1 / 13

แผนปฏิบัติราชการกระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2555 - 2558

แผนปฏิบัติราชการกระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2555 - 2558. สุธีร วัชร์ เจริญวงศ์ กลุ่มนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม. สภาพปัญหาเกี่ยวกับการเข้าถึงความยุติธรรมของประชาชน.

Télécharger la présentation

แผนปฏิบัติราชการกระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2555 - 2558

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แผนปฏิบัติราชการกระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2555 - 2558 สุธีรวัชร์ เจริญวงศ์ กลุ่มนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม

  2. สภาพปัญหาเกี่ยวกับการเข้าถึงความยุติธรรมของประชาชนสภาพปัญหาเกี่ยวกับการเข้าถึงความยุติธรรมของประชาชน • ปัญหาประชาชนขาดความรู้ ความเข้าใจในบทบัญญัติและสาระของกฎหมายตลอดจนสิทธิเสรีภาพที่พึงมีพึงได้โดยชอบธรรม • ปัญหากลไกของกระบวนการและระบบงานยุติธรรมของไทยมีความเข้มงวด เคร่งครัดขึ้นกับบทบัญญัติของกฎหมายวิธีพิจารณาความทั้งทางแพ่ง ทางอาญา และทางคดีปกครอง • ปัญหาประชาชนที่ยากจนและขาดแคลนทุนทรัพย์ในการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม • ปัญหาความไม่รู้หลักประกัน “ความยุติธรรม” ตามรัฐธรรมนูญ

  3. นโยบายรัฐบาลที่กระทรวงยุติธรรมมีบทบาทสำคัญนโยบายรัฐบาลที่กระทรวงยุติธรรมมีบทบาทสำคัญ นโยบายที่ 1 นโยบายเร่งด่วนที่จะเริ่มดำเนินการในปีแรก ข้อที่ 1.2 กำหนดให้การแก้ไขและป้องกันปัญหายาเสพติดเป็นวาระแห่งชาติ ข้อที่ 1.3 ป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในภาครัฐอย่างจริงจัง ข้อที่ 1.5 เร่งนำสันติสุขและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนกลับมาสู่พื้นที่จังหวัดชายแดนใต้ ข้อที่ 1.6 เร่งฟื้นฟูความสัมพันธ์และพัฒนาความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้านและนานาประเทศ นโยบายที่ 8 นโยบายการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ข้อที่ 8.2 กฎหมายและการยุติธรรม 8.2.1 ปฏิรูประบบกฎหมายและพัฒนากระบวนการยุติธรรมทั้งระบบให้มีความทันสมัย สอดคล้องกับหลักการประชาธิปไตย เท่าทันต่อ การเปลี่ยนแปลง และสอดคล้องกับหลักนิติธรรม 8.2.2 ปรับปรุงระบบการช่วยเหลือประชาชนที่ไม่ได้รับความเป็นธรรมด้วยมาตรการเชิงรุก 8.2.3 การนำมาตรการทางภาษีและการป้องกัน และปราบปรามการฟอกเงินมาใช้ในการดำเนินการต่อผู้กระทำผิด ดูแลแก้ไขและฟื้นฟูพัฒนาผู้กระทำความผิดให้เป็นคนดีสามารถกลับสู่สังคมได้ เพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน การคุมประพฤติ การบังคับคดีและส่งเสริมความยุติธรรมและความเป็นธรรมในจังหวัดชายแดนภาคใต้ 8.2.4 ป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมเชิงรุกโดยประชาชนมีส่วนร่วม จัดให้มีกลไกการบริหารจัดการแบบครบวงจร

  4. นโยบายเน้นหนักของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม (พลตำรวจเอก ประชา พรหมนอก) • การจัดตั้งสำนักงานยุติธรรมจังหวัด เพื่อเสริมสร้างการอำนวยความยุติธรรมเชิงรุก และเพิ่มโอกาสการเข้าถึงความยุติธรรมของประชาชน • การเสริมสร้างความปรองดองสมานฉันท์ในสังคมไทย โดยการเยียวยาผู้ที่ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ความรุนแรง และเหตุการณ์ความไม่สงบทุกเหตุการณ์ • การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดแบบครบวงจร • การแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยน้อมนำกระแสพระราชดำรัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” เป็นหลักปฏิบัติในทางสันติวิธี • การป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ ทั้งการทุจริตภาครัฐ และการทุจริตภาคเอกชน โดยเฉพาะการทุจริตงบประมาณของรัฐหรือฮั้วการประมูล • การพัฒนากฎหมาย และกระบวนการยุติธรรม และการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อรองรับการรวมตัวเป็นประชาคมอาเซียน ในปี พ.ศ. 2558

  5. การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมของกระทรวงยุติธรรม (SWOT Analysis)

  6. วิสัยทัศน์กระทรวงยุติธรรมวิสัยทัศน์กระทรวงยุติธรรม “ผู้นำในการบริหารและบูรณาการ งานยุติธรรมเพื่อสังคมที่เป็นธรรม”

  7. พันธกิจกระทรวงยุติธรรมพันธกิจกระทรวงยุติธรรม • บริหารจัดการในการอำนวยความยุติธรรมในสังคมเพื่อให้ประชาชนเข้าถึง ความยุติธรรมอย่างทั่วถึง เท่าเทียม และเป็นธรรม • พัฒนาคุณภาพการดำเนินการตามกฎหมาย พันธะสัญญาระหว่างประเทศและ มาตรฐานในการบริหารงานยุติธรรม อำนวยความยุติธรรมและพัฒนาพฤตินิสัย • ส่งเสริมและพัฒนากระบวนการยุติธรรมทางเลือก • พัฒนากฎหมายและระบบงานยุติธรรม • ส่งเสริมการบูรณาการความร่วมมืองานยุติธรรมกับทุกภาคส่วน • พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการองค์การให้มีขีดสมรรถนะสูง

  8. ปัญหาเกี่ยวกับการเข้าถึงความยุติธรรมของประชาชนปัญหาเกี่ยวกับการเข้าถึงความยุติธรรมของประชาชน บริบทที่เกี่ยวข้องกับ การบริหารงานยุติธรรม ยุทธศาสตร์กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2555-2558 กลยุทธ์ที่ 1 ส่งเสริมให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการทำงานตามพันธกิจ ยุทธศาสตร์ และภาระหน้าที่ของกระทรวงและร่วมตรวจสอบ เพื่อให้เกิดความโปร่งใสในการทำงาน กลยุทธ์ที่ 2 พัฒนาและปรับปรุงกฎหมายและระเบียบให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และเทคโนโลยี กลยุทธที่ 3 สนับสนุนการทำงานแบบบูรณาการ และประสานความร่วมมือระหว่างหน่วยงานภาครัฐ เอกชน ประชาสังคม และองค์กรพัฒนาเอกชน รวมทั้งหน่วยงานระหว่างประเทศ กลยุทธ์ที่ 4 พัฒนาระบบการป้องกันเชิงรุก (Early Prevention) ของภารกิจกระทรวงยุติธรรมให้มีประสิทธิภาพ ประชาชนถูกหลอกลวง เอารัดเอาเปรียบ ล่วงละเมิดสิทธิ ปัญหาการร้องทุกข์และข้อขัดแย้งต่างๆ ในสังคมมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1พัฒนาการอำนวยความยุติธรรม ความไม่สงบและความรุนแรงในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ กลไกของกระบวนการและระบบงานยุติธรรมของไทยมีความเข้มงวด เคร่งครัดขึ้นกับบทบัญญัติของกฎหมาย กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาศักยภาพและประสิทธิภาพบุคลากรให้มีทักษะและความชำนาญตามภารกิจที่เกี่ยวข้องและก้าวทันต่อการเปลี่ยนแปลงสถานการณ์ต่าง ๆ เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชน กลยุทธ์ที่ 2 พัฒนาระบบการทำงานให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลพร้อมรองรับสถานการณ์ในภาวะปกติและไม่ปกติโดยยึดหลักธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ กลยุทธ์ที่ 3 ส่งเสริมและพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศรวมถึงการพัฒนาฐานข้อมูลเครือข่ายเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานและบูรณาการงานของกระทรวงยุติธรรม กลยุทธ์ที่ 4 พัฒนาระบบการสื่อสารสาธารณะ เพื่อให้ประชาชนเข้าใจบทบาทของกระทรวงและขั้นตอนในกระบวนการยุติธรรมทั้งในกระแสหลักและทางเลือกมากขึ้น กลยุทธ์ที่ 5 ส่งเสริมการสร้างวัฒนธรรมองค์การของกระทรวงยุติธรรมให้เป็นหนึ่งเดียว กลยุทธ์ที่ 6 พัฒนาบุคลากรและระบบงานกระทรวงยุติธรรมให้มีความพร้อมเพื่อรองรับการเข้าสู่ ประชาคมอาเซียนในปี พ.ศ. 2558 ข้อพิพาททางแพ่งและทางปกครองมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2พัฒนาและปรับปรุงศักยภาพการบริหารงานยุติธรรม คดีอาญาและผู้ต้องขังยังมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ประชาชนที่ยากจนและขาดแคลนทุนทรัพย์ในการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม เด็กและเยาวชนมีแนวโน้มกระทำความผิด และกระทำผิดซ้ำมากยิ่งขึ้น ประชาชนไม่รู้หลักประกัน “ความยุติธรรม” ตามรัฐธรรมนูญ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3เร่งรัดการพัฒนากระบวนการยุติธรรมทางเลือก กลยุทธ์ที่ 1 เสริมสร้างและพัฒนาระบบยุติธรรมชุมชน/ยุติธรรมทางเลือก ให้มีความเข้มแข็งเพื่อเป็นทางเลือกในการอำนวยความยุติธรรม กลยุทธ์ที่ 2 ส่งเสริมและพัฒนาการเสริมสร้างความสมานฉันท์ เพื่อสังคมที่สงบสุข กลยุทธ์ที่ 3 ส่งเสริมและพัฒนาระบบมาตรการการลงโทษระดับกลาง ปัญหายาเสพติดเริ่มกลับมารุนแรงยิ่งขึ้น

  9. ยุทธศาสตร์กระทรวงยุติธรรมยุทธศาสตร์กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2555-2558 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาการอำนวยความยุติธรรม กลยุทธ์ที่ 1 ส่งเสริมให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการทำงานตามพันธกิจ ยุทธศาสตร์ และภาระหน้าที่ของกระทรวงและร่วมตรวจสอบ เพื่อให้เกิดความโปร่งใสในการทำงาน กลยุทธ์ที่ 2 พัฒนาและปรับปรุงกฎหมายและระเบียบให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และเทคโนโลยี กลยุทธที่ 3 สนับสนุนการทำงานแบบบูรณาการ และประสานความร่วมมือระหว่างหน่วยงานภาครัฐ เอกชน ประชาสังคม และองค์กรพัฒนาเอกชน รวมทั้งหน่วยงานระหว่างประเทศ กลยุทธ์ที่ 4 พัฒนาระบบการป้องกันเชิงรุก (Early Prevention) ของภารกิจกระทรวงยุติธรรมให้มีประสิทธิภาพ

  10. ยุทธศาสตร์กระทรวงยุติธรรมยุทธศาสตร์กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2555-2558 กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาศักยภาพและประสิทธิภาพบุคลากรให้มีทักษะและความชำนาญตามภารกิจที่เกี่ยวข้องและก้าวทันต่อการเปลี่ยนแปลงสถานการณ์ต่าง ๆ เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชน กลยุทธ์ที่ 2 พัฒนาระบบการทำงานให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลพร้อมรองรับสถานการณ์ในภาวะปกติและไม่ปกติโดยยึดหลักธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ กลยุทธ์ที่ 3 ส่งเสริมและพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศรวมถึงการพัฒนาฐานข้อมูลเครือข่ายเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานและบูรณาการงานของกระทรวงยุติธรรม กลยุทธ์ที่ 4 พัฒนาระบบการสื่อสารสาธารณะ เพื่อให้ประชาชนเข้าใจบทบาทของกระทรวงและขั้นตอนในกระบวนการยุติธรรมทั้งในกระแสหลักและทางเลือกมากขึ้น กลยุทธ์ที่ 5 ส่งเสริมการสร้างวัฒนธรรมองค์การของกระทรวงยุติธรรมให้เป็นหนึ่งเดียว กลยุทธ์ที่ 6 พัฒนาบุคลากรและระบบงานกระทรวงยุติธรรมให้มีความพร้อมเพื่อรองรับการเข้าสู่ ประชาคมอาเซียนในปี พ.ศ. 2558 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาและปรับปรุงศักยภาพการบริหารงานยุติธรรม

  11. ยุทธศาสตร์กระทรวงยุติธรรมยุทธศาสตร์กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2555-2558 กลยุทธ์ที่ 1 เสริมสร้างและพัฒนาระบบ ยุติธรรมชุมชน/ยุติธรรมทางเลือก ให้มีความเข้มแข็งเพื่อเป็นทางเลือกในการอำนวยความยุติธรรม กลยุทธ์ที่ 2 ส่งเสริมและพัฒนาการเสริมสร้างความสมานฉันท์ เพื่อสังคมที่สงบสุข กลยุทธ์ที่ 3 ส่งเสริมและพัฒนาระบบมาตรการการลงโทษระดับกลาง ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 เร่งรัดการพัฒนากระบวนการยุติธรรมทางเลือก

  12. วิสัยทัศน์กระทรวงยุติธรรมวิสัยทัศน์กระทรวงยุติธรรม “ผู้นำในการบริหารและบูรณาการงานยุติธรรมเพื่อสังคมที่เป็นธรรม” ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1พัฒนาการอำนวยความยุติธรรม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาและปรับปรุงศักยภาพการบริหารงานยุติธรรม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3เร่งรัดการพัฒนากระบวนการยุติธรรมทางเลือก กลยุทธ์ที่ 1 เสริมสร้างและพัฒนาระบบยุติธรรมชุมชน/ยุติธรรมทางเลือก ให้มีความเข้มแข็งเพื่อเป็นทางเลือกในการอำนวยความยุติธรรม กลยุทธ์ที่ 2 ส่งเสริมและพัฒนาการเสริมสร้างความสมานฉันท์ เพื่อสังคมที่สงบสุข กลยุทธ์ที่ 3 ส่งเสริมและพัฒนาระบบมาตรการการลงโทษระดับกลาง กลยุทธ์ที่ 1 ส่งเสริมให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการทำงานตามพันธกิจ ยุทธศาสตร์ และภาระหน้าที่ของกระทรวงและร่วมตรวจสอบ เพื่อให้เกิดความโปร่งใสในการทำงาน กลยุทธ์ที่ 2 พัฒนาและปรับปรุงกฎหมายและระเบียบให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และเทคโนโลยี กลยุทธที่ 3 สนับสนุนการทำงานแบบบูรณาการ และประสานความร่วมมือระหว่างหน่วยงานภาครัฐ เอกชน ประชาสังคม และองค์กรพัฒนาเอกชน รวมทั้งหน่วยงานระหว่างประเทศ กลยุทธ์ที่ 4 พัฒนาระบบการป้องกันเชิงรุก (Early Prevention) ของภารกิจกระทรวงยุติธรรมให้มีประสิทธิภาพ กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาศักยภาพและประสิทธิภาพบุคลากรให้มีทักษะและความชำนาญตามภารกิจที่เกี่ยวข้องและก้าวทันต่อการเปลี่ยนแปลงสถานการณ์ต่าง ๆ เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชน กลยุทธ์ที่ 2 พัฒนาระบบการทำงานให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลพร้อมรองรับสถานการณ์ในภาวะปกติและไม่ปกติโดยยึดหลักธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ กลยุทธ์ที่ 3 ส่งเสริมและพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศรวมถึงการพัฒนาฐานข้อมูลเครือข่ายเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานและบูรณาการงานของกระทรวงยุติธรรม กลยุทธ์ที่ 4 พัฒนาระบบการสื่อสารสาธารณะ เพื่อให้ประชาชนเข้าใจบทบาทของกระทรวงและขั้นตอนในกระบวนการยุติธรรมทั้งในกระแสหลักและทางเลือกมากขึ้น กลยุทธ์ที่ 5 ส่งเสริมการสร้างวัฒนธรรมองค์การของกระทรวงยุติธรรมให้เป็นหนึ่งเดียว กลยุทธ์ที่ 6 พัฒนาบุคลากรและระบบงานกระทรวงยุติธรรมให้มีความพร้อมเพื่อรองรับการเข้าสู่ ประชาคมอาเซียนในปี พ.ศ. 2558

  13. จบการนำเสนอ Q & A สุธีรวัชร์ เจริญวงศ์ กลุ่มนโยบายและยุทธศาสตร์ 0 2141 5332 0 81859 7710

More Related