1 / 81

SSBN

CG. SSBN. ยุทธศาสตร์ทางเรือ (Naval Strategy) หลักสูตร โรงเรียนนายทหารอาวุโส ปีการศึกษา ๒๕๕๓. นาวาเอก เกียรติยุทธ เทียนสุวรรณ นักสงครามทางเรือ กองศึกษาการสงครามทางเรือ ศยร.สรส.ทร. ประวัติการรับราชการ. นักบินฝูงบิน ๑๐๓ กองบิน ๑ กองการบินทหารเรือ

Télécharger la présentation

SSBN

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. CG SSBN ยุทธศาสตร์ทางเรือ (Naval Strategy) หลักสูตร โรงเรียนนายทหารอาวุโส ปีการศึกษา ๒๕๕๓ นาวาเอก เกียรติยุทธ เทียนสุวรรณ นักสงครามทางเรือ กองศึกษาการสงครามทางเรือ ศยร.สรส.ทร.

  2. ประวัติการรับราชการ • นักบินฝูงบิน ๑๐๓ กองบิน ๑ กองการบินทหารเรือ • นักบินฝูงบิน ๑ หน่วยบิน ร.ล.จักรีนฤเบศร กองเรือบรรทุกเฮลิคอปเตอร์ • นายธงผู้บัญชาการกองการบินทหารเรือ • นายทหารยุทธการฝูงบิน ๑ หน่วยบิน ร.ล.จักรีนฤเบศร กองเรือบรรทุกเฮลิคอปเตอร์ • ประจำแผนกข่าว กองเรือบรรทุกเฮลิคอปเตอร์ • หัวหน้าพัฒนาการฝึก กองการฝึกทางเรือ • อาจารย์กองวิชาเสนาธิการกิจ สถาบันวิชาการทหารเรือชั้นสูง • อาจารย์กองวิชาสงครามทางเรือและวิชาทหารสถาบันวิชาการทหารเรือชั้นสูง • นักสงครามทางเรือ กองศึกษาการสงครามทางเรือ ศูนย์ศึกษายุทธศาสตร์ทางเรือ

  3. ประวัติการฝึก ศึกษา อบรม • หลักสูตรวิทยาศาสตร์บัณฑิต โรงเรียนนายเรือ พ.ศ.๒๕๓๐-๓๕ • หลักสูตรนายทหารใหม่ พ.ศ.๒๕๓๕ • หลักสูตรศิษย์การบิน โรงเรียนการบินกำแพงแสน พ.ศ.๒๕๓๕-๓๖ • หลักสูตรนักบินขับไล่ไอพ่น ประเทศสหรัฐอเมริกา พ.ศ.๒๕๓๗-๒๕๓๙ • หลักสูตรนักบิน บ.AV-8ประเทศสเปน พ.ศ.๒๕๓๙-๒๕๔๐ • หลักสูตรการบริหารเพื่อการป้องกันประเทศ ประเทศออสเตรเลีย พ.ศ.๒๕๔๔ • หลักสูตรโรงเรียนนายทหารพรรคนาวิน พ.ศ.๒๕๔๔ • หลักสูตรศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต (ยุทธศาสตร์และนโยบาย) ประเทศออสเตรเลีย พ.ศ.๒๔๔๕-๒๕๔๖ • หลักสูตรโรงเรียนเสนาธิการทหารเรือ พ.ศ.๒๕๔๗-๒๕๔๘ • หลักสูตรวิทยาลัยการทัพเรือ ประเทศสหรัฐฯ พ.ศ.๒๕๔๙-๒๕๕๐ • หลักสูตรการบริหารทรัพยากรเพื่อการป้องกันประเทศ ประเทศสหรัฐฯ พ.ศ.๒๕๕๐

  4. ความสัมพันธ์กับหัวข้อวิชาอื่นในหมวดวิชาความสัมพันธ์กับหัวข้อวิชาอื่นในหมวดวิชา หมวดวิชาความมั่นคงแห่งชาติ ตอนที่ ๑ หลักยุทธศาสตร์ ชุดวิชาที่ ๑ หลักยุทธศาสตร์ ชุดวิชาที่ ๒ โครงสร้างและแนวความคิดทางยุทธศาสตร์ หัวข้อวิชา นโยบายความมั่นคงแห่งชาติ หัวข้อวิชา ยุทธศาสตร์ทหาร หัวข้อวิชา ยุทธศาสตร์ทะเล หัวข้อวิชา ยุทธศาสตร์ทางเรือ หัวข้อวิชา สัมมนาโครงสร้างและแนวความคิดทางยุทธศาสตร์ หัวข้อวิชา สัมมนายุทธศาสตร์ทางเรือ

  5. ความมุ่งหมาย • เมื่อจบหัวข้อวิชานี้แล้ว นทน. สามารถที่จะอธิบายกรรมวิธีการกำหนดยุทธศาสตร์และแนวความคิดทางยุทธศาสตร์ของกองทัพเรือ อธิบายความสัมพันธ์กับยุทธศาสตร์ชาติ ยุทธศาสตร์ทะเล ยุทธศาสตร์ทหารและยุทธศาสตร์ทางเรือ

  6. ลำดับการบรรยาย • ความหมายของยุทธศาสตร์ทางเรือ • ความสัมพันธ์ของยุทธศาสตร์ทางเรือกับยุทธศาสตร์อื่น • กระบวนการกำหนดยุทธศาสตร์ทางเรือ • Planning • Who am I? • Where are we? • Where should we go? • Implementation • How do we get there? • Are we getting there?

  7. ความหมายของยุทธศาสตร์ทางเรือความหมายของยุทธศาสตร์ทางเรือ

  8. ยุทธศาสตร์ ทรัพยากร ยุทธศาสตร์ เป้าหมาย เครื่องมือ สภาวะแวดล้อม ความเสี่ยง การใช้เครื่องมือที่มีอยู่เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย The application of available Means to secure desired Ends.

  9. ยุทธศาสตร์ชาติ ทรัพยากร ยุทธศาสตร์ชาติ วัตถุประสงค์แห่งชาติ กำลังอำนาจแห่งชาติ สภาวะแวดล้อม ความเสี่ยง การใช้กำลังอำนาจแห่งชาติที่มีอยู่เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์แห่งชาติ The application of available Means to secure desired Ends.

  10. ยุทธศาสตร์ทะเล ทรัพยากร ยุทธศาสตร์ทะเล วัตถุประสงค์ทางทะเล สมุททานุภาพ สภาวะแวดล้อม ความเสี่ยง การใช้สมุททานุภาพที่มีอยู่เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ทางทะเล The application of available Means to secure desired Ends.

  11. ยุทธศาสตร์ทหาร ทรัพยากร ยุทธศาสตร์ทหาร วัตถุประสงค์ทางทหาร กำลังทางทหาร สภาวะแวดล้อม ความเสี่ยง

  12. ยุทธศาสตร์ทางเรือ ทรัพยากร ยุทธศาสตร์ทางเรือ วัตถุประสงค์ทางเรือ กำลังทางเรือ สภาวะแวดล้อม ความเสี่ยง

  13. AUSTRALIAN MARITIME DOCTRINE RAN DOCTRINE 1 2000 • Future Navy Vision • 2006 A Cooperative Strategy for 21st Century Seapower ยุทธศาสตร์ทางเรือ?

  14. ความสัมพันธ์ของยุทธศาสตร์ทางเรือกับยุทธศาสตร์อื่นความสัมพันธ์ของยุทธศาสตร์ทางเรือกับยุทธศาสตร์อื่น

  15. National Policy Foreign Policy Economic Policy Defence Policy Maritime Policy Military Strategy Maritime Strategy (Civil) Land Strategy Air Strategy Naval Strategy Maritime Commerce Maritime Naval Capabilities (Military) Maritime Naval Capabilities (Civil) Joint Operations Seapower Naval Operations Commercial Operations Military Operations

  16. C O N C E P T U A L F R A M E W O R K การกำหนด ยุทธศาสตร์

  17. กระบวนการกำหนดยุทธศาสตร์ทางเรือกระบวนการกำหนดยุทธศาสตร์ทางเรือ

  18. กระบวนการกำหนดยุทธศาสตร์ทางเรือ Are we getting there? How do we get there? Where should we go? Where are we? Who am I?

  19. Who am I?

  20. วัตถุประสงค์ทางทะเล • ทรัพยากร (The sea as a resource) • การขนส่งสินค้า (The sea as a medium of transportation and exchange) • ข้อมูลข่าวสาร (The sea as a medium for information and the spread of ideas) • การแผ่ขยายอำนาจ (The sea as a medium for dominion)

  21. แนวโน้มพฤติกรรมของมนุษย์แนวโน้มพฤติกรรมของมนุษย์ ขัดแย้ง ร่วมมือ

  22. Normal Stain Crisis War Cooperation Conflict ขอบเขตความร่วมมือและขัดแย้ง

  23. บทบาททางเรือกับวัตถุประสงค์ทางทะเลบทบาททางเรือกับวัตถุประสงค์ทางทะเล ทรัพยากร Building Confidence MARITIME COOPERATION การขนส่งสินค้า NAVAL ROLES ข้อมูลข่าวสาร CONFLICT AND COMPETITION Winning the Battles การแผ่ขยายอำนาจ

  24. สมุททานุภาพ การควบคุมทะเลโดยการค้าทางทะเลและความเหนือกว่าของกำลังทางเรือทำให้เกิดอิทธิพลในโลกนี้อย่างมาก...[และ] ยังเป็นเครื่องมือหลักในการทำให้ชาติมีความมั่นคั่ง Control of the sea by maritime commerce and naval supremacy means predominant influence in the world …[and] is the chief among the merely material elements in the power and prosperity of nations. -Mahan-

  25. ข้อจำกัดของสมุททานุภาพข้อจำกัดของสมุททานุภาพ ผู้ใดปกครองยุโรปตะวันออก จะควบคุมดินแดนหลักของโลก ผู้ใดควบคุมดินแดนหลักของโลกจะควบคุมเกาะของโลก และผู้ใดควบคุมเกาะของโลกจะควบคุมโลก "Who rules East Europe commands the Heartland; Who rules the Heartland commands the World Island; Who rules the World Island commands the World." -Mackinder-

  26. องค์ประกอบแห่งความสำเร็จทางทะเลองค์ประกอบแห่งความสำเร็จทางทะเล การค้าทางทะเล ความเหนือกว่าทางทะเล ทรัพยากรทางทะเล ความเข้มแข็งทางเรือ กองทัพเรือแตกต่างจากกองทัพบกและกองทัพอากาศ ตรงที่ขนาดและอำนาจการทำลายไม่ได้ขึ้นอยู่กับศักยภาพของศัตรู แต่จะขึ้นอยู่กับผลประโยชน์ทางทะเลที่ประเทศชาติต้องปกป้องคุ้มครอง

  27. Where are we?

  28. ระดับชั้นของกองทัพเรือระดับชั้นของกองทัพเรือ

  29. ระดับชั้นของกองทัพเรือระดับชั้นของกองทัพเรือ

  30. Size and Nature of the fleet • Geographic reach • Function and capability • Access to high-grade technology • Reputation • Readiness • Supply and infrastructure • Balance ระดับชั้นของกองทัพเรือ

  31. CG SSBN ระดับชั้นของกองทัพเรือ • Platform • Surface Ships • Submarines • Aircraft and Aircraft Carriers • Systems, Weapons, and Sensors • Information

  32. เทคโนโลยีทางเรือในอนาคตเทคโนโลยีทางเรือในอนาคต

  33. What should we do?

  34. สภาวะแวดล้อมทางทะเล The Sea is: • Global • Largely un-owned and un-ownable • Three-dimensional • Large, Opaque, varied and often hostile

  35. วิวัฒนาการของแนวคิดการปฏิบัติการทางเรือวิวัฒนาการของแนวคิดการปฏิบัติการทางเรือ

  36. Alfred T. Mahan Mahan and the Blue-Water Tendency A navy which wishes to effect decisively the issues of a maritime war must be composed of heavy ships – ‘battleships’ – possessing a maximum of fighting power, and so similar in type as to facilitate that uniformity of movement and of evolution upon which concentration … must depend.

  37. Mahan and the Blue-Water Tendency การครองทะเล ความเหนือกว่าทางทะเล การมีอำนาจสูงสุดทางเรือ ทะเลลึก การยุทธเชิงรุกและเชิงรับ การเคลื่อนกำลังออกไปส่วนหน้า กองทัพเรือขนาดใหญ่ที่ปฏิบัติการได้สามมิติ การสนับสนุนจากมหาชน Command of the sea Sea dominance Naval Supremacy Blue water Offensive and Decisive Battle Forward-deployed, Big fleet triphibious Navy, Public and professional support.

  38. Julian S. Corbett Corbett and the Maritime Tradition Of late years the world has become so deeply impressed with the efficacy of seapower that we are inclined to forget how impotent it is of itself to decide a war against great continental states, how tedious is the pressure of naval action unless it be nicely coordinated with military and diplomatic pressure.

  39. Corbett and the Maritime Tradition Since men live upon the land and not upon the sea, great issues between nations at war have always been decided – except in the rarest cases – either by what your army can do against your enemy’s territory and national life or else by the fear of what the fleet makes it possible for your army to do. Naval Strategy has to be related to land strategy.

  40. Corbett and the Maritime Tradition • Foreign policy related, • Joint approach, • Cost-effectiveness, • Sea control, • Amphibious operation, • Expeditionary operation, • Limited and modest objective, • Projection power ashore. • ความสัมพันธ์กับนโยบายต่างประเทศ • มุ่งไปสู่การปฏิบัติการร่วม • มุ่งเน้นประสิทธิภาพ • ควบคุมทะเล • ปฏิบัติการสะเทินน้ำสะเทินบก • ปฏิบัติการโพ้นทะเล • วัตถุประสงค์จำกัด • ขยายอำนาจสู่ฝั่ง

  41. แนวคิดการปฏิบัติการทางเรือแนวคิดการปฏิบัติการทางเรือ การครองทะเล(Command of the Sea) การควบคุมทะเล(SeaControl)

  42. แนวคิดการปฏิบัติการทางเรือแนวคิดการปฏิบัติการทางเรือ • Absolute Control (Command of the sea) • Working Control (Sea control) • Control in dispute • Enemy working control • Enemy absolute control

  43. แนวคิดการปฏิบัติการทางเรือแนวคิดการปฏิบัติการทางเรือ การครองทะเล การควบคุมทะเล การปฏิเสธการใช้ทะเล (SeaDenial)

  44. การครองทะเล การควบคุมทะเล การปฏิเสธการใช้ทะเล แนวคิดการปฏิบัติการทางเรือ การยุทธแบบเด็ดขาด (Decisive Battle) กองเรือคงชีพ (Fleet-in-Being) การปิดล้อมทางเรือ (Fleet Blockade)

  45. การครองทะเล การควบคุมทะเล การปฏิเสธการใช้ทะเล แนวคิดการปฏิบัติการทางเรือ การขยายกำลังสู่ฝั่ง ปฏิบัติการสะเทินน้ำสะเทินบก การโจมตีด้วยขีปนาวุธจากเรือ การโจมตีและปกป้อง เส้นทางคมนาคมทางทะเล การยุทธแบบเด็ดขาด ปฏิบัติการโพ้นทะเล กองเรือคงชีพ การทูตทางเรือ การปิดล้อมทางเรือ ปฏิบัติการเพื่อมนุษยธรรม

  46. WW I WW II Cold War Post Cold War • Sea Control by Blockade • Maritime Evacuation • Decisive Fleet Engagement • Strategic Sea-Based Attack • Diplomacy and Patrol • Amphibious Ops • Strategic Sea-Based Attack • Diplomacy • Strategic Sea-Based Attack • Humanitarian Ops แนวคิดการปฏิบัติการทางเรือ

  47. War time Peace time แนวคิดการปฏิบัติการทางเรือ Decisive Battle Fleet-In-Being Fleet Blockade Maritime Power Projection Command of the Sea Sea Control Sea Denial Military Objective Expeditionary Operations Naval Diplomacy Political Objective Humanitarian Operations Constabulary Economical Objective Defence of Shipping

  48. บทบาททางเรือกับวัตถุประสงค์ทางทะเลบทบาททางเรือกับวัตถุประสงค์ทางทะเล Maritime Objectives? Building Confidence Resources MARITIME COOPERATION • Diplomatic Role • Economic Role • Military Role • Constabulary Role Transportation Information CONFLICT AND COMPETITION Dominion Winning the Battles

More Related