่อยเข้าสู่ระบบมาตรฐาน 4. สนับสนุนการสร้างมูลค่าเพิ่มและผลิตสินค้าที่หลากหลายเพื่อเพิ่มศักยภาพ การแข่งขันในตลาดโลก5. ถ่ายทอดความรู้และเทคโนโลยีที่เหมาะสมให้กับเกษตรกร6. สนับสนุนการปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร โดยใช้เงินกองทุน FTA 7. ส่งเสริมการทำเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้ เกษตรกร

  15. กองทุนปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตรกองทุนปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร เพื่อเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันของประเทศ FTA

  16. กองทุนปรับโครงสร้างการผลิตกองทุนปรับโครงสร้างการผลิต ภาคเกษตรเพื่อเพิ่มขีดความสามารถ การแข่งขันของประเทศ ตั้งขึ้นตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อ 20 กรกฎาคม 2547 สร้างขีดความ สามารถในการ แข่งขันให้กับ สินค้าเกษตร • - เพื่อปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร • ปฏิรูปผลิตผลทางการเกษตร • เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต • และพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตร • - เพื่อแปรรูปสร้างมูลค่าเพิ่ม • สินค้าเกษตร • เพื่อช่วยเหลือให้เกษตรกร • ปรับเปลี่ยนจากการผลิตสินค้า • ที่ไม่มีศักยภาพสู่สินค้าที่มีศักยภาพ • - สนับสนุนปัจจัยการผลิต • และเทคโนโลยี • สนับสนุนงานวิจัยและพัฒนา • ให้ความรู้ ฝึกอบรม • และดูงาน • ให้การสนับสนุนด้าน • โครงสร้างพื้นฐานการเกษตร • - ปรับเปลี่ยนอาชีพ วัตถุประสงค์ วิสัยทัศน์ การสนับสนุน

  17. กองทุน FTA เสริมสร้างการปรับโครงสร้างการผลิตสินค้าเกษตร ปี 2549-2554 17

  18. กองทุนเสริมสร้างการปรับโครงสร้างสินค้าในภาคตะวันออกกองทุนเสริมสร้างการปรับโครงสร้างสินค้าในภาคตะวันออก • 1. เสริมสร้างการปรับโครงสร้างสินค้าสุกร • โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและเพิ่มมูลค้าสุกร • ผู้ดำเนินโครงการ ชุมนุมสหกรณ์การปศุสัตว์ภาคตะวันออก จำกัด ประกอบด้วย • สหกรณ์ปศุสัตว์และสัตว์น้ำฉะเชิงเทรา • สหกรณ์การเกษตรผู้เลี้ยงสัตว์ระยอง • สหกรณ์ผู้เลี้ยงสุกรและการปศุสัตว์ตราด จำกัด • ระยะเวลาดำเนินงาน 4ปี • รวมระยะเวลาโครงการ 10 ปี • งบประมาณ 29.88ล้านบาท • จ่ายขาด 4.74 ล้านบาท • เงินยืมปลอดดอกเบี้ย 25.14 ล้านบาท (ปลอดการชำระคืนเงินต้น 2 ปี เริ่มชำระคืนปีที่ 3 – 10)

  19. กองทุนเสริมสร้างการปรับโครงสร้างสินค้าในภาคตะวันออกกองทุนเสริมสร้างการปรับโครงสร้างสินค้าในภาคตะวันออก • กิจกรรมดำเนินการ 6 กิจกรรม • กิจกรรมที่ 1 ฝึกอบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการเลี้ยงสุกรของสมาชิก ปีละ 640คน4 ปีรวม2560คน • หลักสูตร • การผลิตสุกรให้มีคุณภาพด้วยการผลิตอาหารสุกรคุณภาพ • การพัฒนาการจัดการฟาร์มเพื่อให้ได้รับการรับรองจากกรมปศุสัตว์ • การผสมเทียมสุกร • โรคและการควบคุมโรคและพยาธิสุกร • การพัฒนาการตลาดสุกรและผลิตภัณฑ์ • การผลิตอาหารสุกรคุณภาพ • การดูงานนอกสถานที่ฟาร์มสุกรสมาชิกสหกรณ์ที่ได้มาตรฐานและประสบผลสำเร็จ

  20. กองทุนเสริมสร้างการปรับโครงสร้างสินค้าในภาคตะวันออกกองทุนเสริมสร้างการปรับโครงสร้างสินค้าในภาคตะวันออก • กิจกรรมที่ 2จัดตั้งศูนย์การผลิตอาหารสัตว์ครบวงจรสำหรับสมาชิกสหกรณ์ผู้เลี้ยงสุกรและเกษตรกรในเขตภาคตะวันออก • ดำเนินการโดยสหกรณ์ปศุสัตว์และสัตว์น้ำฉะเชิงเทรา จำกัด ทำการผลิตอาหารสัตว์คุณภาพดีราคายุติธรรม กำลังการผลิต 45 ตัน/วัน จำหน่วยให้สมาชิกสหกรณ์ผู้เลี้ยงสุกรภาคตะวันออกทั้งระบบ • กิจกรรมที่ 3จัดตั้งศูนย์จำหน่ายเนื้อสุกรคุณภาพดี ราคายุติธรรม ของสหกรณ์การปศุสัตว์และสัตว์น้ำฉะเชิงเทรา เพื่อพัฒนาระบบการตลาดสุกรมีชีวิตและการตลาดเนื้อสุกรที่ผลิตโดยสมาชิกสหกรณ์ให้ถึงผู้บริโภคโดยตรง และเพื่อเป็นการลดผลกระทบจากการผันผวนของราคาสุกรมีชีวิต

  21. กองทุนเสริมสร้างการปรับโครงสร้างสินค้าในภาคตะวันออก • กิจกรรมที่ 4การเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์จากเนื้อสุกรแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ • ดำเนินการโดยสหกรณ์ปศุสัตว์และสัตว์น้ำฉะเชิงเทรา จำกัด โดยแปรรูปเนื้อสุกรให้เป็นไส้กรอกและผลิตภัณฑ์เนื้อสุกรอื่นๆ รวมทั้งการพัฒนาระบบการตลาดของผลิตภัณฑ์เนื้อสุกร เพื่อการเพิ่มมูลค่าเนื้อสุกรให้มากขึ้น รวมทั้งการเพิ่มช่องทางการจำหน่ายเนื้อสุกรให้กว้างขวาง • กิจกรรมที่ 5การเพิ่มศักยภาพการเลี้ยงสุกร และสถานที่จำหน่ายสุกรชำแหละเพื่อความปลอดภัยด้านอาหารของสหกรณ์การเกษตรผู้เลี้ยงสัตว์ระยอง จำกัด • ดำเนินการโดยสหกรณ์การเกษตรผู้เลี้ยงสัตว์ระยอง จำกัด โดยพัฒนาการเลี้ยงสุกรของสมาชิกสหกรณ์ให้ได้มาตรฐานของกรมปศุสัตว์ รวมทั้งการพัฒนาระบบการตลาดเพื่อการจัดจำหน่ายเนื้อสุกรสะอาดและปลอดภัยที่ผลิตโดยสมาชิกสหกรณ์ให้ถึงมือผู้บริโภคโดยตรง

  22. กองทุนเสริมสร้างการปรับโครงสร้างสินค้าในภาคตะวันออกกองทุนเสริมสร้างการปรับโครงสร้างสินค้าในภาคตะวันออก • กิจกรรมที่ 6การพัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพการเลี้ยงสุกรของสมาชิกสหกรณ์ผู้เลี้ยงสุกรการปศุสัตว์ตราด จำกัด • ดำเนินการโดยสหกรณ์ผู้เลี้ยงสุกรการปศุสัตว์ตราด จำกัด ในการพัฒนาการเลี้ยงสุกร โดยการฝึกอบรมสมาชิกในเรื่องการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสุกรเพื่อให้ได้ซากสุกรคุณภาพดีมีมาตรฐานสูงขึ้นตามข้อกำหนดของกรมปศุสัตว์

  23. กองทุนเสริมสร้างการปรับโครงสร้างสินค้าในภาคตะวันออกกองทุนเสริมสร้างการปรับโครงสร้างสินค้าในภาคตะวันออก • ตัวชี้วัดโครงการ • เมื่อสิ้นสุดโครงการเกษตรกรผู้เลี้ยงสุกรและสมาชิกสหกรณ์ สามารลดต้นทุนการผลิตสุกรมีชีวิตต่อตัวลดลงได้เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 5% เปรียบเทียบกับก่อนเข้าร่วมโครงการ • เมื่อสิ้นสุดโครงการเกษตรกรผู้เลี้ยงสุกรและสมาชิกสหกรณ์ มีรายได้จากการจำหน่ายสุกรมีชีวิตต่อตัวเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 5% เปรียบเทียบกับก่อนเข้าร่วมโครงการ

  24. กองทุนเสริมสร้างการปรับโครงสร้างสินค้าในภาคตะวันออกกองทุนเสริมสร้างการปรับโครงสร้างสินค้าในภาคตะวันออก • ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ • สมาชิกสหกรณ์ และเกษตรกรผู้เลี้ยงสุกรได้รับการพัฒนาเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตสุกรให้สูงขึ้น ต้นทุนการผลิตลดลง มีคุณภาพซากตามความต้องการของตลาด สามารถดำรงธุรกิจอยู่ได้แม้ในสภาวะที่มีการผันผวนของราคาสุกรมีชีวิต • สมาชิกสหกรณ์ผู้เลี้ยงสุกรได้มีการเชื่อมโยงการดำเนินธุรกิจระหว่างกัน • ผู้บริโภคมีความเชื่อมั่นคุณภาพสุกรของสมาชิกสหกรณ์ และเกษตรกรผู้เลี้ยงสุกร

  25. กองทุนเสริมสร้างการปรับโครงสร้างสินค้าในภาคตะวันออกกองทุนเสริมสร้างการปรับโครงสร้างสินค้าในภาคตะวันออก • 2. เสริมสร้างการปรับโครงสร้างสินค้าโคเนื้อ • โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์จากเนื้อโคขุนมาตรฐานฮาลาล • ผู้ดำเนินโครงการ สหกรณ์โคขุนสระแก้ว นทพ. จำกัด • ระยะดำเนินงาน 5 ปี • ระยะเวลาโครงการ 10 ปี • งบประมาณโครงการ 29.51 ล้านบาท • จ่ายขาด 1.27 ล้านบาท • เงินยืมปลอดดอกเบี้ย 28.24 ล้านบาท (ปลอดการชำระคืนเงินต้น 3 ปี เริ่มชำระคืน ปีที่ 4-10)

  26. กองทุนเสริมสร้างการปรับโครงสร้างสินค้าในภาคตะวันออกกองทุนเสริมสร้างการปรับโครงสร้างสินค้าในภาคตะวันออก • กิจกรรมดำเนินการ 3 กิจกรรม • กิจกรรมที่ 1การฝึกอบรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเลี้ยงโคเนื้อครบวงจรสู่ระบบมาตรฐานฟาร์ม (GAP) • เป้าหมาย • ดำเนินการฝึกอบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการเลี้ยงโคเนื้อขุนครบวงจรสู่มาตรฐานฟาร์ม (GPA) ให้แก่สมาชิกสหกรณ์โคขุนสระแก้ว นทพ. จำกัด และเกษตรกรผู้สนใจในภาคตะวันออก ได้แก่ ฉะเชิงเทรา สระบุรี ชลบุรี จันทบุรี ระยอง และตราด ปีละ 60คน จำนวน 5 ปี รวมผู้ผ่านการอบรม 300คน

  27. กองทุนเสริมสร้างการปรับโครงสร้างสินค้าในภาคตะวันออกกองทุนเสริมสร้างการปรับโครงสร้างสินค้าในภาคตะวันออก • กิจกรรมที่ 2 การสนับสนุนปัจจัยหลักให้กับผู้เลี้ยงโคเนื้อ Cow For Cash • เป้าหมาย • เพิ่มฝูงแม่โคเนื้อพันธุ์ดี ขึ้นร้อยละ 30% ต่อปี • ผลิตโคเนื้อขุนคุณภาพดี เพิ่มขึ้นร้อยละ 30 % ต่อปี • วิธีดำเนินงาน • สหกรณ์สนับสนุนปัจจัยหลักให้เจ้าของแม่โคที่นำมาขึ้นทะเบียนกับสหกรณ์ โดยจ่ายเงินสนับสนุนปัจจัยการผลิตลูกโคให้แก่เจ้าของแม่โคตัวละ 2,000 บาท ต่อลูกโค 1 ตัว

  28. กองทุนเสริมสร้างการปรับโครงสร้างสินค้าในภาคตะวันออกกองทุนเสริมสร้างการปรับโครงสร้างสินค้าในภาคตะวันออก • กิจกรรมที่ 3เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต การแปรรูปเพื่อเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์จากเนื้อโคขุนมาตรฐานฮาลาล • เป้าหมาย • สร้างจุดจำหน่ายเนื้อโคขุน และผลิตภัณฑ์แปรรูป (SK Butcher Shop) จำนวน 5แห่ง จังหวัดละ 1แห่ง ได้แก่ จังหวัดสระแก้ว จังหวัดปราจีนบุรี จังหวัดระยอง จังหวัดจันทบุรี และจังหวัดตราด

  29. กองทุนเสริมสร้างการปรับโครงสร้างสินค้าในภาคตะวันออกกองทุนเสริมสร้างการปรับโครงสร้างสินค้าในภาคตะวันออก • ประโยชน์ที่ขาดว่าจะได้รับ • การผลิตโคเนื้อขุนของสมาชิกสหกรณ์ทั้งระบบในภาคตะวันออก • มีประสิทธิภาพสูงขึ้น คุณภาพซากโคเนื้อดีขึ้น ทัดเทียมมาตรฐาน • สมาชิกสหกรณ์มีความมั่นใจในอาชีพ และให้ความร่วมมือทำธุรกิจกับสหกรณ์มากขึ้น สามารถดำเนินการในพื้นที่เขตภาคตะวันออกเป็นพื้นที่ปลอดโรค ตามนโยบายของภาครัฐ • ผู้บริโภคมีความมั่นใจในการควบคุมคุณภาพของผลิตภัณฑ์ของสหกรณ์ ซึ่งเป็นการสนับสนุนการดำเนินการตามนโยบาย ความปลอดภัยด้านอาหารของรัฐ • ทำให้สมาชิกสหกรณ์ที่มีอาชีพการเลี้ยงโคเนื้อมีความมั่นคงอย่างยั่งยืนสามารถผลิตเพื่อการส่งออกโคมีชีวิตไปยังประเทศเพื่อนบ้านได้

  30. ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (ปี 2549-2554) ดำเนินการช่วยเหลือเกษตรกรผู้ผลิตสินค้าที่ได้รับผลกระทบจาการเปิดเสรีการค้า จำนวน 7 สินค้า 14 โครงการ งบประมาณรวม 544.31 ล้านบาท ได้แก่ โคเนื้อ โคนม สุกร ชา ปาล์มน้ำมัน กาแฟ และข้าว รายละเอียด ดังนี้

  31. ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (ปี 2549-2554)

  32. ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (ปี 2549-2554)

  33. ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (ปี 2549-2553)

  34. ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (ปี 2549-2553)

  35. ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (ปี 2549-2554)

  36. ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (ปี 2549-2554)

  37. ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (ปี 2549-2554)

  38. ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (ปี 2549-2554)

  39. ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (ปี 2549-2554)

  40. ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (ปี 2549-2554)

  41. ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (ปี 2549-2554)

  42. ปัญหาที่ผ่านมาของกองทุนฯ มุมมองของผู้เสนอโครงการ - อนุมัติโครงการช้า - อนุมัติโครงการยาก - งบประมาณน้อย - ไม่เป็นที่รู้จัก (ประชาสัมพันธ์ไม่กว้างขวาง) - หน่วยระดับกรมไม่ประสงค์เป็นเจ้าของโครงการ - ฯลฯ มุมมองของกองทุนฯ - โครงการเสนอขอรับการสนับสนุนมีไม่มาก - คุณภาพโครงการยังไม่ผ่านเกณฑ์ที่จะได้รับการอนุมัติ - ฯลฯ

  43. แนวทางการแก้ไข • ลดช่องว่างระหว่างผู้เสนอโครงการและเจ้าหน้าที่กองทุนฯ • ประเมินกองทุนฯ (Assessment) • - จุดเด่น พัฒนาให้ดียิ่งขึ้น • - จุดด้อย ปรับปรุง แก้ไข • กำหนดบทบาทกองทุนฯ (กองทุนควรปรับตัวอย่างไร) • เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา

  44. องค์กรที่รับผิดชอบ คณะกรรมการบริหารกองทุนปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตรเพื่อเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันการสนับสนุนของประเทศ • - พิจารณาอนุมัติโครงการที่เกษตรกรหน่วยงาน ของรัฐหรือภาคเอกชนเสนอขอรับการสนับสนุน • กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีใช้เงินกองทุน ติดตาม ผลการดำเนินงานของโครงการที่ได้รับอนุมัติ • ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่คณะรัฐมนตรีมอบหมาย อำนาจหน้าที่ คณะอนุกรรมการกลั่นกรองโครงการเสนอขอรับเงินสนับสนุนกองทุนปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร • กำหนดมาตรการหรือกรอบโครงการ พิจารณา กลั่นกรองความเหมาะสมของโครงการ • ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่คณะกรรมการบริหาร กองทุนฯมอบหมาย อำนาจหน้าที่ คณะอนุกรรมการประชาสัมพันธ์โครงสร้างการผลิตภาคเกษตรเพื่อเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันของประเทศ • - กำหนดแนวทางการประชาสัมพันธ์กองทุน ปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร • ให้ความเห็นชอบการจัดทำแผนประชาสัมพันธ์ โครงการต่างๆ • เสนอแนะการเลือกใช้สื่อต่างๆอย่างครบวงจร เพื่อกระจายข่าวสาร อำนาจหน้าที่ 44

  45. ขั้นตอนการกำกับดูแลการใช้เงินกองทุนปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตรขั้นตอนการกำกับดูแลการใช้เงินกองทุนปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร 1 2 3 4 เสนอผ่าน เสนอผ่าน เกษตรกร หน่วยงานของ รัฐ ภาคเอกชน จัดทำโครงการตามหัวข้อเค้าโครงข้อเสนอโครงการ สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร รวบรวมตรวจสอบวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของโครงการ แก้ไขปรับปรุง หน่วยงานที่รับผิดชอบตามสายงานเป็นหน่วยงานผู้รับผิดชอบโครงการ 5 7 6 ไม่ผ่าน แก้ไข ไม่ผ่าน แก้ไข ไม่เห็นชอบ สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรเชิญหน่วยงานที่เกี่ยวข้องภายในสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรและกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รวมทั้งผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาที่เกี่ยวข้อง พิจารณาความเป็นไปได้ของโครงการ คณะอนุกรรมการกลั่นกรองฯ พิจารณาความเป็นไปได้ของโครงการ เสนอคณะกรรมการบริหารกองทุนปรับโครงสร้างฯ เพื่ออนุมัติโครงการ ผ่าน เห็นชอบ เห็นชอบ 8 9 สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร จัดสรรเงินเป็นรายปี ตามแผนปฏิบัติงาน/ แผนการใช้เงิน สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ติดตามการดำเนินงาน การใช้จ่ายเงิน และรายงานคณะกรรมการบริหารกองทุน อนุมัติ

  46. เป็นโครงการที่เสนอ โดยเกษตรกร สถาบันเกษตรกร หรือ • องค์กรเกษตรกรและภาคเอกชน ซึ่งต้องได้รับผลกระทบ • โดยตรงหรือโดย อ้อมจากการเปิดเสรีทางการค้า • หากเป็นเกษตรกรต้องเสนอในนามของสถาบันเกษตรกรหรือ • องค์กรเกษตรกรที่ได้รับการยอมรับจากส่วนราชการ สถาบัน เกษตรกระและภาคเอกชนต้องเสนอโครงการผ่านส่วนราชการหรือ หน่วยงานของรัฐที่รับผิดชอบตามสายงาน • กรณีโครงการ งาน หรือกิจกรรมที่เสนอโดยหน่วยงานของรัฐ • ต้องเป็นโครงการ งานหรือกิจกรรมที่ดำเนินการปรับโครงสร้าง • การผลิตเพื่อลดผลกระทบจากการเปิดเสรีทางการค้าและเป็น • โครงการที่เกิดจากความต้องการหรือการมีส่วนร่วมของเกษตรกร • เป็นโครงการที่มีศักยภาพทั้งในด้านการผลิตและการตลาด • หากเป็นโครงการวิจัยต้องเป็นการวิจัยประยุกต์หรือวิจัยด้าน • การตลาด ที่ให้ผลการวิจัยไม่เกิน 1 ปี • กรณีเป็นโครงการ หรือกิจกรรม ที่จะไปทดแทนกิจกรรมเดิม • จะต้องให้ผลตอบแทนไม่น้อยกว่ากิจกรรมเดิม • เป็นโครงการที่มีแนวทางปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต ที่จะ • ช่วยลดต้นทุนการผลิตให้สามารถแข่งขันได้ หลักเกณฑ์การพิจารณาโครงการ

  47. กรอบและเงื่อนไขการสนับสนุนเงินกรอบและเงื่อนไขการสนับสนุนเงิน เงินจ่ายขาด ให้เฉพาะกรณีหรือค่าใช้จ่าย ดังต่อไปนี้  ค่าปัจจัยการผลิตในกรณีทดลอง/สาธิต/นำร่อง  ค่าใช้จ่ายต่างๆ สำหรับงานวิจัยต้องเป็นการวิจัยประยุกต์ (Applied Research) หรือการวิจัยด้านการตลาด โดยมีผลวิจัยในระยะเวลาไม่เกิน 1 ปี และต้องไม่เป็นโครงการ วิจัยขั้นพื้นฐาน (Basic Research)  ค่าใช้จ่ายในการถ่ายทอดเทคโนโลยี อาทิ การฝึกอบรม การสัมมนา การศึกษา ดูงาน  ค่าใช้จ่ายดำเนินงานหรือค่าบริหารโครงการของหน่ายงานราชการตามหลักเกณฑ์ ที่คณะกรรมการบริหารกองทุนกำหนด หรือตามที่จ่ายจริงแต่ไม่เกิน ร้อยละ 3 ของงบประมาณ โครงการ  ค่าใช้จ่ายต่างๆ นอกเหนือจากที่ระบุข้างต้น ให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการ บริหารกองทุน

  48. กรอบและเงื่อนไขการสนับสนุนเงิน (ต่อ) เงินหมุนเวียนให้เฉพาะกรณีหรือค่าใช้จ่าย ดังต่อไปนี้ ●การช่วยเหลือสำหรับโครงการ ซึ่งได้รับผลกระทบจากการเปิดเสรีทางการค้า อันเนื่องมาจากนโยบายของรัฐ ●การช่วยเหลือสำหรับโครงการที่ริเริ่มใหม่ รวมทั้งกรณีจูงใจให้เกิดการผลิต หรือเปลี่ยนแปลงการผลิต ●ค่าใช้จ่ายที่สนับสนุนได้แก่ -ค่าลงทุนต่างๆ อาทิ ค่าก่อสร้างโรงเรือน/โรงงาน ค่าเครื่องมือ อุปกรณ์ -ค่าใช้จ่ายหมุนเวียนในการผลิต ●กรณีกู้ยืมจากธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร กองทุนจะชดเชย ดอกเบี้ยให้ทั้งหมด ●วงเงินให้ยืมและกำหนดการชำระคืนให้เป็นไปตามลักษณะการดำเนินงาน/ ความจำเป็นของแต่ละโครงการ เงินยืมคิดดอกเบี้ย ให้เฉพาะโครงการหรือกิจกรรมที่ได้รับผลตอบแทนคุ้มค่าการลงทุน โดยวงเงินให้ยืม กำหนดการชำระคืน และอัตราดอกเบี้ยให้เป็นไปตามมติคณะกรรมการ บริหารกองทุนฯ

  49. หัวข้อและรายละเอียดโครงการขอรับเงินสนับสนุนจากกองทุนฯหัวข้อและรายละเอียดโครงการขอรับเงินสนับสนุนจากกองทุนฯ ชื่อโครงการชื่อเรื่องของโครงการที่เสนอขอรับเงินสนับสนุนจากกองทุนฯ เจ้าของโครงการหน่วยงานของรัฐ (กระทรวง ทบวง กรม หรือส่วนราชการที่มีฐานะ เป็นกรมและรัฐวิสาหกิจ) ภาคเอกชน (สถาบัน องค์กรนิติบุคคลที่ ดำเนินการด้านเกษตร) หลักการและเหตุผล แสดงถึงเหตุผลและความจำเป็นที่ต้องจัดทำโครงการเพื่อลด ผลกระทบจากการเปิดเสรีทางการค้า (FTAAFTA WTO ฯลฯ) ซึ่งต้อง ชี้แจงให้ชัดเจนว่าเมื่อเปิดเสรีทางการค้าแล้วมีผลทำให้มีการนำเข้า สินค้านั้น จากประเทศที่ทำข้อตกลงทางการค้านับตั้งแต่วันลงนาม เพิ่มขึ้นมากน้อยเพียงไร หากไม่ดำเนินการช่วยเหลือจะมีผลกระทบ ต่อเกษตรกรอย่างไร วัตถุประสงค์ แสดงถึงจุดมุ่งหมายของการดำเนินโครงการว่าทำเพื่ออะไร สามารถแก้ไขปัญหาอะไร วิธีดำเนินการ แสดงถึงรายละเอียดของขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละกิจกรรม ของโครงการ (กรณีระยะเวลาดำเนินโครงการเกินกว่า 1 ปี ให้แยก กิจกรรมเป็นรายปี)

  50. หัวข้อและรายละเอียดโครงการขอรับการสนับสนุนมาจากกองทุนฯ (ต่อ) เป้าหมาย/ขอบเขต ระบุถึงจำนวน/ปริมาณ/กลุ่มพื้นที่ที่ต้องการดำเนินการ การดำเนินงาน ในโครงการ ระยะเวลาโครงการ แสดงถึงระยะเวลาที่กองทุนฯ สนับสนุนงบประมาณ ระยะเวลาดำเนินการ แสดงถึงจำนวนระยะเวลาในการดำเนินการ เริ่มต้นตั้งแต่ปีไหน สิ้นสุดปีไหน (รวมระยะเวลาชำระคืนเงินหมุนเวียน หากมีการ ขอสนับสนุนเป็นเงินหมุนเวียนด้วย) งบประมาณ แสดงถึงรายละเอียดของงบประมาณแต่ละหมวดในแต่ละ กิจกรรมตามวิธีการดำเนินงาน (กรณีระยะเวลาดำเนิน โครงการเกินกว่า 1 ปี ให้แยกงบประมาณเป็นรายปี) และ แจกแจงงบประมาณเป็นงบเงินจ่ายขาดและงบเงินหมุนเวียน/ เงินยืมและต้องระบุเงื่อนไขและแผนการคืนเงินให้ชัดเจน ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ แสดงถึงผลของการดำเนินโครงการเมื่อเสร็จสิ้นแล้ว ช่วย ลดผลกระทบจากการเปิดเสรีทางการค้าอย่างไรบ้าง ใคร เป็นผู้ได้รับและลดผลกระทบได้ในปริมาณมากน้อยเพียงใด สมควรแสดงเป็นตัวเลขเชิงปริมาณ

More Related