1 / 13

การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัว สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป.สธ. 2556

การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัว สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป.สธ. 2556. ค่าบริการที่ประมาณการจ่ายเบื้องต้น สป.สธ. 2556 ประกอบด้วย 4 รายการได้แก่. 1. ค่าบริการ OP ที่จ่ายแบบเหมาจ่ายตาม ประชากร 2. เงินเพิ่มสำหรับหน่วยบริการที่มีต้นทุนคงที่สูง 3 . ค่าบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค

adanna
Télécharger la présentation

การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัว สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป.สธ. 2556

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัวสำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป.สธ.2556

  2. ค่าบริการที่ประมาณการจ่ายเบื้องต้น สป.สธ.2556 ประกอบด้วย 4 รายการได้แก่ 1. ค่าบริการOP ที่จ่ายแบบเหมาจ่ายตามประชากร 2. เงินเพิ่มสำหรับหน่วยบริการที่มีต้นทุนคงที่สูง 3. ค่าบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค 3.1 จ่ายแบบเหมาจ่ายตามประชากร(PP Expressed demand) 3.2 บริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน 4. ค่าบริการ IP ทั้งบริการในเขตและนอกเขต

  3. การจัดสรรค่าบริการ OP Capitation • จัดสรรเบื้องต้นโดยใช้ฐานประชากร UC ณ กรกฎาคม 2555 ด้วยอัตรา Diff Capitation ระดับจังหวัด + อัตราเท่ากัน ที่ 171.01 บาท ต่อหัวประชากร UC • สำหรับหน่วยบริการที่ขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการใหม่ใน ปีงบประมาณ 2556 หรือรับโอนประชากรจากหน่วยบริการอื่นจะมีการปรับฐานประชากรตามข้อมูลที่ได้ประสานเพิ่มเติมกับสปสช.เขต

  4. ประเด็นเปลี่ยนแปลงที่สำคัญงบผู้ป่วยนอกแบบจ่ายรายหัวประเด็นเปลี่ยนแปลงที่สำคัญงบผู้ป่วยนอกแบบจ่ายรายหัว

  5. หลักเกณฑ์การจ่ายงบเพิ่มสำหรับหน่วยบริการที่มีต้นทุนคงที่สูงหลักเกณฑ์การจ่ายงบเพิ่มสำหรับหน่วยบริการที่มีต้นทุนคงที่สูง • บริหารจัดการเป็นภาพรวมระดับประเทศ • ใช้ผลการศึกษาสมการต้นทุน (cost function) ของหน่วยบริการและเครือข่ายหน่วยบริการ (CUP) ที่มีโรงพยาบาลขนาด 10 -120 เตียง และข้อมูลงบการเงินของหน่วยบริการและเครือข่ายหน่วยบริการ โดยประยุกต์จ่ายดังนี้ • 1. เปรียบเทียบผลการคำนวณตาม cost function กับการคำนวณ OP Cap หากมากกว่าให้จ่ายงบเพิ่มสำหรับหน่วยบริการที่มีต้นทุนคงที่สูงเท่ากับผลต่างระหว่างผลการคำนวณcost function กับ OP Cap • 2. สำหรับจังหวัดที่มีประชากร UC น้อยกว่า 300,000คน ปรับให้ภาพรวมของงบประมาณระดับจังหวัด (เฉพาะค่าบริการOPรวม IPและ PP) หลังหักเงินเดือน ให้ได้ไม่น้อยกว่าค่าเฉลี่ยของทุกจังหวัดหักหนึ่งส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (ค่าเฉลี่ย-1SD) • 3. ให้คณะอนุกรรมการพัฒนาระบบการเงินการคลัง เป็นผู้พิจารณาจ่ายเพิ่มสำหรับหน่วยบริการเป้าหมายมีภาระในการสงเคราะห์การให้บริการประชากรอื่นๆ เช่น หน่วยบริการในพื้นที่ติดชายแดนของจังหวัดตาก แม่ฮ่องสอน สระแก้ว หรือกรณีอื่นๆ

  6. การจัดสรรเงิน P&P Expressed demand • 1. P&P Expressed Demand แบบเหมาจ่ายรายหัว จำนวน 99.96 บาทต่อหัวประชากรไทย คำนวณอัตราจ่ายเป็นภาพรวมของแต่ละหน่วยบริการประจำและจังหวัด จากข้อมูล 3 ส่วน ได้แก่ • ร้อยละ 50 ตามจำนวนประชากรไทย ณ 1 กรกฎาคม 55 • ร้อยละ 25 ตามจำนวนเป้าผลงานแต่ละกลุ่ม • ร้อยละ 25 จากผลงานบริการปีที่ผ่านมา • 2. คำนวณจัดสรรเบื้องต้นให้กับหน่วยบริการประจำ ตามจำนวนหัวประชากร UC ณ 1 กรกฎาคม 2555 ด้วยอัตราเฉลี่ยต่อหัวประชากรที่คำนวณได้ตามข้อ1 • 3. สำหรับเงินที่เหลือจากการจัดสรรให้กับหน่วยบริการประจำตามข้อ 2 ให้ อปสจ.จัดสรรเพิ่มให้กับหน่วยบริการในจังหวัด Specific group ▪หญิงตั้งครรภ์และหลังคลอด ▪ เด็ก 0-5 ปี ▪ เด็ก 6-13 ปี ▪ ผู้ใหญ่ 30-60 ปี ▪ ผู้สูงอายุ

  7. ประเด็นเปลี่ยนแปลงที่สำคัญงบ P&P Expressed demand

  8. การจัดสรรเงินบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกันการจัดสรรเงินบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน • ค่าใช้จ่ายสร้างเสริมสุขภาพช่องปากและทันตกรรมป้องกันในกลุ่มเป้าหมายหลักจำนวน 14.08 บาทต่อประชากรไทย • คำนวณจัดสรรเบื้องต้นให้กับหน่วยบริการประจำ ตามจำนวนหัวประชากร UC ณ 1 กรกฎาคม 2555 ด้วยอัตรา 14.08 ต่อหัวประชากร • ให้ อปสจ. พิจารณาปรับเกลี่ยวงเงินและตกลงเป้าหมาย/ผลงานกับหน่วยบริการประจำได้ ตามความเหมาะสมของแต่ละจังหวัด

  9. ประเด็นเปลี่ยนแปลงที่สำคัญงบบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกันประเด็นเปลี่ยนแปลงที่สำคัญงบบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน

  10. การจัดสรรค่าบริการ IP ทั้งที่ให้บริการในเขต และนอกเขต ประมาณการadjRWที่คาดว่าหน่วยบริการจะทำได้ทั้งปีจากผลงานของหน่วยบริการที่ผ่านมา จัดสรรเงิน IP กรณีที่หน่วยบริการให้บริการรักษาผู้ป่วยภายในเขตเดียวกันด้วยอัตราจ่ายเบื้องต้นที่ประมาณการได้ในแต่ละเขต จัดสรรเงิน IP กรณีที่หน่วยบริการให้บริการรักษาผู้ป่วยนอกเขต โดยคำนวณจ่ายอัตรา 9,600 บาทต่อ adjRW

  11. ประเด็นเปลี่ยนแปลงที่สำคัญงบบริการ IP

  12. การหักเงินเดือน หน่วยบริการ สป.สธ. • หักเงินเดือนรวมทั้งหมดจำนวน 31,408.15 ล้านบาท เป็นวงเงินเดียวกับปี 55 เนื่องจากอัตราเหมาจ่ายไม่เพิ่มจึงคงหักเงินเดือนเท่าเดิม • ให้หักเงินเดือนเป็นภาพรวมใน ระดับจังหวัด • กรณีที่อาจมีการเกลี่ยระหว่างจังหวัด ให้มีคณะทำงานร่วมระหว่าง สปสช. และ สป.สธ. เป็นผู้พิจารณาโดยให้คำนึงถึงปัจจัยที่มีผลต่อรายได้และค่าใช้จ่ายของหน่วยบริการตามความเหมาะสม (อนุกรรมการพัฒนาระบบการเงินการคลัง มีข้อเสนอแนะว่าควรจะปรับลดค่าแรงสำหรับหน่วยบริการภาครัฐแต่ละจังหวัดไม่เกินค่าเฉลี่ยเงินเดือนต่อหัวประชากร+1SD) • ให้ สปสช.สาขาจังหวัดเป็นผู้เกลี่ยการหักเงินเดือนระหว่าง CUP ภายในจังหวัด

  13. การบริหารของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดการบริหารของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด • เกลี่ยเงินเดือนระหว่าง CUP ในจังหวัด • จัดสรรเงินที่จัดสรรระดับจังหวัดให้กับหน่วยบริการ • การบริหารและการกันเงินของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด • กันเงินค่าวัคซีนพิษสุนัขบ้า • กันเงินเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายสำหรับกรณีผู้ป่วยนอกรับส่งต่อ (OP Refer) • กันเงินในภาพรวมเพื่อการบริหารระดับจังหวัด

More Related