1 / 45

แผลกดทับ หมายถึง

แผลกดทับ หมายถึง. ผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนัง ถูกทำลายเฉพาะที่จากแรงกด แรงเสียดทาน และแรงเฉือน ที่มากระทำอย่างต่อเนื่อง จนผิวหนังมีรอยแดง และมีการแตกทำลายของผิวหนัง. แผลกดทับแบ่งออกเป็น 4 ระดับ. เกรด 1 ผิวหนังเป็นรอยแดง เกรด 2 ผิวหนังถูกทำลายถึงชั้น Dermis

dotty
Télécharger la présentation

แผลกดทับ หมายถึง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แผลกดทับ หมายถึง ผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนัง ถูกทำลายเฉพาะที่จากแรงกด แรงเสียดทาน และแรงเฉือน ที่มากระทำอย่างต่อเนื่อง จนผิวหนังมีรอยแดง และมีการแตกทำลายของผิวหนัง

  2. แผลกดทับแบ่งออกเป็น 4 ระดับ เกรด 1 ผิวหนังเป็นรอยแดง เกรด 2 ผิวหนังถูกทำลายถึงชั้น Dermis เกรด 3 ผิวหนังถูกทำลายถึงชั้น Subcutaneouse tissue เกรด 4 ผิวหนังถูกทำลายถึงชั้นกล้ามเนื้อและกระดูก

  3. โครงสร้างของผิวหนังStructure of the skin • ชั้นหนังกำพร้า [Epidermis] • ชั้นหนังแท้ [Dermis] • ชั้นใต้ผิวหนัง [Subcutaneous] • ชั้นกล้ามเนื้อ [Muscle] • ชั้นกระดูก [Bone]

  4. แผลกดทับแบ่งได้ 4 ระดับ แผลกดทับระดับที่ 1[Pressure ulcer stage 1] ผิวหนังยังไม่มีการฉีกขาด จะปรากฏรอยแดงบริเวณผิวหนัง เมื่อทดสอบกดบนรอยแดง รอยแดงไม่จางหายไปใน 30 นาทีเรียกว่า[nonblancing erythema]

  5. แผลกดทับระดับที่ 2 [Pressure ulcer stage 2] ผิวหนังชั้นกำพร้า และหนังแท้ถูกทำลายฉีกขาดเป็นแผลตื้น มีรอยแดงบริเวณเนื้อเยื่อรอบๆ มีอาการปวด บวม ร้อน และมีสิ่งขับหลั่งจากแผลเล็กน้อยถึงปานกลาง

  6. แผลกดทับระดับที่ 3 Pressure ulcer stage 3 มีการทำลายชั้นผิวหนังลึกถึงชั้นไขมัน แต่ยังไม่ถึงชั้นกล้ามเนื้อ แผลเป็นโพรง สิ่งขับหลังปริมาณปานกลางถึงมาก อาจมีกลิ่นเหม็น

  7. แผลกดทับระดับที่ 4 Pressure ulcer stage 4 มีการทำลายชั้นผิวหนังลึกถึงชั้นเอ็น กล้ามเนื้อ กระดูก แผลเป็นโพรง มีสิ่งขับหลั่งปริมาณมาก และมีกลิ่นเหม็น

  8. ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับ 1.ปัจจัยภายในร่างกาย -อายุ -ความบกพร่องในการรับความรู้สึกและการเคลื่อนไหว -ภาวะอ้วนหรือผอม -ภาวะทุพโภชนาการ -การไหลเวียนเลือดลดลง เช่น BP ต่ำ ,ภาวะช็อก

  9. -ความพร่องในการควบคุมขับถ่ายอุจจาระและปัสสาวะ-ความพร่องในการควบคุมขับถ่ายอุจจาระและปัสสาวะ -ภาวะไข้ -ภาวะติดเชื้อภายในร่างกาย -ภาวะโรคทางกายเดิมของผู้ป่วย -ภาวะทางจิตใจของผู้ป่วย -การได้รับยาบางชนิด

  10. 2.ปัจจัยภายนอกร่างกาย 2.1 แรงกด [Pressure] 2.2 แรงเฉือน[Shearing] 2.3 แรงเสียดทาน [Friction] 2.4 ความเปียกชื้น [Moisture]

  11. แรงกด [PRESSURE] เป็นแรงภายนอกที่มากระทำโดยตรงต่อส่วนต่างๆ ของร่างกาย มีผลต่อผิวหนัง และขัดขวางการส่งผ่านออกซิเจน สารอาหารไปเลี้ยงเนื้อเยื่อไม่ได้

  12. Pressure points SUPINE POSITION SITTING POSITION Sacrum 23% LATERAL PRESSURE Ischium 24% Trochanter 15%

  13. แรงเฉือน [ Shearing] • เป็นสองแรงที่กระทำในทิศทางตรงข้ามกัน ในแนวขนาน • ในท่าครึ่งนั่ง ครึ่งนอน น้ำหนักตัวถูกส่งผ่านตามแนวกระดูกสันหลัง ขณะที่ผิวหนังถูกยึดอยู่กับที่ • เกิดแรงสองแรงที่กระทำในทิศทางตรงข้ามกัน การไหลเวียนของเลือดเสียไป

  14. แรงเสียดสี [Friction] • แรงที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของพื้นผิวสองอย่างสัมผัสกัน เช่นการเลื่อนผู้ป่วยด้วยวิธีดึงหรือลาก เกิดการหลุดลอกของผิวหนังชั้นตื้นๆ คล้ายแผลถลอก

  15. การค้นหาปัญหา การประเมินทางการพยาบาล (nursing assessment) ต้องมีการประเมินผู้ป่วยตั้งแต่แรกรับทุกราย(รับใหม่,รับย้าย) และบันทึกให้เสร็จสิ้นภายในเวร

  16. แบบประเมินความเสี่ยงของการเกิดแผลกดทับ(Risk assessment tools) 1.ประเมินความเสี่ยงของการเกิดแผลกดทับโดยใช้แบบประเมิน Braden scaleแบ่งความเสี่ยงออกเป็น *ความเสี่ยงสูง (braden scale <หรือ=12) *ความเสี่ยงปานกลาง (braden scale 13-14) *ความเสี่ยงต่ำ (braden scale 15-16) ***ผู้ป่วยอายุตั้งแต่ 65 ปีถือว่ามีภาวะเสี่ยงได้ถ้า braden scale<หรือ=18

  17. 2.ทำการประเมินใหม่ทุกครั้งที่มีการปลี่ยนแปลง เช่น p/o, coma score drop 3.ประเมินความเสี่ยงทุกครั้งที่มีการพลิกตัวผู้ป่วย 4.ลงบันทึกผลการประเมินอย่างถูกต้องในใบประเมิน 5.ส่งข้อมูลต่อ เมื่อมีการรับส่งเวร ทุกวันและทุกเวร****

  18. กระบวนการป้องกันการเกิดแผลกดทับกระบวนการป้องกันการเกิดแผลกดทับ 1.การประเมินและทำความสะอาดผิวหนัง[Skin assessment and cleansing] *ประเมิน,บันทึกผิวหนังอย่างเป็นระบบ *ทำความสะอาดผิวหนังโดยใช้ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ระคายเคืองต่อผิวหนัง *ใช้วาสลิน,โลชั่น,ครีม ที่ไม่มีส่วนผสมของ Alcohol ทาหลังอาบน้ำ

  19. *ใช้วาสลินหรือ zine paste ทาบริเวณก้นรายที่ควบคุมการขับถ่ายไม่ได้

  20. 2.2โภชนาการ [ Nutrition] ประเมินปัจจัยเสี่ยงต่างๆที่ทำให้มีภาวะขาดสารอาหาร มีภาวะAlb ต่ำกรณีไม่มีข้อจำกัดของโรค เสริมอาหารที่มีโปรตีนมากขึ้น กรณีได้รับสารอาหารน้อย ปรึกษาแพทย์เพื่อให้สารอาหารเพิ่มเติม

  21. 2.3 การจัดท่า [Positioning] จัดทำนาฬิกาพลิกตะแคงตัว ทุก 2 ช.ม โดยใช้เทคนิค ยก,จัด, ดึง,ดู

  22. ยก

  23. จัด

  24. ดึง

  25. ดู

  26. -จัดท่านอนหัวสูงไม่เกิน 30 องศา ยกเว้นในรายที่มีข้อจำกัด เช่นspine- injury

  27. -จัดท่านอนตะแคงทำมุม 30 องศา -ใช้ pat- slide ทุกครั้งในการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย -ใช้ผ้าขวางเตียงในการเปลี่ยนท่านอนและยกตัวผู้ป่วย -ในรายที่แขนมีแรง กระตุ้นให้ผู้ป่วยโหนตัวเพื่อลดแรงกด -จัดเสื้อผ้าให้เรียบตึงหลีกเลี่ยงการนอนทับปุ่มกระดูก เพื่อลดแรงกดเฉพาะที่

  28. -บริหาร ข้อมือ,ข้อเท้า เพื่อกระตุ้นการไหลเวียนของโลหิต -ผู้ป่วยที่มีแขนขาบวม ควรยกให้สูงกว่าระดับของหัวใจ

  29. 2.4การใช้อุปกรณ์ลดแรงกด2.4การใช้อุปกรณ์ลดแรงกด ผู้ป่วยคะแนน Braden scale <หรือ= 12 จัดให้นอนที่นอน ลมสลับท่อ

  30. งดใช้ห่วงยางรูปโดนัท

  31. 2.5 จัดโปรแกรมให้ความรู้อย่างสม่ำเสมอ จัดอบรมให้ความรู้แก่บุคลลากรทุกระดับอย่างน้อยปีละครั้ง ให้ความรู้แก่ญาติเพื่อมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วยตั้งแต่ ร.พ-กลับบ้าน

  32. 3.การดูแลผู้ป่วยเมื่อเกิดแผลกดทับ3.การดูแลผู้ป่วยเมื่อเกิดแผลกดทับ สิ่งที่ต้องทราบและทำเมื่อเกิดแผลกดทับขึ้น -แผลกดทับอยู่บริเวณใด? -ระดับใด? -มีการติดตามประเมินการหายของแผล -บันทึกไว้ในรายงานการเกิดแผลกดทับ -วิธีการดูแลแผล -วิธีป้องกันไม่ให้เป็นมากขึ้น

  33. การดูแลแผลกดทับระดับที่ 1 ผิวหนังยังไม่มีการฉีกขาด จะปรากฏรอยแดงบริเวณผิวหนัง เมื่อทดสอบกดบนรอยแดง รอยแดงไม่จางหายไปใน 30 นาที การดูแล 1.ดำเนินการตามแนวทางการป้องกันการเกิดแผลกดทับ -ประเมินและทำความสะอาดผิวหนัง -โภชนาการ -การจัดท่า -ใช้อุปกรณ์ลดแรงกด? -จัดโปรแกรมการให้ความรู้อย่างสม่ำเสมอ

  34. การดูแลแผลกดทับระดับที่ 2 ผิวหนังชั้นกำพร้า และหนังแท้ถูกทำลายฉีกขาดเป็นแผลตื้น การดูแล 1.ดำเนินการตามแนวทางการป้องกันการเกิดแผลกดทับ 2.ล้างทำความสะอาดแผลด้วย 0.9%nss solutoinirrigateและเลือกใช้อุปกรณ์ปิดแผลที่เหมาะสม *trasparent dressing

  35. *Hydrocolloiddressing *Gel dressing 3. ใช้สารเคลือบผิวหนัง เช่น วาสลิน

  36. การดูแลแผลกดทับระดับที่ 3 มีการทำลายชั้นผิวหนังลึกถึงชั้นไขมัน แต่ยังไม่ถึงชั้นกล้ามเนื้อ แผลเป็นโพรง การดูแล 1.ดำเนินการตามแนวทางการป้องกันการเกิดแผลกดทับ 2.ประเมินการติดเชื้อ ปรึกษาแพทย์เพื่อส่ง Exudate c/s หรือ Tissue c/s

  37. 3.ประเมินแผลทุกครั้งก่อนการทำแผล ถ้ามีเนื้อตายปรึกษาแพทย์เพื่อทำการ Debridement 4.กรณีมีการงอกขยายเนื้อเยื่อ ใช้0.9%nss solutionเท่านั้นหลีกเลี่ยงการใช้น้ำยา dressing เช่น Dakin ,Hydrogen peroxide เพราะจะมีผลต่อ fibroblastใหม่ที่เกิดขึ้น 5.วาง dressingเช่น cutinova cavityหรือ foam dressing ถ้าไม่มีใช้ Gauze ชุบ 0.9%nss solution pack ปิดทับด้วย Gauze แห้งอีกหนึ่งชั้น

  38. การดูแลแผลกดทับระดับที่ 4 มีการทำลายชั้นผิวหนังลึกถึงชั้นเอ็น กล้ามเนื้อ กระดูก แผลเป็นโพรง การดูแล 1.ดำเนินการตามแนวทางการป้องกันการเกิดแผลกดทับ 2.กำจัดเนื้อตายเลือกวิธีที่เหมาะสมกับสภาวะของผู้ป่วย 3.เลือกอุปกรณ์ปิดแผลตามปริมาณของสิ่งขับหลั่ง

  39. *Hydrocolloiddressing *calcium alginate *Gauze ร่วมกับ Silver sulfa diazine *Gauze ร่วมกับ 0.9%nss solution solution 4.ผู้ป่วยไม่มีปัญหา Coagulogramปรึกษาแพทย์เพื่อทำ Vacuum dressing…..if แผลแดงดีแพทย์พิจารณาเย็บปลูกเนื้อเยื่อใหม่

  40. Vacuum Assist Closure

  41. ประเมินความเสี่ยงผู้ป่วยทุกรายที่รับใหม่หรือรับย้าย ใช้แบบประเมิน Braden scale ผู้ป่วยที่มีระดับความเสี่ยง(คะแนน 6-18) ผู้ป่วยที่ไม่มีความเสี่ยง(คะแนน 19-23) แนวทางปฏิบัติในการป้องกันการเกิดแผลกดทับในหอผู้ป่วย ประเมินความเสี่ยงซ้ำเมื่อมีอาการเปลี่ยนแปลง ให้การดูแลตามแนวทางการป้องกันแผลกดทับ 1.Skin assessment and cleansing 2.Nutrition 3.Position 4.Pressure relieving device 5.Education Programs ประเมินผล ผู้ป่วยไม่เกิดแผลกดทับ ผู้ป่วยเกิดแผลกดทับ จำหน่าย ใช้หลักการดูแลผู้ป่วยเมื่อเกิดแผลกดทับ

  42. สูตรคำนวณอัตราการเกิดแผลกดทับสูตรคำนวณอัตราการเกิดแผลกดทับ จำนวนผู้ป่วยที่มีแผลกดทับใหม่ตั้งแต่ระดับ 1 ขึ้นไป ระหว่างอยู่ในโรงพยาบาล x 1000 จำนวนวันนอนของผู้ป่วยทั้งหมดใน 1 เดือน

  43. สูตรการหาอัตราความชุกสูตรการหาอัตราความชุก จำนวนผู้ป่วยที่มีแผลกดทับในวันที่สำรวจ x 100 จำนวนผู้ป่วยทั้งหมดในช่วงเวลาเดียวกัน

  44. Thank you for your attention

More Related