1 / 14

DRUG SAFETY DAY

การบริหารยาคำสั่งสัดส่วนและการคำนวณเบื้องต้น . DRUG SAFETY DAY. ภญ.วนัสนันท์ วรรณ สุพริ้ง ห้องจ่ายยาผู้ป่วยใน 4. โรงพยาบาล สรรพสิทธิประสงค์ จังหวัดอุบลราชธานี. มาตราชั่ง ตวง วัด. หน่วยน้ำหนัก. หน่วยปริมาตร. μ g : microgram mg : milligram Gm : gram gr. : grans. ml : milliter , cc

cricket
Télécharger la présentation

DRUG SAFETY DAY

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบริหารยาคำสั่งสัดส่วนและการคำนวณเบื้องต้น DRUG SAFETY DAY ภญ.วนัสนันท์วรรณสุพริ้ง ห้องจ่ายยาผู้ป่วยใน 4 โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ จังหวัดอุบลราชธานี

  2. มาตราชั่ง ตวง วัด หน่วยน้ำหนัก หน่วยปริมาตร μg : microgram mg : milligram Gm : gram gr. : grans ml : milliter, cc L : Littre tsp : ช้อนชา tbsp : ช้อนโต๊ะ 1000 μg = 1 mg 1000 mg = 1 Gm 1000 Gm = 1 Kg 1 gr. (grain) = 64.8 mg (60mg) 1000 ml = 1 L 1 tsp (ช้อนชา) = 5 ml 1 tbsp(ช้อนโต๊ะ)= 15 ml

  3. มาตราชั่ง ตวง วัด 1. ความเข้มข้นของสาร

  4. สารละลาย • สารละลาย (solution) หมายถึง ของผสมที่มีลักษณะเป็นเนื้อเดียวกัน ประกอบด้วย ตัวทำละลาย กับ ตัวถูกละลาย • 2. วิธีการคำนวณความแรงของสารละลาย 1 สารละลาย A มีปริมาตร 50 ml มีตัวยาอยู่ 10 Gm จะมีความแรงเทาไร วิธีคิด ปริมาตรสาร 50 ml มีตัวยา 10 Gm ถ้า ปริมาตรสาร 100 ml มีตัวยา = 10100 = 20% 50 สารละลาย B มีปริมาตร 100 ml มีตัวยาอยู่ปริมาตร 25 ml จะมีความแรงเทาไร วิธีคิด ปริมาตรสาร 100 ml มีตัวยาปริมาตร 25 Gm ถ้า ปริมาตรสาร 100 ml มีตัวยา = 10025 = 25% 100

  5. สารละลาย • 2. วิธีการคำนวณความแรงของสารละลาย 2 สารละลายอัตราส่วน 1:200 เทียบเป็นความแรงของสารละลายจะได้เท่าไร หมายถึง ในสารละลาย 200 ml มีตัวยาสำคัญอยู่ 1 Gm ถ้า ในสารละลาย 100 ml มีตัวยา = 1100 =0.5% 200

  6. สารละลาย 3.1 วิธีการคำนวณ โดยใช้สูตร C1V1=C2V2 C1 = ความเข้มข้นของสารละลายชนิดที่ 1 C2 = ความเข้มข้นของสารละลายชนิดที่ 2 V1 = ปริมาตรของสารละลายชนิดที่ 1 V2= ปริมาตรของสารละลายชนิดที่ 2 3.2 วิธี Allegation method • 3. การลดและการเพิ่มความเข้มข้น

  7. สารละลาย • 3.1 การลดและการเพิ่มความเข้มข้น โดยการคำนวณ 3 รพ.มีน้ำเกลือ D-10-N ถ้าหากต้องการน้ำเกลือ D-5-N 1000 ml จะต้องเตรียมอย่างไร D-10-N หมายถึง น้ำเกลือ 0.9%NSS มี dextrose 10% (C1) D-5-N หมายถึง น้ำเกลือ 0.9%NSS มี dextrose 5% (C2) C1 คือ ความเข้มข้นของ D-10-N =10% V1 คือ ปริมาตรของ D-10-N ที่ต้องการหา C2 คือ ความเข้มข้นของ D-5-N =5% V2 คือ ปริมาตรของ D-5-N=1000ml จากสูตร C1V1=C2V2 วิธีคิด10 V1 = 5 1000 V1 = 5 1000/10 = 500 ml วิธีเตรียม สามารถเตรียมน้ำเกลือ D-5-N 1000 ml จาก D-10-N โดย นำ D-10-N มา 500 ml แล้วเติม 0.9%NSS จนได้เท่ากับ 1000 ml

  8. สารละลาย • 3.1 การลดและการเพิ่มความเข้มข้น โดยการคำนวณ 4 แพทย์สั่ง 10%Albumin 50 ml จะต้องทำอย่างไร (ใน รพ.มี 20%Albumin 50 ml/ขวด) C1 = 20% V1= ??? Albumin ที่มีใน รพ. C2 = 10% V2 = 50 ml Albumin ที่ต้องการ จากสูตร C1V1=C2V2 วิธีคิด20*V1 = 10*50 V1 = 10*50/20 V1 = 25 ml ดังนั้น จะต้องดูด 20%Albumin มาปริมาตร 25 ml ผสมกับ SWFI 25 ml (จะได้ปริมาตรทั้งหมด 50 ml ) ก็จะได้ 10%Albumin 50 ml ตามต้องการ

  9. สารละลาย • 3.2 การลดและการเพิ่มความเข้มข้น โดยวิธี Allegation method 5 ถ้าต้องการเตรียม D-10-W100 ml โดย รพ.มี D-5-W 100 ml และ 50%glucose 5% 40 ml D-5-W 10 50% 5 ml 50%glucose 40+5= 45 ส่วนของ D-10-W ดังนั้น ใช้ D-5-W 40/45*100= 88.88 ml 50%glucose 5/45*100= 11.11 ml สามารถเตรียมน้ำเกลือ D-10-W 100 ml ได้ โดย นำน้ำเกลือ D-5-W ขนาดขวด 100 ml 1 ขวด แล้วดูดทิ้ง 11.11 ml (จะเหลือน้ำเกลือในขวด 88.88 ml) ดูด 50%glucose 11.11 ml แล้วเติมลงไปในน้ำเกลือ D-5-W (ปริมาตรรวมเท่ากับ 100 ml ตามที่ต้องการ)

  10. สารละลาย 1. คำสั่งใช้ยาแบบสัดส่วน คืออะไร สัดส่วน คือ ปริมาตรยา ต่อ ปริมาตรสารละลายทั้งหมด เช่น Dopamin 2:1 หมายถึง Dopamin 2 mg ในสารละลาย 1 ml 2. อัตราเร็วในการให้ยา (rate) mcd/min = ml/hr เช่น แพทย์สั่ง Dopamin (2:1) iv drip 20 mcd/min 20 mcd/min = 20 ml/hr หมายถึง การให้ยาทางหลอดเลือดดำ 20 ml ใน 1 hr • 4. คำสั่งใช้ยาแบบสัดส่วน

  11. สารละลาย • 5. การบริหารยาตามคำสั่งสัดส่วน 6 แพทย์สั่ง Dopamin (2:1) iv drip 20 mcd/min วิธีคิด Dopamin 2:1 หมายถึง Dopamin 2 mg ใน D-5-W 1 ml โดย คิดจากน้ำเกลือ D-5-W ขวด 100 ml เทียบบัญญัติไตรยางศ์ จากคำสั่ง2:1 D-5-W 1 ml จะมี Dopamin 2 mg ดังนั้น D-5-W 100 ml จะต้องใช้ Dopamin 2*100/1 mg =200 mg เนื่องจาก Dopaminใน รพ.มี amp ขนาด 250 mg/10 ml จะต้องใช้ Dopamin = 200*10/250= 8 ml วิธีเตรียม เตรียมจากน้ำเกลือ D-5-W ขวด 100 ml โดยดูดออก 8 ml ดูด Dopamin 8 ml ผสมลงไปในน้ำเกลือ D-5-W (ตามข้อ 1)ปริมาตรทั้งหมดจะได้ 100 ml

  12. สารละลาย • 5. การคำนวณปริมาณยา จากอัตราเร็วในการให้ยา 7 การแปลงหน่วย mcg/kg/min เป็น mcd/min ตัวอย่างLevophed (1:25) iv drip 5 mcd/min จะต้องใช้ Levophedกี่ vial และ D5W เท่าไร วิธีคิดmcd/min=ml/hr ขั้นที่ 1 หาปริมาตรรวมที่ต้องใช้ใน 1 วันก่อน โดยคิดจาก 1 วัน มี 24 ชั่วโมง 5 mcd/min= 5 ml/hr ดังนั้น จะใช้สารละลายปริมาตร 5*24 = 120 ml ขั้นที่ 2 หาปริมาณยาที่ต้องใช้ โดยคิดจากที่แพทย์สั่ง Levophed 1:25 หมายถึง Levoped 1 mg ใน D-5-W 25 ml จากความเข้มข้น Levophedใน D-5-W 25 ml ต้องใช้ Levoped 1 mg ถ้าคิดใน 1 วัน ปริมาตรทั้งหมด 120 ml ต้องใช้ Levoped = 120*1/25 ต้องใช้ Levoped = 4.8 mg

  13. สารละลาย • 5. การคำนวณปริมาณยา จากอัตราเร็วในการให้ยา ดังนั้น1 วัน (24 ชั่วโมง) จะต้องใช้ Levophed 4.8 mg ขั้นที่ 3 Levophedที่มีในโรงพยาบาลมีขนาด 1mg/1ml (ขนาด 4mg/4 ml) ต้องการใช้ 4.8 mg จะต้องเบิก 2vial D-5-W เบิกขนาด 100 ml จะต้องเบิก 2 ขวด ห้องยาจ่าย Levophed 2 vial และ D-5-W 100 ml 2 ขวด

  14. ขอบคุณค่ะ

More Related