1 / 35

การเฝ้าระวังโรค ผ่านระบบสารสนเทศทางระบาดวิทยา กรุงเทพมหานคร (BMA Epi-Net)

การเฝ้าระวังโรค ผ่านระบบสารสนเทศทางระบาดวิทยา กรุงเทพมหานคร (BMA Epi-Net). นายแพทย์ ชนินันท์ สนธิไชย กองควบคุมโรคติดต่อ สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร. ระบบสารสนเทศทางระบาดวิทยา (Epi-Net). กองควบคุมโรคติดต่อ สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร. ความเป็นมาของระบบเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา.

Télécharger la présentation

การเฝ้าระวังโรค ผ่านระบบสารสนเทศทางระบาดวิทยา กรุงเทพมหานคร (BMA Epi-Net)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การเฝ้าระวังโรคผ่านระบบสารสนเทศทางระบาดวิทยากรุงเทพมหานคร(BMA Epi-Net) นายแพทย์ ชนินันท์ สนธิไชย กองควบคุมโรคติดต่อ สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร

  2. ระบบสารสนเทศทางระบาดวิทยา (Epi-Net)

  3. กองควบคุมโรคติดต่อ สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร ความเป็นมาของระบบเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา • ระบบเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาของประเทศไทยได้เริ่มดำเนินการรายงานด้วยบัตรรายงานโรคมาตั้งแต่ปี 2513 • ระยะแรกกำหนดให้มีโรคที่ต้องเฝ้าระวังจำนวน 14 โรค ไข้ทรพิษ อหิวาตกโรค ไข้เลือดออก กาฬโรค คอตีบ ไอกรน บาดทะยัก พิษสุนัขบ้า ไข้ไทฟัส ไข้กลับซ้ำ ไข้เหลือง ไข้กาฬหลังแอ่น โปลิโอ ไข้รากสาด • ปี 2516เพิ่มเป็น 26 โรค • ปี 2519เพิ่มเป็น 29โรค • ปี 2530 เพิ่มเป็น 68 โรค • ปี 2551 เพิ่มเป็น 84 โรค

  4. กองควบคุมโรคติดต่อ สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร ระบบเฝ้าระวังในกรุงเทพมหานคร มี 2 ระบบ ได้แก่ - การเฝ้าระวังโรคติดต่อทั่วไป (รง.506, รง.507) - การเฝ้าระวังโรคเอดส์ (รง.506/1, รง.507/1)

  5. กองควบคุมโรคติดต่อ สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร โครงสร้างสำนักอนามัย สำนักอนามัย สำนักงานเลขานุการ กองสร้างเสริมสุขภาพ สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข กองควบคุมโรคติดต่อ สำนักงานป้องกันและบำบัดการติดยาเสพติด กองสุขาภิบาลอาหาร สำนักงานสัตวแพทย์สาธารณสุข กองสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม สำนักงานชันสูตรสาธารณสุข กองทันตสาธารณสุข กองการพยาบาลสาธารณสุข ศูนย์บริการสาธารณสุข 68 แห่ง กองเภสัชกรรม กองควบคุมโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ศูนย์บริการสาธารณสุขสาขา 76 แห่ง

  6. กองควบคุมโรคติดต่อ Communicable Disease Control Division กองควบคุมโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ AIDS, TB and STIs Control Division

  7. กองควบคุมโรคติดต่อ สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร เครือข่ายการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคในกรุงเทพมหานคร ผู้บริหารกรุงเทพมหานคร กระทรวงสาธารณสุข สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1 กรมควบคุมโรค ผู้บริหารสำนักอนามัย สำนักระบาดวิทยา กองควบคุมโรคติดต่อ หน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง โรงพยาบาล 140แห่ง ศูนย์บริการสาธารณสุข 68 แห่ง สำนักงานเขต 50 แห่ง ศูนย์บริการสาธารณสุขสาขา 76 แห่ง

  8. ขั้นตอนการดำเนินงานด้านการเฝ้าระวังและควบคุมโรคขั้นตอนการดำเนินงานด้านการเฝ้าระวังและควบคุมโรค ลดการป่วย/การตาย โรงพยาบาลทุกสังกัด ศูนย์บริการสาธารณสุข บ้านพัก/ชุมชน/สถานที่ทำงาน ของผู้ป่วย นำผู้ป่วยเข้าสู่การรักษาอย่างทันท่วงที สอบสวนทางระบาดวิทยา ควบคุมการระบาด พบผู้ป่วยโรคติดต่อ รง.506/Epi-Net ศูนย์บริการสาธารณสุข ทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว กองควบคุมโรคติดต่อ สำนักงานเขต

  9. กองควบคุมโรคติดต่อ สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร เครื่องมือดำเนินงาน : - บัตรรายงานผู้ป่วย (แบบ รง.506) - บัตรเปลี่ยนแปลงรายงานผู้ป่วย (แบบ รง.507) การรับ-ส่งข้อมูลโดยใช้แบบรายงาน : 1. ส่งบัตรรายงานทางไปรษณีย์ 2. ส่งบัตรรายงานทาง E-Mail 3. ส่งบัตรรายงานทาง Fax 4. เจ้าหน้าที่ของสถานพยาบาลนำบัตรมาส่ง 5. ส่งเจ้าหน้าที่ไปเก็บบัตรจากสถานพยาบาล การรับ-ส่งข้อมูลผ่านระบบสารสนเทศทางระบาดวิทยา : โปรแกรมประยุกต์ระบบงานด้านการเฝ้าระวังโรค (Epi-Net)

  10. บัตรรายงานผู้ป่วย (แบบ รง. 506)

  11. บัตรเปลี่ยนแปลงรายงานผู้ป่วย (แบบ รง. 507)

  12. กองควบคุมโรคติดต่อ สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร การส่งรายงานเฝ้าระวังโรคผ่านแบบรายงาน รง.506 สถานพยาบาล ศูนย์ข้อมูลทางระบาดวิทยา ผู้ป่วย รักษา ระบบฐานข้อมูลระบาดวิทยา พบโรคที่ต้องรายงาน พิมพ์ข้อมูล ส่ง รง.506 เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล เจ้าหน้าที่ระบาด

  13. กองควบคุมโรคติดต่อ สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร การส่งรายงานเฝ้าระวังโรคผ่านแบบรายงาน รง.506 สถานพยาบาล ศูนย์ข้อมูลทางระบาดวิทยา • สิ้นเปลืองค่า Fax, • ค่าโทรศัพท์, • ค่าน้ำมันรถ • ใช้เวลาในการส่ง • รายงานมาก ผู้ป่วย รักษา ระบบฐานข้อมูลระบาดวิทยา พบโรคที่ต้องรายงาน พิมพ์ข้อมูล • - รายงานไม่ครอบคลุม • เพิ่มงานให้เจ้าหน้าที่ • เสียเวลาในการคัดลอกข้อมูล • เกิดความคลาดเคลื่อนของข้อมูล • เพิ่มเอกสารให้โรงพยาบาล • เสียเวลาในการพิมพ์ข้อมูล • เกิดความคลาดเคลื่อนของข้อมูล • เกิดความล่าช้าในระบบรายงานโรค ส่ง รง.506 เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล • - เจ้าหน้าที่น้อย มีภาระงานมาก • เสียเวลาในการคัดลอกข้อมูล ทำทะเบียน • ข้อมูลบางส่วนมีความซ้ำซ้อนกับฐานข้อมูล • โรงพยาบาล เจ้าหน้าที่ระบาด

  14. กองควบคุมโรคติดต่อ สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร การส่งรายงานเฝ้าระวังโรคผ่านระบบ Epi-Net สถานพยาบาล ศูนย์ข้อมูลทางระบาดวิทยา ผู้ป่วย รักษา ระบบฐานข้อมูลระบาดวิทยา พบโรคที่ต้องรายงาน พิมพ์ข้อมูล เจ้าหน้าที่ระบาด

  15. กองควบคุมโรคติดต่อ สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร การส่งรายงานเฝ้าระวังโรคผ่านระบบ Epi-Net สถานพยาบาล ศูนย์ข้อมูลทางระบาดวิทยา ผู้ป่วย รักษา ระบบฐานข้อมูลระบาดวิทยา พบโรคที่ต้องรายงาน • - รายงานไม่ครอบคลุม • เพิ่มงานให้เจ้าหน้าที่ • เสียเวลาในการคัดลอกข้อมูล • เกิดความคลาดเคลื่อนของข้อมูล • เพิ่มเอกสารให้โรงพยาบาล พิมพ์ข้อมูล • - เจ้าหน้าที่น้อย มีภาระงานมาก • เสียเวลาในการพิมพ์ข้อมูล • ข้อมูลบางส่วนมีความซ้ำซ้อนกับฐานข้อมูล • โรงพยาบาล • เกิดความคลาดเคลื่อนของข้อมูล • เกิดความล่าช้าในระบบรายงานโรค เจ้าหน้าที่ระบาด

  16. กองควบคุมโรคติดต่อ สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร การส่งรายงานเฝ้าระวังโรคโดยวิธี Export-Import สถานพยาบาล ศูนย์ข้อมูลทางระบาดวิทยา ผู้ป่วย รักษา ระบบฐานข้อมูลระบาดวิทยา พบโรคที่ต้องรายงาน Excel (Password) E-mail Import Export

  17. กองควบคุมโรคติดต่อ สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร การส่งรายงานเฝ้าระวังโรคโดยวิธี Export-Import สถานพยาบาล ศูนย์ข้อมูลทางระบาดวิทยา ผู้ป่วย รักษา ระบบฐานข้อมูลระบาดวิทยา • ประหยัดค่า Fax, • ค่าโทรศัพท์, • ค่าน้ำมันรถ • ใช้เวลาในการส่ง • รายงานน้อย • เลือกโรคที่ต้องรายงานโดย • ICD-10, เจ้าหน้าที่คัดแยก • ลดภาระงานของเจ้าหน้าที่ • ไม่ต้องคัดลอกข้อมูลที่ซ้ำซ้อน • ข้อมูลมีความถูกต้อง • ลดงานเอกสารของโรงพยาบาล พบโรคที่ต้องรายงาน • ไม่เสียเวลาในการพิมพ์ข้อมูล • ลดความคลาดเคลื่อนของข้อมูล • เพิ่มความรวดเร็วในระบบรายงานโรค Excel (Password) E-mail Import Export • ไม่เสียเวลาในการพิมพ์ข้อมูล • เจ้าหน้าที่มีบทบาทในการอนุมัติการส่งข้อมูล • เพิ่มความรวดเร็วในการส่งรายงาน

  18. ตัวอย่างการ Export ข้อมูลแบบตัวอักษร ส่งเป็น Excel file แบบเข้ารหัส

  19. ตัวอย่างการ Export ข้อมูลแบบตัวอักษร ส่งเป็น Excel file แบบเข้ารหัส

  20. กลุ่มงานระบาดวิทยากองควบคุมโรคติดต่อ สำนักอนามัย เป็นผู้นำเข้าข้อมูลจาก Excel file

  21. กลุ่มงานระบาดวิทยากองควบคุมโรคติดต่อ สำนักอนามัย เป็นผู้นำเข้าข้อมูลจาก Excel file

  22. กองควบคุมโรคติดต่อ สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร การส่งออกข้อมูลในส่วนของสถานพยาบาล • สถานพยาบาลสามารถส่งออกข้อมูลผู้ป่วยโรคติดต่อจากระบบ Epi-Net ได้ • รูปแบบไฟล์ Excel

  23. เวปไซท์ www.bmadcd.go.th

  24. กองควบคุมโรคติดต่อ สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร การเผยแพร่ข้อมูลสถานการณ์โรคและการแจ้งเตือนการระบาด http://www.bmadcd.go.th

  25. ตัวอย่างสถานการณ์โรคที่วิเคราะห์จากฐานข้อมูลทางระบาดวิทยาตัวอย่างสถานการณ์โรคที่วิเคราะห์จากฐานข้อมูลทางระบาดวิทยา

  26. ตัวอย่างสถานการณ์โรคที่วิเคราะห์จากฐานข้อมูลทางระบาดวิทยาตัวอย่างสถานการณ์โรคที่วิเคราะห์จากฐานข้อมูลทางระบาดวิทยา

  27. กองควบคุมโรคติดต่อ สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร แนวทางการพัฒนาระบบสารสนเทศกองควบคุมโรคติดต่อ • กำหนดมาตรฐานตัวแปรสำหรับการรายงานทางระบาดวิทยา • กำหนดแนวทางการรับส่งข้อมูลระหว่างหน่วยงาน (เน้นการลดภาระการทำงานของบุคลากร) • จัดทำระบบวิเคราะห์และประมวลผลข้อมูลแบบอัตโนมัติ • พัฒนาศักยภาพด้านสารสนเทศแก่บุคลากร • จัดให้มีอุปกรณ์และเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพ • มีระบบสำรองข้อมูลที่สม่ำเสมอและเพียงพอ

  28. กองควบคุมโรคติดต่อ สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร สถานที่ติดต่อ: กลุ่มงานระบาดวิทยา กองควบคุมโรคติดต่อ สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร 2 (อาคาร 2) ถนนมิตรไมตรี แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท์/Fax 02-245-8106, 02-354-1836 E-mail: epid_bma@yahoo.com Website: http://www.bmadcd.go.th

  29. ขอบคุณครับ

More Related