1 / 32

นโยบายการดำเนินงานสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2556 - 2557

นโยบายการดำเนินงานสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2556 - 2557. การประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำแผนพัฒนาสุขภาพจิต ในเครือข่ายบริการสุขภาพที่ 8 (นครพนม สกลนคร และบึงกาฬ) ประจำปี งบประมาณ 2556 วันที่ 24 กันยายน 2555 ณ โรงแรมนครพนมริ เวอร์ วิว จังหวัดนครพนม. เป้าหมายหลัก / ตัวชี้วัด. ประชาชนมีความสุข.

Télécharger la présentation

นโยบายการดำเนินงานสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2556 - 2557

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. นโยบายการดำเนินงานสุขภาพจิตนโยบายการดำเนินงานสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2556 - 2557 การประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำแผนพัฒนาสุขภาพจิต ในเครือข่ายบริการสุขภาพที่ 8(นครพนม สกลนคร และบึงกาฬ) ประจำปีงบประมาณ 2556 วันที่ 24 กันยายน 2555 ณ โรงแรมนครพนมริเวอร์วิว จังหวัดนครพนม

  2. เป้าหมายหลัก / ตัวชี้วัด ประชาชนมีความสุข เพิ่มความสุข ลดความทุกข์ 70% ของประชาชน ในแต่ละจังหวัดมีความสุข อัตราการฆ่าตัวตายของประชาชน ในแต่ละจังหวัดลดลง บุคคล – ครอบครัว – ชุมชน – สังคม

  3. แนวทางแนวทางการบูรณาการแนวทางแนวทางการบูรณาการ การดำเนินงานกับเครือข่าย เพื่อขับเคลื่อนนโยบายการดำเนินงานสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2556

  4. การพัฒนางานสุขภาพจิตในกลุ่มวัยเด็กการพัฒนางานสุขภาพจิตในกลุ่มวัยเด็ก ส่งเสริม/ กระตุ้นพัฒนาการเด็ก พัฒนาความฉลาดทางสติปัญญาและอารมณ์ (IQ-EQ) เน้น

  5. แนวทางการบูรณาการการดำเนินงานกับเครือข่าย เพื่อขับเคลื่อนนโยบายฯ เสี่ยง ดี กลุ่มเป้าหมาย ป่วย เด็ก อบรมพยาบาล WBC ใน รพ.สต./ รพช. จัด National Screening ทั่วประเทศ รณรงค์/ จัดกิจกรรมSocial campaign พัฒนามุมพัฒนาการเด็กใน Well-baby Clinic บริการสุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่นแบบบูรณาการ ระบบ Refer ใน รพศ./รพท./รพช. แพทย์ พยาบาลใน รพช. งานพัฒนาการในศูนย์เด็กเล็ก โรงพยาบาลจิตเวช ครูพี่เลี้ยง รพ.สต. รพช.

  6. การพัฒนางานสุขภาพจิตในกลุ่มวัยรุ่นการพัฒนางานสุขภาพจิตในกลุ่มวัยรุ่น พัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) พัฒนาทักษะชีวิต ป้องกันปัญหาการเรียนและพฤติกรรมเสี่ยงต่างๆ เช่น ความรุนแรง การติดสารเสพติด การติดเกม การตั้งครรภ์ เน้น

  7. แนวทางการบูรณาการการดำเนินงานกับเครือข่าย เพื่อขับเคลื่อนนโยบายฯ เสี่ยง ดี กลุ่มเป้าหมาย ป่วย พื้นที่สร้างสรรค์ เวทีสร้างสุขป้องกัน 4 ปัญหาหลักในวัยรุ่น Psychosocial Clinic รพศ./รพท. วัยรุ่น ระบบ Refer ท้อง, ยาเสพติด,ความรุนแรง, เกม รพช. ระบบ Refer บริการสุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่นแบบบูรณาการ การคัดกรองเด็กที่มีปัญหาการให้คำปรึกษาในโรงเรียน ระบบ YC SDQ โรงพยาบาลจิตเวช ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนในโรงเรียน นักจิตวิทยาในโรงเรียน ท้องไม่พร้อม / ยาเสพติด/ADHD / LD รณรงค์ สธ.+ศธ. ร่วมใจ ปฐมนิเทศ “ปฐมบททางเพศ”

  8. รูปแบบการดำเนินโครงการส่งเสริมสุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่น ปี 2556 กรมสุขภาพจิต -พัฒนาองค์ความรู้IQ/EQ ระบบดูแลช่วยเหลือ นักเรียน สารเสพติด ท้อง รุนแรง -พัฒนาศักยภาพบุคลากรในกรม/ร่วมกับศุนย์สุขภาพจิต/รพ.จิตเวช -พัฒนาแบบประเมิน รณรงค์ประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้/วิธีการกระตุ้นพัฒนาการ Autistic เฝ้าระวังและป้องกันปัญหาวัยรุ่น ADHD รพช. สสจ. ศูนย์อนามัยเขต ศูนย์สุขภาพจิต6 หน่วยเด็ก/สำนักพัฒนาสุขภาพจิต รพ.จิตเวช ศูนย์สื่อสารสังคม Well baby clinic:คัดกรองและกระตุ้นพัฒนาการ คลินิกpsychosocial -สนับสนุนและรับส่งต่อปัญหาพัฒนาการจาก well baby clinic--สนับสนุนและรับส่งต่อปัญหาปัญหาสุขภาพจิตวัยรุ่นจาก รร.และชุมชน รพ.สต. นิเทศ/ติดตาม ชุมชมโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก นิเทศ/ติดตาม/ประเมินผลการดำเนินงานในพื้นที่ • -ประเมินและกระตุ้นพัฒนาการ • คัดกรอง ASSIST ใน to be no.1 • SDQ ในระบบดูแลช่วยเหลือ • - จัดกิจกรรมพื้นที่สร้างสรรค์เวทีสร้างสุข พยาบาล PG • Output: • 1. 50% รพศ./ รพท. มีบริการสุขภาพจิตและจิตเวชวัยรุ่น • 2. 50%รพช. มีบริการพัฒนาการเด็กใน Well-baby Clinic • 3. 50%รพช. มีบริการสุขภาพจิตวัยรุ่นใน Psychosocial Clinic • Outcome: ร้อยละของผู้ป่วยได้รับการดูแล • MR/ Autistic/ADHD ร้อยละ 20 • -50%ของนักเรียนที่มีปัญหาได้รับการส่งต่อและมีการดูแลทางด้านสังคมจิตใจ • -พัฒนาการบกพร่อง 80% เด็กพัฒนาการบกพร่องได้รับการดูแล (ปี 57) กองแผนงาน Output :ร้อยละ 30 ของเครือข่ายในระดับอำเภอ มีศักยภาพมีความเข้มแข็ง (เครือข่ายระดับอำเภอ:รพช./รพ.สต./อปท./อสม./สถานประกอบการ/โรงเรียน/วัด/ศูนย์เด็กเล็ก/ครอบครัว/NGO/กลุ่มชมรมต่างๆ) +สื่อพื้นที่

  9. การพัฒนางานสุขภาพจิตในกลุ่มวัยทำงานการพัฒนางานสุขภาพจิตในกลุ่มวัยทำงาน พัฒนาความสามารถในการปรับตัว/ยืดหยุ่นในการทำงาน (Resilience) สร้างความสุขในการทำงาน ป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในที่ทำงาน (การติดสุรา/ยาเสพติด/ความเครียด) สร้างและรักษาความสัมพันธ์ในครอบครัว เน้น

  10. แนวทางการบูรณาการการดำเนินงานกับเครือข่าย เพื่อขับเคลื่อนนโยบายฯ เสี่ยง ดี ป่วย กลุ่มเป้าหมาย วัยทำงาน Happy Workplaceให้ความรู้เรื่องยาเสพติด / เครียด / ซึมเศร้า / สุรา / RQ / การแก้ปัญหา ระบบการให้คำปรึกษาในPsychosocial Clinic รพศ./รพท. ระบบ Refer รพช. ระบบบริการบำบัดรักษาและฟื้นฟูทางจิตเวช สถานประกอบการ/โรงงาน โรงพยาบาลจิตเวช

  11. รูปแบบการดำเนินโครงการส่งเสริมสุขภาพจิตวัยทำงาน ปี 2556 กรมสุขภาพจิต สำนักพัฒนาสุขภาพจิต / ผรส.ขอนแก่น พระศรี -พัฒนาองค์ความรู้ สุรา ยาเสพติดคลายเครียด ครอบครัว -พัฒนาศักยภาพบุคลากรในกรม/ร่วมกับศูนย์สุขภาพจิต/รพ.จิตเวช -พัฒนาแบบคัดกรองฉบับ อสม. พมจ. แรงงานจังหวัด สสจ. รณรงค์ประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้/วิธีการดูแลตนเองเพื่อเฝ้าระวังและป้องกันปัญหาความเครียด ซึมเศร้า ฆ่าตัวตาย สารเสพติด ครอบครัว รพช. • ศูนย์สุขภาพจิต รพ.จิตเวช ศูนย์สื่อสารสังคม รพ.สต. คลินิกpsychosocial อสม./ แกนนำ นิเทศ/ติดตาม ชุมชม สถานประกอบการ ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน คัดกรองและช่วยเหลือเครียด ซึมเศร้า 9Q/สุรา ยาเสพติด ปัญหาครอบครัว -สนับสนุนและรับส่งต่อปัญหาสุขภาพจิตจาก รพช.และชุมชน -คัดกรองซึมเศร้า 2Q ฆ่าตัวตาย /AUDIT ASSIST ครอบครัว เครียด - จัดกิจกรรมป้องกันปัญหาสุขภาพจิต พยาบาล PG นิเทศ/ติดตาม/ประเมินผลการดำเนินงานในพื้นที่ Output: 50% ของ รพช.มีคลินิก Psychosocial care Outcome: ร้อยละของผู้ป่วยได้รับการดูแล - Psychosis/ Schizophrenia ร้อยละ 75 - Depression ร้อยละ 31 - Suicide Ideation / Attempt ร้อยละ 90 Output :ร้อยละ 30 ของเครือข่ายในระดับอำเภอ มีศักยภาพมีความเข้มแข็ง (เครือข่ายระดับอำเภอ:รพช./รพ.สต./อปท./อสม./สถานประกอบการ/โรงเรียน/วัด/ศูนย์เด็กเล็ก/ครอบครัว/NGO/กลุ่มชมรมต่างๆ) +สื่อพื้นที่ กองแผนงาน

  12. การพัฒนางานสุขภาพจิตในกลุ่มวัยสูงอายุการพัฒนางานสุขภาพจิตในกลุ่มวัยสูงอายุ สร้างคุณค่าและความภาคภูมิใจในชีวิต ป้องกันปัญหาสุขภาพจิตในผู้สูงอายุที่ถูกทอดทิ้ง เน้น

  13. แนวทางการบูรณาการการดำเนินงานกับเครือข่าย เพื่อขับเคลื่อนนโยบายฯ เสี่ยง ดี ป่วย กลุ่มเป้าหมาย วัยสูงอายุ ส่งเสริมสุขภาพจิต / คัดกรอง Depression/Dementia และส่งต่อเข้ารับการดูแล ประเมินและดูแลภาวะDepression/Dementia รพศ./รพท. ระบบ Refer คลินิก NCD / คลินิกสูงอายุ ใน รพช. ชมรมผู้สูงอายุ ระบบบริการบำบัดรักษาและฟื้นฟูทางจิตเวช โรงพยาบาลจิตเวช

  14. รูปแบบการดำเนินโครงการส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุ ปี 2556 กรมสุขภาพจิต -พัฒนาแบบคัดกรอง สมองเสื่อม ฉบับ อสม. -พัฒนาศักยภาพบุคลากร ในกรม/ร่วมกับศูนย์สุขภาพจิต/รพ.จิตเวช รพช. รพ.สต. รณรงค์ประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้/วิธีการดูแลตนเองเพื่อสร้างความสุข/เฝ้าระวังและป้องกันปัญหาซึมเศร้า/สมองเสื่อมในผู้สูงอายุ • ศูนย์สุขภาพจิต สำนักพัฒนาสุขภาพจิต/ Geriatric excel รพ.จิตเวช ศูนย์สื่อสารสังคม คลินิกNCD/ผู้สูงอายุ -คัดกรองซึมเศร้า 9Q/สมองเสื่อมMMSE -จัดกิจกรรม 5 สุขเพื่อป้องกันปัญหาสุขภาพจิตและชะลอความเสื่อมของร่างกายขณะผู้สูงอายุรอแพทย์ตรวจ Psychosocial clinic สนับสนุน NCD clinic ชุมชน นิเทศ/ติดตาม อสม./ แกนนำ ชมรมผู้สูงอายุ(19,072 ชมรม) นิเทศ/ติดตาม/ประเมินผลการดำเนินงานในพื้นที่ - คัดกรองซึมเศร้า 2Q - จัดกิจกรรมป้องกันปัญหาสุขภาพจิต สมองเสื่อม (5 สุข/อื่นๆ) พยาบาล PG Output: 50% ของ รพช.มีบริการ Psychosocial care สำหรับผู้สูงอายุ Outcome: 50%ของผู้สูงอายุใน คลินิกNCD/ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองภาวะซึมเศร้า/สมองเสื่อม รวมทั้งได้รับการช่วยเหลือและดูแลทางด้านสังคมจิตใจ 5% dementia เข้าถึงการรักษา Output :ร้อยละ 30 ของเครือข่ายในระดับอำเภอ มีศักยภาพมีความเข้มแข็ง (เครือข่ายระดับอำเภอ:รพช./รพ.สต./อปท./อสม./สถานประกอบการ/โรงเรียน/วัด/ศูนย์เด็กเล็ก/ครอบครัว/NGO/กลุ่มชมรมต่างๆ) +สื่อพื้นที่ กองแผนงาน

  15. การพัฒนาระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวชการพัฒนาระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวช และการสร้างการเข้าถึงบริการฯ พัฒนาหน่วยบริการจิตเวชให้มีความเป็นเลิศเฉพาะทางฯ (Excellence center) ยกระดับงานบริการสุขภาพจิตและจิตเวชในโรงพยาบาลจิตเวชทั่วไปในสังกัดกรมฯ ในระดับที่เหนือกว่าระดับตติยภูมิ (Supra Tertiary) พัฒนาคุณภาพมาตรฐานของระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวชในประเทศไทย รวมทั้ง พัฒนาศักยภาพบุคลากร สร้างและพัฒนาเครือข่ายการดำเนินงานสุขภาพจิตชุมชนในระดับอำเภอให้มีศักยภาพ และความเข้มแข็ง เน้น

  16. แนวทางการบูรณาการการดำเนินงานกับเครือข่าย เพื่อขับเคลื่อนนโยบายฯ รุนแรง ยุ่งยาก ซับซ้อน ดี - เสี่ยง ป่วย กลุ่มเป้าหมาย Refer บริการสุขภาพจิตและจิตเวชระดับเหนือกว่าตติยภูมิ (Supra Tertiary) ระบบส่งเสริม/ ป้องกันเฝ้าระวัง คัดกรอง ให้ความรู้เบื้องต้น ผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช บริการสุขภาพจิตและจิตเวช ในระบบบริการสาธารณสุขระดับทุติยภูมิ / ตติยภูมิ เครือข่ายในชุมชน โรงพยาบาลจิตเวช 18 แห่ง รพช. / รพท. / รพศ. 12 พวงบริการ พัฒนาการเด็ก / MR / Autistic / ADHD / Schizophrenia/ Depression / Suicide / Dementia บริการบำบัดรักษา และฟื้นฟูสมรรถภาพ ทางจิตเวชเฉพาะทาง (Excellence) ประเมินและดูแลเบื้องต้น Refer รพ.สต. / ศสม. โรงพยาบาลจิตเวชเฉพาะทาง 17

  17. Psychosocial clinic ในรพช. พยาบาล PG สุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่น สุขภาพจิตวัยทำงาน สุขภาพจิตผู้สูงอายุ -สนับสนุนและส่งต่อปัญหาพัฒนาการจาก Well baby clinic -สนับสนุนและส่งต่อปัญหาสุขภาพจิตวัยรุ่น จากโรงเรียนและชุมชน -Well baby clinic : คัดกรอง และกระตุ้นพัฒนาการ -คัดกรองและช่วยเหลือเครียด ซึมเศร้า9Q/สุรา/ยาเสพติด ปัญหาครอบครัว -สนับสนุนและรับส่งต่อปัญหาสุขภาพจิตจากรพช.และชุมชน -สนับสนุน NCD Clinic คลินิก NCD/ผู้สูงอายุ -คัดกรองซึมเศร้า 9Q/สมองเสื่อม MMSE -จัดกิจกรรม 5 สุขเพื่อป้องกันปัญหาสุขภาพจิตและชะลอความเสื่อมของร่างกายขณะผู้สูงอายุรอแพทย์ตรวจ Output:50% ของรพช. มีบริการ Psychosocial careสำหรับผู้สูงอายุ Outcome:50 %ของผู้สูงอายุในคลินิก NCD/ผู้สูงอายุได้รับการ คัดกรองภาวะซึมเศร้า/สมองเสื่อมรวมทั้งได้รับการช่วยเหลือและดูแล ทางสังคมจิตใจ -50% dementia เข้าถึงการรักษา Output: 50% ของรพช.มีคลินิก Psychosocial care Outcome: ร้อยละของผู้ป่วยได้รับการดูแล -Psychosis/schizophrenia ร้อยละ75 -Depression ร้อยละ 31 -sucide Ideation/Attempt ร้อยละ 90 -30% ของผู้เสพติดและผู้มีปัญหา ครอบครัวได้รับการดูแลทางด้านสังคมจิตใจ Output: 1.50% รพศ./รพท.มีบริการสุขภาพจิตและจิตเวชวัยรุ่น 2.50% รพช.มีบริการพัฒนาการเด็กใน well baby clinic Outcome: ร้อยละของผู้ป่วยได้รับการดูแล -MR/Autistic/ADHD ร้อยละ 20 -50% ของนักเรียนที่มีปัญหาได้รับการส่งต่อและมีการดูแลทางด้านสังคมจิตใจ

  18. การพัฒนางานวิกฤตสุขภาพจิตการพัฒนางานวิกฤตสุขภาพจิต พัฒนาการดำเนินงานดูแลและเยียวยาจิตใจในสถานการณ์วิกฤต สุขภาพจิตจากเหตุการณ์ต่างๆ สื่อสารข้อมูลและความรู้ในการดูแลจิตใจในภาวะวิกฤต จัดทีม MCATT ประจำหน่วยงาน และประจำอำเภอในพื้นที่ พร้อมดูแลในสถานการณ์วิกฤต เน้น

  19. แนวทางการบูรณาการการดำเนินงานกับเครือข่าย เพื่อขับเคลื่อนนโยบายฯ เสี่ยง ดี กลุ่มเป้าหมาย ป่วย วิกฤตสุขภาพจิต เตรียมพร้อมซ้อมแผน บูรณาการการบริการวิกฤตสุขภาพจิตในระบบบริการ EMS ระยะปกติ สื่อสารความรู้ การดูแลจิตใจในวิกฤต MCATT ทุกอำเภอ ระยะวิกฤติฉุกเฉิน ส่งเสริมความรู้การดูแลจิตใจ สื่อสารความเสี่ยงจัดการกับความรู้สึก ติดตามฟื้นฟูเยียวยาจิตใจ ส่งเสริมความคิดบวก สร้างพลังใจ Resilience ระยะหลังวิกฤต

  20. เด็กและวัยรุ่น วัยทำงาน วัยสูงอายุ นิเทศ/ติดตาม สสจ. ศูนย์อนามัยเขต พมจ. แรงงานจังหวัด สสจ. บทบาทศูนย์สุขภาพจิตในการดำเนินงาน ปีงบประมาณ พ.ศ.2556 เครือข่ายในชุมชน เครือข่ายชุมชน เครือข่ายชุมชน ชุมชน สถานประกอบการ ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน ชุมชน ชุมชน โรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก ชมรมผู้สูงอายุ (19,072 ชมรม) -ประเมินและกระตุ้นพัฒนาการ -คัดกรอง ASSISTใน TO BE NO 1 -SDQในระบบดูแลช่วยเหลือ -จัดกิจกรรมพื้นที่สร้างสรรค์เวทีสร้างสุข -คัดกรองซึมเศร้า 2Q ฆ่าตัวตาย/ AUDIT ASSISTครอบครัว เครียด -จัดกิจกรรมป้องกันปัญหาสุขภาพจิต ศูนย์สุขภาพจิต -คัดกรองซึมเศร้า 2Q -จัดกิจกรรมป้องกันปัญหาสุขภาพจิต สมองเสื่อม (5สุข/อื่นๆ) Output : ร้อยละ 30 ของเครือข่ายในระดับอำเภอมีศักยภาพมีความเข้มแข็ง Outcome : ร้อยละ 30 ของชมรมผู้สูงอายุมีระบบคัดกรองภาวะซึมเศร้า/และมีกิจกรรมป้องกันปัญหาสุขภาพจิต ซึมเศร้าและสมองเสื่อม Output : ร้อยละ 30 ของเครือข่ายในระดับอำเภอมีศักยภาพมีความเข้มแข็ง ร้อยละ 20 ของ Friend Corner ในโรงเรียนมีคุณภาพและมีระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่เชื่อมโยงกับ รพช. Output : ร้อยละ 30 ของเครือข่ายในระดับอำเภอมีศักยภาพมีความเข้มแข็ง Outcome : ร้อยละ 30 ของอำเภอมีระบบฐานข้อมูลการคัดกรองและมีการจัดกิจกรรมป้องกันปัญหาสุขภาพจิตวัยทำงานและครอบครัว เครือข่ายระดับอำเภอ : รพช./รพ.สต./อปท./อสม./สถานประกอบการ/รร./วัด/ศูนย์เด็กเล็ก/ครอบครัว/NGO/กลุ่มชมรมต่างๆ

  21. สรุปแนวทางการพัฒนางานสุขภาพจิตที่สำคัญในระบบสาธารณสุขสรุปแนวทางการพัฒนางานสุขภาพจิตที่สำคัญในระบบสาธารณสุข กลุ่มเป้าหมาย

  22. แนวทางการบริหารการดำเนินงานแนวทางการบริหารการดำเนินงาน

  23. แนวทางการบริหารการดำเนินงานแนวทางการบริหารการดำเนินงาน

  24. ตัวชี้วัดที่สำคัญ / เป้าหมายการดำเนินงาน ตามนโยบายการดำเนินงานสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2556

  25. ภาพรวม

  26. วัยเด็ก

  27. วัยรุ่น วัยสูงอายุ

  28. ด้านบริการ ภาวะวิกฤต 29

  29. 30

More Related