1 / 9

ข้อเสนอการร่วมจ่าย ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า

ข้อเสนอการร่วมจ่าย ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า. 29 มีนาคม 2550. แนวคิดเรื่องการร่วมจ่าย. การร่วมจ่าย ณ จุดบริการเป็นเครื่องมือทางการเงิน เพื่อป้องกันการใช้บริการเกินความจำเป็น ( moral hazard) ในระบบประกันสุขภาพ ไม่ได้ใช้เป็นแหล่งเงินหลักสำหรับการจัดบริการ

zoe-shaw
Télécharger la présentation

ข้อเสนอการร่วมจ่าย ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ข้อเสนอการร่วมจ่ายในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าข้อเสนอการร่วมจ่ายในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 29 มีนาคม 2550

  2. แนวคิดเรื่องการร่วมจ่ายแนวคิดเรื่องการร่วมจ่าย • การร่วมจ่าย ณ จุดบริการเป็นเครื่องมือทางการเงิน เพื่อป้องกันการใช้บริการเกินความจำเป็น (moral hazard) ในระบบประกันสุขภาพ ไม่ได้ใช้เป็นแหล่งเงินหลักสำหรับการจัดบริการ • มาตรการทางการเงินต่อประชาชน (demand side intervention) มีผลต่อการควบคุมค่าใช้จ่ายเกินความจำเป็นน้อยกว่ามาตรการทางการเงินต่อผู้ให้บริการ (supply side intervention) • มาตรการทางการเงินต่อประชาชนอาจมีผลกระทบต่อการเข้าถึงบริการที่จำเป็นของประชาชน โดยเฉพาะประชาชนที่ยากจน • การลดผลกระทบอาจดำเนินการโดยให้มีการยกเว้น (exemption) การร่วมจ่ายสำหรับคนจน แต่จะต้องมีกระบวนการ target คนจนที่มีประสิทธิภาพ

  3. ความจำเป็นการร่วมจ่ายในไทยความจำเป็นการร่วมจ่ายในไทย • ปัจจุบันอัตราการใช้บริการผู้ป่วยนอก =2.5 visits/cap/year อัตราการนอนโรงพยาบาล = 0.11 admission/cap/year ข้อมูลเชิงประจักษ์ยืนยันการใช้บริการเกินความจำเป็นไม่ชัดเจน • มีข้อมูลจากหลายการศึกษาพบว่า คนจนประสบปัญหาการใช้บริการเนื่องจากต้นทุนทางอ้อม (indirect cost)สูง และหลายคนยังต้องร่วมจ่ายค่าบริการ • ก่อนยกเลิกการเก็บ 30 บาท ผู้มีบัตรทองที่ต้องเสีย 30 บาทมีร้อยละ 29 เป็นคนจน (ปัญหาการออกบัตร สปร. ตั้งแต่อดีต) • ประมาณการรายได้จากการร่วมจ่าย 30 บาทเท่ากับ 1.1-1.2 พันล้านบาท (ประมาณร้อยละ 1.5 ของเงินกองทุนฯ)

  4. การกระจายรายได้จากการร่วมจ่าย 30 บาท

  5. ความพยายามให้เกิดระบบร่วมจ่ายใหม่ความพยายามให้เกิดระบบร่วมจ่ายใหม่ • มีการวิพากษ์วิจารณ์ว่า งบประมาณระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าไม่เพียงพอ แต่ยังคุ้มครองคนมีฐานะโดยที่การร่วมจ่ายเท่ากัน (ต้องการให้คนมีฐานะจ่ายมากขึ้น) • ข้อเท็จจริง: concentration index ของระบบ = 0.5929 (ปี 2543) แสดงว่าคนมีฐานะจ่ายมากกว่าคนยากจน • ความพยายามให้คนที่มีฐานะร่วมจ่ายมากขึ้น ด้วยระบบ self targeting คือการร่วมจ่ายกรณีขอใช้บริการห้องพิเศษ • (1) การร่วมจ่ายค่าใช้จ่ายส่วนต่าง (ค่าห้อง ค่าบริการพิเศษ ฯลฯ) • (2) (1) + บางส่วนหรือทั้งหมดของค่ารักษาพยาบาลพื้นฐาน (คำวินิจฉัยของคณะกรรมการกฤษฎีกาเรื่องความเสมอภาค)

  6. ข้อเสนอการร่วมจ่ายห้องพิเศษล่าสุดข้อเสนอการร่วมจ่ายห้องพิเศษล่าสุด • กำหนดให้การใช้บริการห้องพิเศษอยู่นอกสิทธิประโยชน์ • ทางเลือกการร่วมจ่ายกรณีใช้ห้องพิเศษ • ผู้ป่วยจ่ายค่าบริการทางการแพทย์ ค่าห้องพิเศษและค่าใช้จ่ายอื่นๆ ทั้งหมด เนื่องจากไม่ครอบคลุมในสิทธิประโยชน์ • ผู้ป่วยจ่ายค่าบริการทางการแพทย์เฉพาะส่วนต่าง (ค่ารักษาพยาบาลเรียกเก็บลบค่าใช้จ่ายที่เบิกได้จาก สปสช.) + ค่าห้องพิเศษและค่าใช้จ่ายอื่นๆ • ผู้ป่วยจ่ายค่าบริการทางการแพทย์เป็นร้อยละ (ตามประเภทของห้องพิเศษ) ของค่าใช้จ่ายที่เรียกเก็บ (co-insurance) สปสช. จ่ายตามหลักเกณฑ์แต่หักลบตามสัดส่วนที่ผู้ป่วยร่วมจ่าย

  7. ประมาณการรายได้ร่วมจ่ายกรณีห้องพิเศษประมาณการรายได้ร่วมจ่ายกรณีห้องพิเศษ • คาดประมาณโดยใช้ข้อมูลผู้ป่วยในรายบุคคลปี 2549 • สมมุติฐานอัตราจ่ายของ สปสช. ต่อ adjRW=8,000 บาท (base rate) • เป็นประมาณการ maximum level ซึ่งหากมีการดำเนินการจะทำให้ผู้มีสิทธิUC ลดการใช้บริการห้องพิเศษเนื่องจากการเสียค่าใช้จ่ายบริการทางการแพทย์

  8. ข้อเสนอการร่วมจ่ายกรณีอื่นข้อเสนอการร่วมจ่ายกรณีอื่น • กำหนดมาตรฐานการให้บริการให้ชัดเจน การรักษาที่ต่างจาก (สูงกว่า)มาตรฐานที่กำหนด ให้ผู้มีสิทธิร่วมจ่าย (กรณีผู้มีสิทธิร้องขอโดยได้รับข้อมูลที่สมบูรณ์) • มาตรฐานยา: ยาบัญชียาหลักแห่งชาติ • มาตรฐานเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา: เสนอให้มีการจัดทำขึ้น • มาตรฐานวิธีการรักษา: ใช้ CPG ที่ราชวิทยาลัยต่างๆ จัดทำขึ้นและผ่านความเห็นชอบ

  9. ข้อพึงพิจารณาระบบการร่วมจ่ายข้อพึงพิจารณาระบบการร่วมจ่าย • รายได้การร่วมจ่ายเข้าสู่สถานพยาบาลโดยตรง และเป็นสถานพยาบาลที่อยู่ในพื้นที่ที่ประชาชนมีฐานะดี • ไม่ได้ลดภาระงบประมาณของระบบ (ยกเว้นทางเลือก C กรณีใช้ห้องพิเศษ) และไม่เกิดการกระจายงบประมาณไปสู่สถานพยาบาลพื้นที่ยากจน • ปัญหาการเกิดหลายมาตรฐานการดูแลผู้ป่วย และการสร้างอุปสงค์เทียมในการใช้บริการ • การพัฒนาระบบประกันคุณภาพบริการ • การควบคุมจำนวนและการใช้ห้องพิเศษ • การกำหนดให้ผู้ให้บริการต้องให้ข้อมูลอย่างครบถ้วนกรณีมาตรฐานบริการ

More Related