1 / 56

การสัมมนาวิชาการสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง ครั้งที่ 5 ประจำปี 2551 30 กรกฎาคม 2551

โครงการ กองทุนบำเหน็จบำนาญแห่งชาติ ( กบช. ) : ผลกระทบและแนวทางการเตรียมความพร้อม. เสนอโดย นางสาวปาริฉัตร คลิ้งทอง เศรษฐกร 6ว สำนักนโยบายการออมและการลงทุน สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง. การสัมมนาวิชาการสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง ครั้งที่ 5 ประจำปี 2551 30 กรกฎาคม 2551. AGENDA.

edana
Télécharger la présentation

การสัมมนาวิชาการสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง ครั้งที่ 5 ประจำปี 2551 30 กรกฎาคม 2551

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงการกองทุนบำเหน็จบำนาญแห่งชาติ (กบช.): ผลกระทบและแนวทางการเตรียมความพร้อม เสนอโดย นางสาวปาริฉัตร คลิ้งทอง เศรษฐกร 6ว สำนักนโยบายการออมและการลงทุน สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง การสัมมนาวิชาการสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง ครั้งที่ 5 ประจำปี 255130 กรกฎาคม 2551

  2. AGENDA • เหตุผลและความจำเป็น • องค์ประกอบหลักของ กบช. • ผลกระทบจาก กบช. • แนวทางการเตรียมความพร้อม

  3. เหตุผลและความจำเป็น • การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร • ความไม่เพียงพอของรายได้หลังเกษียณ • ความครอบคลุมแรงงานยังไม่ทั่วถึง • ปัญหาภาระทางการคลังของรัฐบาล 5. การส่งเสริมการออมภาคครัวเรือน

  4. 1. การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร (1/2) ประเทศไทยกำลังประสบปัญหาการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร ที่เข้าสูสังคมผู้สูงอายุอย่างรวดเร็ว • สัดส่วนประชากรวัยสูงอายุต่อประชากรรวมเพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่าภายในปี 2568 • เพิ่มจากร้อยละ 9.4 ในปี 2543 เป็นร้อยละ 18.21 ในปี 2568 • อัตราการพึ่งพิงของผู้สูงอายุต่อประชากรวัยทำงาน (Elderly Dependency Ratio) เพิ่มสูงขึ้นถึง 2 เท่า จากร้อยละ 14.30 เป็น 28.09 • ในขณะที่อายุคาดหมายเฉลี่ยเมื่อแรกเกิดเพศชายเพิ่มขึ้นจาก 67 ปี เป็น 75 ปี และเพศหญิงเพิ่มจาก 74 ปี เป็น 80 ปี

  5. 1. การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร (2/2)

  6. 2. ความไม่เพียงพอของรายได้หลังเกษียณ • รายได้ที่เพียงพอต่อการดำรงชีพขั้นพื้นฐานหลังเกษียณอายุของคนไทยควรอยู่ที่ร้อยละ 50-60 ของเงินเดือนเดือนสุดท้าย • แรงงานส่วนใหญ่มีรายได้หลังเกษียณจากกองทุนประกันสังคม (สูตรบำนาญ 20+1.5%) โดยเฉลี่ยร้อยละ 22 ของเงินเดือนเดือนสุดท้ายซึ่งไม่เพียงพอต่อการดำรงชีพขั้นพื้นฐาน รายได้หลังเกษียณที่แรงงานได้รับจากกองทุนประกันสังคมกรณีชราภาพ (หน่วย:บาท) ที่มา: การคำนวณโดยนักวิจัย

  7. 3. ความครอบคลุมแรงงานยังไม่ทั่วถึง (ณ สิ้นปี 50) (ล้านคน) ประชากรรวม (65.72) กำลังแรงงาน ( 36.87) ไม่อยู่ในกำลังแรงงาน (28.85) 15 ปีขึ้นไป (14.15) กำลังแรงงานที่รอฤดูกาล (0.19) กำลังแรงงานปัจจุบัน (36.68) ต่ำกว่า 15 ปี (14.70) -เบี้ยยังชีพรายละ 500 บาท -สถานสงเคราะห์ผู้สูงอายุ -การเกื้อหนุนจากชุมชน กองทุนประกันสังคมกรณีว่างงาน(ผู้ที่เคยเป็นผู้ประกันตน) ทำงานบ้าน (4.59) ผู้มีงานทำ (36.16) ผู้ว่างงาน (0.52) เรียนหนังสือ (4.37) นอกระบบ (21.80) ในระบบ (14.36) ชราอายุเกิน 60 ปี (4.33) มีระบบบำเหน็จบำนาญแล้ว (10.83) อื่น ๆ (0.86) เอกชน (10.91) รัฐบาล(3.17) รัฐวิสาหกิจ (0.28) อยู่ระหว่างการศึกษาโครงการระบบการออมเพื่อสวัสดิการและการชราภาพสำหรับแรงงานนอกระบบ ที่มา: สำนักงานสถิติแห่งชาติ

  8. 4. ปัญหาภาระทางการคลังของรัฐบาล รัฐบาลจะมีภาระหนี้สินจำนวนมากในอนาคต (Contingent Liability) เกิดจาก • ภาระการเลี้ยงดูผู้สูงอายุแรงงานที่ยังไม่ได้รับ ความคุ้มครองใด ๆ • แรงงานที่ได้รับความคุ้มครองแต่รายได้ที่ได้รับหลังเกษียณยังอยู่ในระดับต่ำ • ปี 2550 รัฐบาลต้องจัดสรรงบประมาณรับภาระดูแลผู้สูงอายุ 1.8 ล้านคน (จากจำนวนผู้สูงอายุ 7.04 ล้านคน) ใช้งบประมาณไปจำนวน 10,580 ล้านบาท และจะเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ • กองทุนประกันสังคมจะมีปัญหาเงินกองทุนหมดลงในอนาคต ซึ่งรัฐบาลมีพันธะที่จะต้องรับภาระจ่ายเงินผลประโยชน์แทนเป็น จำนวนมาก ที่มา: ส่วนนโยบายการออมและการลงทุนในภาพรวม จากฐานข้อมูลสำนักงานคณะกรรมการกระจาย อำนาจ กรุงเทพมหานคร

  9. 5. การส่งเสริมการออมภาคครัวเรือน (พันล้านบาท) ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย

  10. องค์ประกอบหลักของ กบช. • นโยบายการออมเพื่อการเกษียณอายุ/ การกำกับดูแล • การบริหารเงินกองทุน/ การจัดเก็บเงินและข้อมูล • ความครอบคลุมแรงงานและการทยอยเข้ากองทุน • อัตราสะสม/สมทบ • การเปลี่ยนถ่ายจากกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ • สิทธิประโยชน์ทางภาษี • การจ่ายผลประโยชน์ทดแทน

  11. นโยบายการออมเพื่อการเกษียณอายุ/ การกำกับดูแล ผู้กำหนดนโยบาย ผู้กำกับดูแล กองทุน

  12. 2. การบริหารเงินกองทุน/ การจัดเก็บเงินและข้อมูล Decentralized Collection and Investment Management, Centralized Registrar with decentralized data base ฐานข้อมูล กองทุน1 บริษัท จัดการ A กองทุน1 • สำนักงาน กบช. • ในฐานะ • นายทะเบียนกลาง • ผู้กำกับดูแล • ตรวจสอบ • ลงโทษ • รับคำร้อง • ประชาสัมพันธ์ • ติดตามให้นายจ้างเข้าระบบ ฐานข้อมูล กองทุน2 บริษัท จัดการ B กองทุน2 ทะเบียน กลาง นายจ้าง ลูกจ้าง ฐานข้อมูล กองทุน3 กองทุน3 บริษัท จัดการ C เงิน ข้อมูล คำแนะนำ บริษัทจัดการทำหน้าที่จัดตั้งกองทุน จัดการลงทุน จัดทำฐานข้อมูลสมาชิก เสนอขายกองทุน ให้คำแนะนำ ให้บริการ และรายงาน

  13. 3. ความครอบคลุมแรงงานและการทยอยเข้ากองทุน นายจ้างและลูกจ้างจ่ายฝ่ายละร้อยละ 3 ของค่าจ้าง ภายใต้วงเงินในช่วง 6,000 – 40,000 บาท • 3.1 แรงงานในระบบ • 1) ภาคเอกชนเข้ากองทุนตามขนาดสถานประกอบการ โดย • (1) สถานประกอบการที่มีลูกจ้าง 100 คนขึ้นไป เริ่มในปีแรก • (2) สถานประกอบการที่มีลูกจ้าง 10 คนขึ้นไป เริ่มในปีที่ 6 • (3) สถานประกอบการที่มีลูกจ้าง 1 คนขึ้นไป เริ่มในปีที่ 11 • 2) ภาครัฐบาล รัฐวิสาหกิจ ให้มีผลบังคับใช้ทันทีในปีแรก • 3) สถานประกอบการที่ไม่เป็นตามเงื่อนไขข้างต้น หากประสงค์จะเข้า กบช. • ก็สามารถดำเนินการได้ทันทีเช่นเดียวกัน • ทั้งนี้ ยกเว้นผู้ที่เป็นสมาชิก กบข. และสมาชิกกองทุนสำรองเลี้ยงชีพที่จ่ายเข้า • กองทุนไม่น้อยกว่าร้อยละ 3 ของค่าจ้าง (ค่าจ้างไม่เกิน 40,000 บาท) • 3.2 แรงงานนอกระบบให้เข้า กบช. โดยสมัครใจ ดำเนินการได้ทันทีในปีแรก 4. อัตราสะสม/สมทบ

  14. 5. การเปลี่ยนถ่ายจากกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ผู้ที่เป็นสมาชิกกองทุนสำรองเลี้ยงชีพอยู่แล้ว และจ่ายไม่น้อยกว่าร้อยละ 3 ของค่าจ้าง (ภายใต้เพดาน 40,000 บาท) สามารถนำมาขึ้นทะเบียนเป็นกองทุนสำรองเลี้ยงชีพภาคบังคับ หรือจัดตั้ง กบช. ใหม่ก็ได้ สำหรับส่วนที่เกินร้อยละ 3 (ภายใต้เพดาน 40,000 บาท) คงเป็น ภาคสมัครใจต่อไป 6. สิทธิประโยชน์ทางภาษี • ได้รับสิทธิประโยชน์ทางภาษีแบบ EEE (ยกเว้นภาษีของเงินสะสม ผลประโยชน์ และเงินที่ได้รับจากกองทุน กรณีเกษียณสูงอายุ ทุพพลภาพ และเสียชีวิต) สำหรับนายจ้างสามารถนำเงินสมทบมาหักเป็นรายจ่ายตามจำนวนที่จ่ายจริง 7. การจ่ายผลประโยชน์ทดแทน • อัตราผลประโยชน์ทดแทนที่รวมกองทุนประกันสังคมกรณีชราภาพและ กบช. แล้วไม่เกินร้อยละ 50 ของเงินเดือนเดือนสุดท้ายให้จ่ายเป็นรายงวด ส่วนที่เกินร้อยละ 50 • ให้สามารถเลือกรับเป็นรายงวดหรือเป็นก้อนได้

  15. ผลกระทบจาก กบช.

  16. ผลกระทบต่อแรงงาน (1/4) 1. รายได้หลังเกษียณเพิ่มขึ้น รักษาระดับการบริโภคระดับเดิมไว้ได้ 2. ออมเงินโดยได้รับยกเว้นภาษีเงินออมและผลประโยชน์ของเงินออม 3. ภาระแรงงานเพิ่มขึ้น อีก 3% 4. การจัดตั้ง กบช. ในระยะแรกจะส่งผลให้แรงงานเข้ามาทำงาน ในระบบมากขึ้น (Formalization) 16

  17. ผลกระทบต่อแรงงาน (2/4) รายได้หลังเกษียณเพิ่มขึ้น บำนาญรายเดือนที่สมาชิกได้รับจากกองทุนประกันสังคมและ กบช. แบ่งตามระดับค่าจ้าง หน่วย: บาท ที่มา: การคำนวณของนักวิจัย

  18. ผลกระทบต่อนายจ้าง เพิ่มต้นทุนการผลิตในระยะสั้น หากนายจ้างต้องจ่ายเงินสมทบ ก็จะทำให้มีภาระต้นทุนเพิ่มขึ้นอาจจะส่งผลต่อความสามารถในการแข่งขันด้านราคา สร้างความจงรักภักดีให้นายจ้าง นำมาซึ่งผลผลิตที่มากกว่าในระยะยาว 18

  19. ผลกระทบต่อเงินออมรวม (1/2) เงินออมในระบบเพื่อการเกษียณอายุ สามารถเปลี่ยนแปลงเงินออมรวมได้ จากหลายเหตุผล ได้แก่ • การจ่ายเงินสะสมในกองทุนภาคบังคับและข้อจำกัดทางการเงิน • เงินออมในกองทุนไม่มีสภาพคล่องให้กับสมาชิก จึงไม่สามารถเป็นเงินออมกรณีฉุกเฉินในอนาคตได้ ดังนั้น คนจึงออมเพื่อเหตุฉุกเฉินไว้ต่างหาก • โดยสรุป เงินออมเพื่อการเกษียณอายุ น่าจะส่งผลกระทบต่อเงินออมภาคครัวเรือน เนื่องจากความจริงที่ว่าเงินออมเพื่อการเกษียณอายุ และเงินออมภาคครัวเรือนทดแทนกันได้น้อย (Poor Substitute)

  20. ผลกระทบต่อเงินออมรวม (2/2) ประมาณการเงินสะสมและสมทบของ กบช. แบ่งตามขนาดสถานประกอบการ (หน่วย: บาท) ที่มา: การคำนวณของนักวิจัย

  21. ผลกระทบต่อตลาดทุน • เพิ่มปริมาณเงิน เพิ่มความต้องการลงทุน เพิ่มจำนวนการลงทุน และ เพิ่มสภาพคล่อง • เพิ่มความต้องการลงทุนในหลักทรัพย์ระยะยาว • พัฒนาระบบการกำกับดูแลและความโปร่งใส • ส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรมทางการเงิน เกิดการแข่งขัน และเกิดประสิทธิภาพ • พัฒนาระบบธรรมาภิบาล

  22. ผลกระทบต่อเศรษฐกิจ สามารถเร่งการเติบโตทางเศรษฐกิจ โดย • ขีดความเป็นไปได้ที่จะเพิ่มการออมของประเทศ (gross national saving) • ให้ภาคการเงินมีความสมบูรณ์และทำให้เกิดการพัฒนาผ่านทางการเพิ่มปริมาณเงิน (supply) และเงินออมระยะยาว • พัฒนาภาครัฐและโครงสร้างทางการเงินของบริษัท • พัฒนาให้มีความมั่นคงและมีประสิทธิภาพของภาคธนาคาร • ส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาตลาดทุน • เพิ่มผลตอบแทนจากการลงทุนและเกิดความมั่นคงของผลตอบแทน • ส่งเสริมนวัตกรรมทางการเงิน • ส่งเสริมให้เกิดระบบธรรมาภิบาลและการดำเนินการที่ดี • สามารถลดความเสี่ยงของประเทศได้ • สนับสนุนการเคลื่อนย้ายแรงงาน และสนับสนุนการนำแรงงานเข้าสู่ระบบ (formalization of the economy)

  23. ผลกระทบต่อรัฐบาล รายจ่ายเพื่อการเกษียณอายุและสวัสดิการทางสังคมของภาครัฐ % of GDP ปี 2547 - 2550 หน่วย: ล้านบาท ที่มา: คำนวณโดยนักวิจัย และส่วนนโยบายการออมและการลงทุนในภาพรวม ลดภาระการคลังในอนาคต

  24. แนวทางการเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับการบังคับใช้ กบช. ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องได้แก่ • แรงงาน • นายจ้าง • รัฐบาล • ผู้ดำเนินการ 4.1 บริษัทจัดการลงทุน 4.2 หน่วยงานจัดเก็บข้อมูล 4.5 Trustee 4.6 Custodian 5. กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ 24

  25. การเตรียมการของแรงงานการเตรียมการของแรงงาน • ทำความเข้าใจระบบการออมเพื่อการเกษียณอายุ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง กบช. • หาความรู้ และทำความเข้าใจเรื่องการลงทุนที่มีนโยบายการลงทุน และกองทุนประเภทต่าง ๆ • พิจารณา และตัดสินใจเลือกประเภทการลงทุน / กองทุนด้วยตนเอง เพื่อให้สอดคล้องเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ เป้าหมายในผลตอบแทน และระดับความเสี่ยงที่รับได้ • พิจารณา ทบทวนและปรับเปลี่ยนนโยบายการลงทุน / กองทุน และ/หรือ โอนย้ายกองทุนได้ตามสภาวการณ์ที่เปลี่ยนไป ทั้งคุณลักษณะของตนเอง อาทิ อายุ ระยะเวลาที่เหลือในการทำงาน และปัจจัยทางเศรษฐกิจ ตลาดเงิน และตลาดทุน ที่มา: สำนักงานสถิติ และการคำนวณของนักวิจัย

  26. การเตรียมการของนายจ้างการเตรียมการของนายจ้าง • ส่งเสริมและสนับสนุนให้ลูกจ้างมีความรู้ความเข้าใจใน กบช. ตลอดจนระบบการออม / กองทุนเพื่อการเกษียณอายุโดยรวม • ร่วมกับลูกจ้างในการคัดเลือกบริษัทจัดการ ในเรื่องจำนวน และประเภทกองทุน (ตามกฎเกณฑ์ที่ กบช.กำหนด) • ดูแลให้มีการส่งข้อมูลสมาชิกให้นายทะเบียนอย่างครบถ้วน ถูกต้อง ทันเวลา • ดูแลให้มีการส่งเงินเข้า/ออกกองทุนตามเกณฑ์

  27. จำนวนสถานประกอบการและลูกจ้างภาคเอกชนแบ่งตามขนาดสถานประกอบการจำนวนสถานประกอบการและลูกจ้างภาคเอกชนแบ่งตามขนาดสถานประกอบการ ที่มา: สำนักงานประกันสังคม

  28. การเตรียมการของภาครัฐการเตรียมการของภาครัฐ • จัดตั้งคณะกรรมการนโยบายการออมเพื่อการเกษียณอายุแห่งชาติ เพื่อประสานนโยบายทั้ง 3Pillar • ก่อตั้งสำนักงาน กบช. เพื่อกำกับดูแลกองทุน และนายจ้าง และแรงงานให้ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติกองทุนบำเหน็จบำนาญแห่งชาติ • แบ่งหน้าที่การกำกับดูแลระหว่างหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องอาทิ สำนักงาน กบช. สำนักงาน กลต. สศค. สำนักงานประกันสังคม กรมสรรพากร และ กรมการประกันภัย ในการกำกับดูแลผู้ประกอบการ การส่งเงินสะสมและสมทบเข้ากองทุน และการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล 4. ประชาสัมพันธ์ จัดทำประชาพิจารณ์ และให้ความรู้อย่างกว้างขวางและต่อเนื่อง

  29. การเตรียมการของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพการเตรียมการของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ • แก้ไข พ.ร.บ. กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 • 1. กำหนดให้เงินกองทุนจากนายจ้างและลูกจ้าง ฝ่ายละ 3% เป็นภาคบังคับ • นับตั้งแต่วันที่ กบช. มีผลใช้บังคับ • 2. เงิน 6% จะได้รับเมื่อครบอายุเกษียณเท่านั้น ซึ่งเป็นหลักเกณฑ์การรับเงิน • ของ กบช. • 3. ยกเลิกอัตราขั้นต่ำในการจ่ายเงินสะสม/สมทบ เข้ากองทุน • 4. สามารถหยุดจ่ายเข้ากองทุนแต่ยังคงความเป็นสมาชิกภาพไว้ได้ • 5. สามารถจัดตั้งกองทุนขาเดียวได้

  30. การเตรียมการของสำนักงาน ก.ล.ต. • กำกับดูแลและตรวจการดำเนินงานของบริษัทจัดการ และผู้ที่เกี่ยวข้อง • บริษัทจัดการ • ตัวแทนขาย / ที่ปรึกษาการลงทุน • ผู้ดูแลผลประโยชน์ • ผู้รับฝากทรัพย์สิน • นายทะเบียนสมาชิกกองทุน • ผู้สอบบัญชีกองทุน

  31. การเตรียมการของบริษัทจัดการการเตรียมการของบริษัทจัดการ • ประชาสัมพันธ์และให้ความรู้เกี่ยวกับ กบช. และบริการของบริษัท • ชักชวนนายจ้าง และให้ความรู้และบริการเกี่ยวกับการแปลงสภาพกองทุน สำรองเลี้ยงชีพตามเกณฑ์ของกฎหมาย กบช. • นำเสนอนโยบายการลงทุนหลากหลายให้นายจ้าง และลูกจ้างได้พิจารณา เลือกบริษัทจัดการและประเภทกองทุน • ให้ความรู้ และนำเสนอข้อมูลการลงทุน และทางเลือกการลงทุน • รายงานผลการดำเนินงานกองทุนต่อสำนักงาน กบช. สำนักงาน กลต. และนายจ้าง • จัดส่งรายงานรายบุคคลให้แก่สมาชิกกองทุน • จัดให้มี Call Center เพื่อให้ข้อมูลและให้บริการแก่นายจ้างและสมาชิกกองทุน

  32. การเตรียมการของ Trustee และ Custodian • ดูแลการดำเนินงานของบริษัทจัดการให้เป็นไปตามนโยบายการลงทุน ข้อบังคับกองทุน กฎหมายที่เกี่ยวข้อง • ให้ความเห็นชอบการลงทุนที่มีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ • ดูแลผลการดำเนินงานของกองทุน • ให้ความเห็นชอบการคำนวณ NAV (Custodian) • เก็บรักษาทรัพย์สินของกองทุน (Custodian)

  33. ขอบคุณ

  34. ผลกระทบต่อเงินออมรวม เงินออมในกองทุนเพื่อการเกษียณอายุของต่างประเทศ

  35. ผลกระทบต่อตลาดทุน

  36. ผลกระทบต่อตลาดทุน

  37. การขาดดุล/เกินดุล และรายรับของกองทุนประกันสังคมกรณีชราภาพต่อ GDP ผลการศึกษาของ Mitchell Wiener (2549)

  38. บทบาท หน้าที่ของคณะกรรมการนโยบายเงินออมเพื่อการเกษียณอายุแห่งชาติ • นโยบายการออมเพื่อการเกษียณอายุ/ การกำกับดูแล • กำหนดนโยบาย การออมเพื่อการเกษียณอายุของประเทศไทยทั้ง 3 ระดับชั้น • รับผิดชอบการกำหนดแผนการขยายการครอบคลุมให้เหมาะสม • เป็นศูนย์กลางในการประสานระบบการออมเพื่อการเกษียณอายุของประเทศ และการกำหนดหน้าที่ของหน่วยงานกำกับดูแล • กำหนดนโยบายและแผนงานการเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจ เรื่องการออมเพื่อการเกษียณอายุ • กำหนดมาตรการจูงใจ ส่งเสริม สนับสนุน การออมรูปแบบใหม่ ๆ

  39. นโยบายการออมเพื่อการเกษียณอายุ/ การกำกับดูแล บทบาท หน้าที่ ของสำนักงานกองทุนบำเหน็จบำนาญแห่งชาติ • ประกาศกฎเกณฑ์ กำกับ ดูแล ตรวจสอบ กองทุน และผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้อง • คัดเลือก และตรวจสอบการดำเนินการของผู้ประกอบการ ร่วมกับหน่วยงานกำกับดูแลที่มีอยู่แล้ว • อนุมัติ ข้อบังคับกองทุน นโยบายการลงทุน ประเภทหลักทรัพย์และ ข้อจำกัดการลงทุน • กำหนดเกณฑ์การจัดทำทะเบียนสมาชิกกองทุน และการรายงาน และเปิดเผยข้อมูลต่าง ๆ • จัดทำฐานข้อมูลทะเบียนสมาชิกกองทุนกลาง เพื่อสอบทานกับนายทะเบียน แต่ละกองทุน • ให้ความรู้ ความเข้าใจ และประชาสัมพันธ์เรื่องกองทุนบำเหน็จบำนาญแห่งชาติ • รับเรื่องการร้องเรียนและลงโทษผู้กระทำผิด

  40. ผลกระทบต่อเงินออมรวม (3/3) ประมาณการเงิน กบช. และสัดส่วนต่อ GDP (พันล้านบาท) ที่มา: การคำนวณของนักวิจัย

  41. รายได้ ค่าใช้จ่าย และการออมเฉลี่ยต่อครัวเรือนในประเทศไทย ที่มา: สำนักงานสถิติ และการคำนวณของนักวิจัย

  42. บริษัทจัดการที่ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจจัดการกองทุนส่วนบุคคลจากสำนักงาน กลต. ปัจจุบันมี 33 แห่ง

  43. บริษัทจัดการที่ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจจัดการกองทุนส่วนบุคคลจากสำนักงาน กลต. ปัจจุบันมี 33 แห่ง

  44. โครงสร้างระบบการออมเพื่อการเกษียณอายุของประเทศไทยโครงสร้างระบบการออมเพื่อการเกษียณอายุของประเทศไทย ปัจจุบันระบบการออมเพื่อการเกษียณอายุของประเทศไทยประกอบด้วยกองทุน 3 ระดับชั้น (Pillar) ตามโครงสร้างระบบการออมเพื่อการเกษียณอายุแบบหลายชั้น (Multi-Pillar) ให้มีรายได้ที่สร้างคุณภาพชีวิตที่ดี ให้มีรายได้เพียงพอหลังเกษียณ ประกันการดำรงชีวิตขั้นพื้นฐาน ไม่ให้ตกสู่ความยากจน

  45. ความสัมพันธ์ระหว่างการออม และการลงทุนและตลาดการเงิน 46

  46. 47

  47. 48

  48. หลักฐานจากต่างประเทศ • - Baillu & Reisen (1997) จากข้อมูล 11 ประเทศใน OECD และประเทศกำลังพัฒนา พบว่า ผลกระทบของเงินออมบำนาญต่อเงินออมรวมของประเทศเป็นในเชิงบวก และเป็นบวกมากขึ้นสำหรับผลกระทบดังกล่าวในประเทศกำลังพัฒนา • Lopez Murphy & Musalem(2004) ข้อมูลใน 43 ประเทศ OECD และประเทศกำลังพัฒนา ระบบบำนาญภาคบังคับจ่ายเงินเข้ากองทุนส่งผลให้เพิ่มเงินออมรวมของประเทศ แต่ระบบบำนาญภาคสมัครใจไม่ส่งผลให้เพิ่มเงินออมรวมของประเทศ • Bebczuk & Musalem(2006) ข้อมูลของ 48 ประเทศ OECD และประเทศกำลังพัฒนาเงินออมบำนาญ 1 dollar เพิ่มเงินออมภาคครัวเรือนระหว่าง O และ 0.25 cent

More Related