1 / 44

กัมมันตภาพรังสี ( radioactivity )

กัมมันตภาพรังสี ( radioactivity ). Henri Becquerel. Henri Becquerel (พ.ศ. 2395-2451) นักฟิสิกส์ชาวฝรั่งเศสได้รับรางวัลโนเบลทางฟิสิกส์ ในปีพ.ศ.2446 จากผลงานการค้นพบกัมมันตรังสีในธรรมชาติพร้อมกับปิแอร์และ มารี คูรี จากการค้นพบธาตุกัมมันตรังสีสองธาตุคือ เรเดียมและพอโลเนียม .

zubeda
Télécharger la présentation

กัมมันตภาพรังสี ( radioactivity )

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กัมมันตภาพรังสี (radioactivity) ตารางธาตุ ชุดที่ 4 อ.ศราวุทธ

  2. Henri Becquerel • Henri Becquerel (พ.ศ. 2395-2451) นักฟิสิกส์ชาวฝรั่งเศสได้รับรางวัลโนเบลทางฟิสิกส์ ในปีพ.ศ.2446 • จากผลงานการค้นพบกัมมันตรังสีในธรรมชาติพร้อมกับปิแอร์และ มารี คูรี • จากการค้นพบธาตุกัมมันตรังสีสองธาตุคือ เรเดียมและพอโลเนียม http://dbhs.wvusd.k12.ca.us/webdocs/Gallery/ ตารางธาตุ ชุดที่ 4 อ.ศราวุทธ

  3. Pierre Curie and Marie Curie • Pierre Curie (พ.ศ. 2402-2449)นักฟิสิกส์ชาวฝรั่งเศส Marie Curie นักฟิสิกส์ชาวโปแลนด์ • สามี ภรรยาคู่นี้ทำงานทางด้านกัมมันตภาพรังสี และได้รับรางวัลโนเบลเช่นกัน • เป็นที่น่าสังเกตว่า มาดามคูรีเสียชีวิตด้วยโรคลูคีเมีย หรือ มะเร็งในโลหิต ซึ่งอาจเนื่องมาจากการได้รับรังสีจากธาตุกัมมันตภาพรังสีเกินควรก็ได้ http://www.sn.ac.th/web61_3/activity.htm ตารางธาตุ ชุดที่ 4 อ.ศราวุทธ

  4. รังสีที่เบนน้อยและไปทางซ้ายของแนวเดิม เรียกว่า รังสีแอลฟา (alpha ray) • รังสีที่เบนมากและในทิศตรงข้ามกับรังสีแอลฟา เรียกว่า รังสีบีตา (beta ray) • รังสีที่พุ่งตรงไม่เบี่ยงเบนเลย เรียกว่า รังสีแกมมา (gamma ray) และ • นิยมเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ α , β และ Y ตามลำดับ ตารางธาตุ ชุดที่ 4 อ.ศราวุทธ http://www.sn.ac.th/web61_3/activity.htm

  5.  การเบนในสนามแม่เหล็ก การเบนในสนามแม่เหล็ก http://61.19.145.7/student/science401/chem/chem11/main1.html ตารางธาตุ ชุดที่ 4 อ.ศราวุทธ

  6. รังสีจากการสลายตัวตามธรรมชาติรังสีจากการสลายตัวตามธรรมชาติ  • ส่วนใหญ่มี 3 ชนิด คือ • รังสีแอลฟา ( - ray) คือ นิวเคลียสของ He มีมวล ~4u ประจุ +2e ทำให้อากาศแตกตัวเป็นอิออนได้ดีเนื่องจากอำนาจทะลุทะลวงต่ำ • รังสีเบต้า ( - ray) คืออิเล็กตรอน มี 2 ชนิด คือ เนกาตรอน- (หรืออิเล็กตรอนประจุ -e) และโพซิตอน + หรือ (อิเล็กตรอนประจุ +e) มีอำนาจทะลุทะลวงปานกลางทำให้แตกตัวปานกลาง • รังสีแกมมา ( - ray)เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าหรือโฟตอน มีอำนาจทะลุทะลวงสูงจึงทำให้แตกตัวได้น้อย + - hV ตารางธาตุ ชุดที่ 4 อ.ศราวุทธ

  7. สรุปสมบัติของรังสี ตารางธาตุ ชุดที่ 4 อ.ศราวุทธ http://61.19.145.7/student/science401/chem/chem11/main1.html

  8. Radioactive Half-Life ตารางธาตุ ชุดที่ 4 อ.ศราวุทธ http://hyperphysics.phy-astr.gsu.edu/hbase/nuclear/halfli.html

  9. Half - Life ตารางธาตุ ชุดที่ 4 อ.ศราวุทธ http://sol.sci.uop.edu/~jfalward/physics17/chapter14/chapter14.html

  10. Half - Life ตารางธาตุ ชุดที่ 4 อ.ศราวุทธ http://www.btinternet.com/~j.doyle/SR/Emc2/Fission.htm

  11. 3. เครื่องวัดกัมมันตภาพรังสี • เครื่องวัดกัมมันตภาพรังสีมีหลายชนิดที่น่าสนใจ คือ • 1. เครื่องนับไกเกอร์ (Gerger counter) • 2. เครื่องนับซินทิลเลชัน (scintillation counter) • 3. ฟิล์มแบดจ์ (film badge) ตารางธาตุ ชุดที่ 4 อ.ศราวุทธ

  12. The Geiger Counter ตารางธาตุ ชุดที่ 4 อ.ศราวุทธ http://sol.sci.uop.edu/~jfalward/physics17/chapter14/chapter14.html

  13. The Geiger Counter ตารางธาตุ ชุดที่ 4 อ.ศราวุทธ http://sol.sci.uop.edu/~jfalward/physics17/chapter14/chapter14.html

  14. scintillation counter http://www.tpub.com/content/doe/h1013v2/css/h1013v2_71.htm ตารางธาตุ ชุดที่ 4 อ.ศราวุทธ http://www.chm.bris.ac.uk/ms/theory/detection.html

  15. film badge ตารางธาตุ ชุดที่ 4 อ.ศราวุทธ http://www.personal.u-net.com/~landauer/loading.html

  16. 4. การใช้กัมมันตภาพรังสี • 1. การผลิตแผ่นโลหะแบบบาง • 2. การใช้กัมมันตภาพรังสีทางการแพทย์ • ใช้รังสีแกมมา รักษาโรคมะเร็ง • ใช้รังสีบีตา รักษาโรคมะเร็งในต่อมไทรอยด์ • ใช้กัมมันตภาพรังสีในการวินิจฉัยโรค • กล้องถ่ายรูปรังสีแกมมา • 3. กัมมันตภาพรังสีกับระเบิดนิวเคลียร์ • 4. กัมมันตภาพรังสีกับอุตสาหกรรม • 5. กัมมันตภาพรังสีกับการเกษตร • 6. การใช้กัมมันตภาพรังสีในการหาอายุของวัตถุโบราณ ตารางธาตุ ชุดที่ 4 อ.ศราวุทธ

  17. The Atomic Nucleus      ตารางธาตุ ชุดที่ 4 อ.ศราวุทธ http://sol.sci.uop.edu/~jfalward/physics17/chapter14/chapter14.html

  18. ปฏิกิริยานิวเคลียร์ (Nuclear Reaction) เป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลงของนิวเคลียสเมื่อถูกชนด้วยอนุภาค สิ่งที่เปลี่ยนแปลงได้แก่ มวล จำนวนโปรตอน จำนวนนิวตรอนโมเมนตัมเชิงมุม (สปิน) แพริตี หรือพลังงานมวล จำนวนโปรตอน จำนวนนิวตรอน โมเมนตัมเชิงมุม (สปิน) แพริตี หรือพลังงาน ตารางธาตุ ชุดที่ 4 อ.ศราวุทธ

  19. ปฏิกิริยานิวเคลียร์ 1. พลังงานจากการสลายตัว C = ความเร็วแสง = 3x108 m/s ถ้า Q เป็น + หมายถึงคายพลังงาน Q เป็น - หมายถึงดูดพลังงาน 2. ปฏิกิริยานิวเคลียร์อย่างง่าย ในการยิงนิวเคลียสด้วยอนุภาคaเข้าชนนิวเคลียสx ได้นิวเคลียสyและอนุภาคb a + x ----> y + b หรือ x (a , b) y ตารางธาตุ ชุดที่ 4 อ.ศราวุทธ

  20. 1. ฟิวชัน (fusion) 2. ฟิชชัน (fission) ยิงนิวตรอนเข้าไปในนิวเคลียส นิวเคลียสแตกออกเป็น 2 ส่วนและได้นิวตรอน2-3ตัว วิ่งเข้าไปชนนิวเคลียสอื่นเป็นchain reaction เป็นปฏิกิริยารวมตัวของนิวเคลียส ธาตุเบาเป็นนิวเคลียสที่หนักกว่า ประเภทของปฏิกิริยานิวเคลียร์ ตารางธาตุ ชุดที่ 4 อ.ศราวุทธ

  21. ตารางธาตุ ชุดที่ 4 อ.ศราวุทธ

  22. ปฏิกิริยาการแตกตัว (Fission) เป็นการแตกตัวออกเป็น 2 ส่วน หรือ 3 ส่วนของนิวเคลียส ตัวอย่างเช่น การแตกตัวของยูเรเนียม เมื่อถูกชนด้วยนิวตรอน ตารางธาตุ ชุดที่ 4 อ.ศราวุทธ

  23. ปฏิกิริยาการรวมตัว (Fusion) เป็นการรวมตัวของนิวเคลียสของธาตุเบาเป็นนิวเคลียสของธาตุหนัก ตัวอย่างเช่นปฏิกิริยาในวัฏจักรคาร์บอนบนดวงอาทิตย์ รวมสมการทั้งหมดจะได้ ตารางธาตุ ชุดที่ 4 อ.ศราวุทธ

  24. ขั้นตอนต่างๆ ของวัฎจักรคาร์บอน เป็นดังนี้ • ปฏิกิริยา ครึ่งชีวิตของนิวเคลียสผลลัพธ์ • 6C12 + 1H17N13 + Q 10.1 นาที 7N136C13+ 1e06C13 + 1H17N14 + Q 6C14 + 1H18O15 + Q 125 วินาที 8O157N15 + 1e07N15 + 1H16C12+ 2He4 (31) • เมื่อรวมสมการทั้งหมดจะได้4(1H1)2He4 + 2(1e0) + 24.7 Mev (32) • และโปรสิตรอนจะประลัยกับอิเลกตรอน ให้พลังงานอีก 2 Mev ดังนั้นพลังงานรวมจะเป็น 26.7 Mev ตารางธาตุ ชุดที่ 4 อ.ศราวุทธ

  25. http://www.rit.ac.th/homepage-sc/physics/oldfront/65/nuclear.htmhttp://www.rit.ac.th/homepage-sc/physics/oldfront/65/nuclear.htm โรงงานไฟฟ้านิวเคลียร์ ตารางธาตุ ชุดที่ 4 อ.ศราวุทธ

  26. สรุป นิวเคลียร์ฟิสิกส์ สัญญลักษณ์ของธาตุเขียนได้เป็นโดยที่ A = atomic mass no. (จำนวน p + n) Z = atomic no. (จำนวน p) • กฏการสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี N เป็นจำนวนนิวเคลียสที่เวลา t ใดๆ N0เป็นจำนวนนิวเคลียสตอนเริ่มต้น t = 0 λ เป็นค่าคงตัวการสลายตัว (s-1) ตารางธาตุ ชุดที่ 4 อ.ศราวุทธ

  27. กัมมันตภาพ (activity, A ) คือ อัตราการสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี กัมมันตภาพของธาตุกัมมันตรังสีใดๆ อาจเขียนได้ว่า มีหน่วยเป็น Bq (Bequerel) แต่เดิมใช้หน่วยเป็น Ci (Curie) โดยที่ 1 Ci = 3.7 X 1010 dps = 3.7 X 1010 Bq เมื่อ A0 = กัมมันตภาพเมื่อเวลาเริ่มต้น (t = 0) A = กัมมันตภาพเมื่อเวลาผ่านไป t • ครึ่งชีวิต (Half - Life) t1/2 เป็นช่วงเวลาที่นิวเคลียสสลายตัวไปเหลือครึ่งหนึ่งของจำนวนเดิม ตารางธาตุ ชุดที่ 4 อ.ศราวุทธ

  28. ปฏิกิริยานิวเคลียร์ (Nuclear Reaction) เป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลงของนิวเคลียสเมื่อถูกชนด้วยอนุภาค a + x ----> y + b ในการยิงนิวเคลียสด้วยอนุภาค a เข้าชนนิวเคลียส x ได้นิวเคลียส y และอนุภาค b หรือ x (a , b) y พลังงานจากการสลายตัว C = ความเร็วแสง = 3x108 m/s ถ้า Q เป็น + หมายถึงคายพลังงาน Q เป็น - หมายถึงดูดพลังงาน • หลักการ • ผลบวกเลขอะตอมก่อนและหลังปฏิกิริยาเท่ากัน คือประจุคงที่ • ผลบวกเลขมวลก่อนและหลังปฏิกิริยาเท่ากัน คือจำนวนนิวคลีออนคงที่ ตารางธาตุ ชุดที่ 4 อ.ศราวุทธ

  29. แบบฝึกหัดนิวเคลียร์ฟิสิกส์แบบฝึกหัดนิวเคลียร์ฟิสิกส์ • จงเปรียบเทียบในความคล้ายคลึงและข้อแตกต่างระหว่างการ สลายตัวของสารกัมมันตรังสีกับการตายของพลเมือง • ครึ่งชีวิตของเรเดียมมีค่า 1,600 ปี จะเป็นเวลานานเท่าใดที่เรเดียมนี้จะสลายตัวไป ของปริมาณเรเดียมที่มีอยู่เดิม • ทริเทียม () เป็นไอโซโทปของไฮโดรเจน ซึ่งเป็นสารกัมมันตรังสีที่มีการสลายตัวให้อิเลก ตรอนโดยมีครึ่งชีวิต 12.5 ปี • (ก) ภายหลังการสลายตัวแล้วทริเทียมจะกลายเป็นนิวเคลียสใหม่ อะไร • (ข) ตั้งแต่เตรียมสารทริเทียมนี้มาแล้ว 25 ปี จะเหลือทริเทียมอยู่อีก กี่เปอร์เซ็นต์ ตารางธาตุ ชุดที่ 4 อ.ศราวุทธ

  30. ตะกั่ว -214 ซึ่งมีมวล 3 x 10-14 กิโลกรัม มีกัมมันตภาพ 1 มิลลิคูรี จงหาค่าคงที่การสลายตัวของตะกั่ว –214 นี้ • ยูเรเนียม –238 สลายตัวให้อนุภาคอัลฟา โดยมีครึ่งชีวิตนาน 4.5 x 109 ปี จะมีอนุภาคส่งออกมาต่อวินาทีเป็นเท่าใด ในยูเรเนียมซึ่งมีมวล 1 กิโลกรัม • เรเดียม –226 มีการสลายตัวให้อนุภาคอัลฟาโดยมีค่าคงที่การสลายตัว 1.36 x 10-11 วินาที-1 เรเดียมมวล 1 กรัม จะมีกัมมันตภาพเป็นเท่าใด • จงคำนวณหามวลของคาร์บอน –14 ซึ่งมีกัมมันตภาพ 1 คูรี โดยที่คาร์บอน –14 มีครึ่งชีวิตเท่ากับ 5,570 ปี ตารางธาตุ ชุดที่ 4 อ.ศราวุทธ

  31. 8. สตรอนเทียม –90 มีครึ่งชีวิต 28 ปี • (ก) จงคำนวณค่าคงที่การสลายตัวของสตรอนเทียม • (ข) จงคำนวณกัมมันตภาพของสตรอนเทียมซึ่งมีมวล 1 มิลลิกรัม • (ค) จะกินเวลานานเท่าใด ที่สตรอนเทียมจะมีมวลลดลงเหลือเพียง 250 ไมโครกรัม และกัมมันตภาพของสตรอนเทียมตอนนั้น จะเท่าใด • ในการวัดกัมมันตภาพของคาร์บอน –14 ในต้นไม้ที่มีชีวิตมีค่า 0.007 ไมโครคูรีต่อกิโลกรัม และจากการวัดกัมมันตภาพของคาร์บอน –14 ในซากไม้ของเรือโบราณพบว่ามีเหลืออยู่เพียง 0.0048 ไมโครคูรีต่อกิโลกรัม ถ้าครึ่งชีวิตของคาร์บอน –14 นาน 5,760 ปี จงคำนวณอายุของเรือโบราณนั้น ตารางธาตุ ชุดที่ 4 อ.ศราวุทธ

  32. จงพิจารณาอนุกรมกัมมันตรังสีทอเรียม (4n) อนุกรมเนปทูเนียม (4n + 1) อนุกรมยูเรเนียม (4n+2) และอนุกรมแอกทิเนียม (4n + 3) โดยที่ n เป็นเลขจำนวนเต็ม n จะมีค่าต่ำสุด และสูงสุดเป็นเท่าใด สำหรับแต่ละอนุกรมดังกล่าวนั้น • จงเปรียบเทียบการไหลของน้ำของถังน้ำชุดหนึ่ง โดยน้ำไหลจากถังไปที่หนึ่งไปยังถังใบที่สองและในขณะเดียวกันจากถังใบที่สองไปยังใบที่สามต่อๆ กันไป กับการสลายตัวของสารกัมมันตรังสี A ไปเป็นสาร B และจากสาร B ไปเป็นสาร C ต่อๆ กันไปเช่นเดียวกัน ในกรณีที่การสลายตัวอยู่ในสภาพที่เรียกว่า สมดุล การไหลของน้ำในถังเหล่านั้นจะเป็นอย่างไร ตารางธาตุ ชุดที่ 4 อ.ศราวุทธ

  33. ในการสลายตัวของสารกัมมันตรังสี A สลายตัวเป็นสารกัมมันตรังสี B และสลายต่อไปเป็นสาร C ถ้า NO เป็นจำนวนนิวเคลียสที่มีอยู่เดิมของสาร A A, B เป็นค่าคงที่การสลายตัวของสาร A และ B ตามลำดับ จงแสดงว่าจำนวนนิวเคลียสของสาร B จะมีค่ามากที่สุดเมื่อมีการสลายตัวไปเป็นเวลานาน t = ln (B/A) / (B/A) • โดยที่คิดว่าขณะนี้ธาตุซึ่งเป็นสมาชิกในอนุกรมยูเรเนียมอยู่ในสภาพสมดุล • (ก) จะมีปริมาณของเรเดียม –226 อยู่เท่าใดในก้อนเร่ยูเรเนียม –238 อยู่ 1.25 กรัม โดยที่เรเดียมมีครึ่งชีวิต 1,620 ปี และยูเรเนียมมีครึ่งชีวิต 4.5 x 109 ปี • (ข) กัมมันตภาพของยูเรเนียมและเรเดียมในก้อนแร่นั้นเป็นเท่าใด ตารางธาตุ ชุดที่ 4 อ.ศราวุทธ

  34. เอกสารอ้างอิง • ภาควิชาฟิสิกส์, ฟิสิกส์ 2, พิมพ์ครั้งที่ 3, สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2535 • D.C. Giancoli. Physics Principles with Applications, 3rded., Prentic-Hall, ISBN: 0-13-666769-4, 1991. • D. Halliday, R.Resnick and K.S. Krane. Volume Two extended Version Physics, 4th ed., John Wiley & Sons, 1992. • R.A.Serway, Physics for Scientists & Engineers with Modern Physics, 4th ed., 1996. • http://www.physics.sci.rit.ac.th • http://www.colorado.edu/physics/2000/index.pl • http://www.dctech.com/physics/tutorials.php ตารางธาตุ ชุดที่ 4 อ.ศราวุทธ

  35. 5. หน่วยวัดกัมมันตภาพรังสี • มีหน่วยวัดกัมมันตภาพรังสีที่สำคัญ 2 แบบ คือ • 1. หน่วยวัดจำนวนนิวเคลียสที่สลายตัว ใช้หน่วยเป็น Becquerel (Bq) • 2. หน่วยวัดพลังงานที่กัมมันตภาพรังสีสูญเสียให้กับตัวกลาง (โดส :dose) มีหน่วยเป็น เกรย์ (Gray : Gy) , ซีเวอร์ต (sievert) ตารางธาตุ ชุดที่ 4 อ.ศราวุทธ

  36. หน่วยวัดกัมมันตภาพรังสีหน่วยวัดกัมมันตภาพรังสี • Dose equivalent (H) measures the biological effects of ionising radiations. It takes account of • the type of radiation • the energy carried by the radiation • how much tissue absorbs the energy • Dose equivalent is the product of absorbed dose and quality factor. The equation can be written asH = DQDose equivalent is measured in sieverts (Sv). ตารางธาตุ ชุดที่ 4 อ.ศราวุทธ

  37. Antoine Henri Becquerel (1852-1908)Otto Hahn, (1879-1968) http://www.accessexcellence.org/AE/AEC/CC/historical_background.html ตารางธาตุ ชุดที่ 4 อ.ศราวุทธ http://dr-albert-finck-ghs.nw.bildung-rp.de/hahnotto.html

  38. 6. โทษของกัมมันตภาพรังสี • ถ้าร่างกายได้รับจะทำให้โมเลกุลภายในเซลล์เกิดการเปลี่ยนแปลง ไม่สามารถทำงานตามปกติได้ • ถ้าเป็นเซลล์ที่เกี่ยวข้องกับการถ่ายทอดลักษณะก็จะเกิดการผ่าเหล่า เมื่อเข้าไปในร่างกายจะไปสะสมในกระดูก • แสงอนุภาคแอลฟาที่เปล่งออกมาจะไปทำลายเซลล์ที่ทำหน้าที่ผลิตเม็ดเลือดแดง ทำให้เกิดมะเร็งในเม็ดเลือดได้ ตารางธาตุ ชุดที่ 4 อ.ศราวุทธ

  39. 6. โทษของกัมมันตภาพรังสี • ผลของรังสีต่อมนุษย์สามารถแยกได้เป็น 2 ประเภท คือ • ความป่วยไข้จากรังสี เนื่องจากเมื่ออวัยวะส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกายได้รับรังสี โมเลกุลของธาตุต่างๆ ที่ประกอบเป็นเซลล์จะแตกตัว ทำให้เกิดอาการป่วยไข้ได้ • ผลทางพันธุกรรมจากรังสี จะมีผลทำให้การสร้างเซลล์ใหม่ในร่างกายมนุษย์เกิดการกลายพันธุ์ โดยเฉพาะเซลล์สืบพันธุ์ ตารางธาตุ ชุดที่ 4 อ.ศราวุทธ

  40. 7. การป้องกันกัมมันตภาพรังสี • หลักในการป้องกันอันตรายจากรังสีมีดังนี้ • ใช้เวลาเข้าใกล้บริเวณที่มีกัมมันตภาพรังสีให้น้อยที่สุด • พยายามอยู่ให้ห่างจากกัมมันตภาพรังสีให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ • ใช้ตะกั่ว คอนกรีต น้ำ หรือพาราฟิน เป็นเครื่องกำบังบริเวณที่มีการแผ่รังสี ตารางธาตุ ชุดที่ 4 อ.ศราวุทธ

  41. ตารางธาตุ ชุดที่ 4 อ.ศราวุทธ http://www.btinternet.com/~j.doyle/SR/Emc2/Fission.htm

  42. References • พูนศักดิ์ อินทวี และจำนง ฉายเชิด. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ : ฟิสิกส์ ม.4-ม.6. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์, 2547. 262 หน้า. • http://61.19.145.7/student/science401/chem/chem11/ • http://www.sn.ac.th/web61_3/activity1.htm ตารางธาตุ ชุดที่ 4 อ.ศราวุทธ

  43. ประโยชน์ของพลังงานนิวเคลียร์ • ด้านเกษตรกรรม งานในด้านนี้ที่ประสบความสำเร็จมากคือ การวิจัยด้านการฉายรังสีอาหารโดยใช้รังสีแกมมาช่วยยืดอายุการเก็บของอาหารทั้งพืชผัก ผลไม้ และเนื้อสัตว์ต่างๆ ได้เป็นอย่างดี โดยจะช่วยยับยั้งการงอกของพืชผัก ชะลอการสุกของผลไม้และช่วยทำลายแมลง พยาธิ หรือจุลินทรีย์ ในอาหารและผลิตผลทางการเกษตร ซึ่งอำนวยประโยชน์ให้ประชาชนได้บริโภคอาหารที่ถูกอนามัยปราศจากเชื้อโรคและพยาธิ ช่วยการถนอมอาหารและเก็บรักษาอาหารและพืชผลไว้บริโภคในช่วงฤดูกาลที่ขาดแคลนลดการนำเข้าจากต่างประเทศและเพิ่มรายได้ของประเทศโดยส่งเสริมการส่งออกของอาหารและผลิตผลการเกษตรจากการฉายรังสี • นอกจากนี้ยังนำพลังงานนิวเคลียร์มาใช้ในงานอื่นอีก เช่น ใช้วิเคราะห์ดินเพื่อการจำแนกพื้นที่เพาะปลูกหรือการใช้เทคนิคทางรังสีเพื่อศึกษาการดูดซึมแร่ธาตุและปุ๋ยโดยต้นไม้และพืชเศรษฐกิจต่างๆ ส่งเสริมการใช้ปุ๋ยให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น หรือการนำเทคนิคดังกล่าวมาปรับปรุงพันธ์พืช และสัตว์ เป็นต้น • ด้านการแพทย์ ปัจจุบันมีการนำเทคนิคด้านนิวเคลียร์มาใช้ในทางการแพทย์หลายด้าน เช่น ด้านการตรวจและวินิจฉัย โดยการใช้เทคนิค Radioimmunoassay (RIA) สำหรับตรวจวัดสารที่มีประมาณน้อยในร่างกาย หรือเทคนิคฉีดสารกัมมันตรังสีเข้าร่างกาย เพื่อหาตำแหน่งของอวัยวะที่เสียหน้าที่ และปัจจุบันสามารถตรวจดูรูปร่างและการทำงานของอวัยวะด้วยเครื่องมือที่เรียกว่า เครื่องเอ็กซเรย์คอมพิวเตอร์ ซึ่งทันสมัยที่สุด ในด้านการบำบัดรักษาโดยเฉพาะโรคมะเร็งได้มีการใช้สารกัมมันตรังสีร่วมกับการใช้ยาหรือสารเคมีและการผ่าตัด นอกจากนี้ยังมีการใช้รังสีในการทำให้ผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ปลอดเชื้อ หรือใช้รังสีในการเตรียมวัคซีนและแอนติเจนโดยยังคุณสมบัติของวัคซีนเอาไว้ และใช้รังสีหยุดยั้งการเจริญเติบโตของเม็ดเลือดขาวในผลิตภัณฑ์เลือด เพื่อทำให้ผู้ป่วยมีความปลอดภัยในการรับและถ่ายเลือด เป็นต้น • ด้านอุตสาหกรรม ปัจจัยหลักที่จะทำให้อุตสาหกรรมก้าวหน้าไปได้ในสภาวะเศรษฐกิจของโลก ในขณะนี้ คือ การเพิ่มผลผลิต การควบคุมคุณภาพ และการลดต้นทุนการผลิต เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ดังกล่าวในปัจจุบันไทยได้นำเทคโนโลยีนิวเคลียร์มาใช้ในการประกอบอุตสาหกรรมต่างๆ มากขึ้น เช่น การผลิตเส้นใยสังเคราะห์สำหรับทอผ้า การผลิตปูนซีเมนต์ ไม้อัดแผ่นเรียบ กระเบื้อง กระดาษ ผลิตภัณฑ์แก้ว เหล็ก หรือโลหะอุตสาหกรรมปิโตรเลียม และปิโตรเคมี การผลิตยางรถยนต์ การผลิตน้ำอัดลม การเปลี่ยนสีอัญมณี การควบคุมคุณภาพในการก่อสร้างถนน เป็นต้น โดยการใช้เทคนิคที่สำคัญคือ การตรวจสอบโดยไม่ทำลาย หรือการใช้รังสีเป็นสารติดตามและใช้เป็นระบบควบคุมในโรงงานอุตสาหกรรม เป็นต้น • ด้านการศึกษาวิจัยทางวิทยาศาสตร์ เช่น การวิเคราะห์ธาตุปริมาณน้อยและสารพิษในสิ่งแวดล้อม การศึกษาอายุของวัตถุโบราณ ศึกษาวัฏจักรหรือวงชีวิตของพืชและสัตว์บางชนิด การศึกษาการเคลื่อนที่ของน้ำใต้ดินและน้ำผิวดิน ศึกษาแหล่งพลังงานความร้อนใต้พิภพ ศึกษาการสะสมการเคลื่อนที่ของตะกอนในเขื่อน แม่น้ำ ลำคลอง และแหล่งน้ำต่างๆ นอกจากนี้ยังมีการใช้รังสีเพื่อการกำจัดน้ำเสีย การผลิตปุ๋ยธรรมชาติ การพัฒนาที่ดินทางการเกษตร กิจกรรมทางป่าไม้และอุทกวิทยา เป็นต้น ตารางธาตุ ชุดที่ 4 อ.ศราวุทธ

  44. ตารางธาตุ ชุดที่ 4 อ.ศราวุทธ

More Related