1 / 38

การประเมินผลการดำเนินงาน ควบคุมโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล 5 มิถุนายน 2551

การประเมินผลการดำเนินงาน ควบคุมโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล 5 มิถุนายน 2551. คณะกรรมการการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล

nida
Télécharger la présentation

การประเมินผลการดำเนินงาน ควบคุมโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล 5 มิถุนายน 2551

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การประเมินผลการดำเนินงานควบคุมโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล 5 มิถุนายน 2551 คณะกรรมการการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล รพ. โพธาราม

  2. วิสัยทัศน์ เราจะเป็นโรงพยาบาลที่มีระบบการดูแล ผู้รับบริการ ผู้ให้บริการและสิ่งแวดล้อม คุณภาพ เป็นที่พึงพอใจทั้งผู้ให้ และผู้รับบริการ

  3. พันธกิจ 1. ดำเนินการเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาลอย่างต่อเนื่อง 2. วิเคราะห์ข้อมูลจากการเฝ้าระวังโดยวิธีการทางระบาด 3. ใช้ข้อมูลจากการเฝ้าระวังในการติดสินใจดำเนินการพัฒนางาน IC 4. บุคลากรทางสุขภาพปฏิบัติงานได้โดยยึดหลักUniversal Pre caution 5. พัฒน่าและฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกัน และควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาลอย่างสม่ำเสมอ

  4. นโยบาย 1. สร้างเสริมความปลอดภัยของผู้รับบริการ ผู้ให้บริการ และสิ่งแวดล้อมจากการดำเนินการ 2. ดำเนินการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาลของผู้รับบริการทั้งภายในและภายนอกโรงพยาบาลครอบคลุมถึงผู้ป่วย หลังจำหน่ายกลับบ้าน 3. ประสานข้อมูล เชื้อก่อโรคที่สำคัญ และ การใช้ยาต้านจุลชีพที่เหมาะสม แก่ทีมนำทางคลินิก และผู้เกี่ยวข้อง

  5. เป้าหมาย • เป็นโรงพยาบาลคุณภาพ • อัตราการติดเชื้อ ในผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงลดลง • 2. บุคลากรมีความปลอดภัยในการทำงาน • 3. สิ่งแวดล้อมทุกด้าน เป็นไปตามเกณ์ที่กำหนด • 2. ให้บริการ ประสาน ให้ความรู้ ในการจัดระบบการบริการสุขภาพ ทั้งในโรงพยาบาลและชุมชน • 3. นำความรู้ทางวิชาการมาเป็นพื้นฐานการแก้ปัญหาการติดเชื้อ

  6. ผลการดำเนินงาน

  7. กระบวนการหลัก 1.นโยบาย 3.ป้องกันและควบคุม 5.วิชาการ -พัฒนา -สุขศึกษา/ปชส -จัดทำสื่อ จัดระบบข้อมูล ข่าวสาร EBP/Research • -Sterile/Clean • -Antiseptic/Disin. • -Control Std. • น้ำดื่ม/น้ำใช้/น้ำเสีย • การจัดการขยะ • ควบคุมพาหะนำโรค • ควบคุมสุขาภิบาลอาหาร 4.สอบสวน -ค้นหา - หาแนวทาง -รายงาน 2.เฝ้าระวัง -Patients -HCW -ENV 6.ประเมินผล

  8. นโยบาย • การกำหนดนโยบายที่มีความชัดเจน • จัดให้มีรูปแบบการสื่อสารหลายช่องทาง • หัวหน้างาน • ICWN • จดหมายข่าว • บอร์ด ป้ายประกาศ Intranet • ประเมินความเข้าใจ • ทีมนิเทศ • การAudit ทีม ICWN

  9. การเฝ้าระวังการติดเชื้อการเฝ้าระวังการติดเชื้อ • กลุ่มผู้ป่วย • เพิ่มเรื่อง Post discharge • Surgery IIH,Appendectomy (100%) • Gyn-OBS Episiotomy,C/S (30% V-card) • Ortho ORIF (78%) • Emergency แผลเย็บ (82.3% ) • ดัวชี้วัดอื่นๆ

  10. ดัชนีชี้วัดและเป้าหมายดัชนีชี้วัดและเป้าหมาย • ตัวชี้วัด เป้าหมาย 2548 2549 2550 2551 • อัตราการติดเชื้อ • 1 Incident dencity < 3*1000day 2.30 2.83 3.58 2.6 • 2 อัตราความชุก < 7 % 5 6.2 5.6 • 3 ประสิทธิภาพการเฝ้าระวัง > 90 % 76/71 86/74 81/100 • อัตราการติดเชื้อเฉพาะตำแหน่ง • CAUTI(*1000 DV) ลดลง 20% 6.03 4.3 7.85 8.9 • VAP(*1000 DV) ลดลง 10% 9.94 11.52 10 10.02

  11. ดัชนีชี้วัดและเป้าหมายดัชนีชี้วัดและเป้าหมาย • ตัวชี้วัด เป้าหมาย 2548 2549 2550 2551 • อัตราการติดเชื้อ < 3*1000 D 2.30 2.83 3.58 2.6 • อัตราการติดเชื้อแผลผ่าตัด < 5% 0.18 0.45 0.38 รอ • Endoph. 0 1.75(1) 5.75(3) 1.19(7) 0 • Appendectomy 0 0 0.5 0 0 • C/S 0 0 0 0 0 • ตำแหน่งการติดเชื้อ • LRI ลดลง 10% 38(18.54%) 57(23.46%) 90(29.41%) 56(36.1) • UTI ลดลง 10% 29(14.15%) 30(12.35%) 40(13.07%) 14(9.03) • SST ลดลง 10%(10.73%) 24(9.88%) 10(3.27%) 0

  12. กิจกรรมการลดการติดเชื้อเฉพาะตำแหน่งจากการใส่อุปกรณ์กิจกรรมการลดการติดเชื้อเฉพาะตำแหน่งจากการใส่อุปกรณ์ 1. Catheter associated UTI 2.Ventilater associated Pneumonia

  13. ปัญหาที่พบและความเสี่ยงปัญหาที่พบและความเสี่ยง • 1.อัตราการติดเชื้อที่เกิดในโรงพยาบาลที่พบบ่อย • High risk • High Volume • 2. การติดเชื้อดื้อยา • 3. การเกิดอุบัติเหตุเข็มทิ่มตำ • 4. Isolation Precaution/Universal Precaution • 5.การปฏิบัติตามคู่มือการป้องกัน และควบคุมฯ

  14. intervention intervention

  15. กิจกรรม • 1.การสร้างมาตรฐานการดูแลผู้ป่วยที่ใส่สายสวนปัสสาวะทุกราย • 2.การประชุมชี้แจงทีมตัวแทนจากหอผู้ป่วย • 3.นำ Evident base /ลดวันใส่สายสวน • 4. กำหนดกิจกรรมการนิเทศ ติดตาม ประเมิน • 5.ให้ความรู้ และทบทวนปัญหา • 6.การนิเทศ และให้ข้อมูลย้อนกลับ • 7.สรุปผลและนำเสนอข้อมูล กับทีมทำงานและทีมบริหาร • 8.การส่งต่อผู้ดูแลต่อที่บ้าน

  16. intervention

  17. กิจกรรม • 1.ทบทวนกลุ่มผู้ป่วยที่พบการติดเชื้อ • 2.จัดทำโครงการเฝ้าระวังเฉพาะตำแหน่งในกลุ่มที่มีความเสี่ยง • 3.ประชุมสร้างความตระหนักแก่ทีมทำงาน(ICU, NICU) • 4.ร่วมวิเคราะห์หาปัจจัย และจัดทำกิจกรรมเพื่อลดการติดเชื้อ • (การกำหนดมาตรฐานการดูแล และ การดูแลสุขวิทยาในช่องปากโดยใช้วิธีแปรงฟัน) • 5.นำเสนอผลการดำเนินงาน เพื่อขยายผลในหน่วยอื่น • 6.ลดวันใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจ

  18. Clinical Tracer • วัตถุประสงค์ ไม่เกิด Endophthalmitis • การวิเคราะห์สาเหตุ ความรู้ความเข้าใจในการดูแลตัวเอง(การให้ข้อมูล) • กระบวนการพัฒนา • 1.การดูแลก่อนผ่าตัด (OPD / IPD) • 2.การดูแลระหว่างผ่าตัด (OR/ แพทย์) • 3.การดูแลหลังผ่าตัด • 3.การดูแลต่อเนื่องที่บ้าน

  19. การเฝ้าระวังการติดเชื้อการเฝ้าระวังการติดเชื้อ • กลุ่มเจ้าหน้าที่ • ภาวะสุขภาพ ร้อยละ 89 ของเจ้าหน้าที่ ที่ตรวจสุขภาพ พบกลุ่มโรคเรื้อรัง ร้อยละ20 กิจกรรม โดยรวม กลุ่มเสี่ยง • การเจ็บป่วยจากการทำงาน 18 รายที่เกิดอุบัติเหตุจากงาน 6 รายพบว่าเกิดจากการสวมปลอกเข็มกลับ

  20. ดัชนีชี้วัดและเป้าหมายด้านบุคลากรดัชนีชี้วัดและเป้าหมายด้านบุคลากร • ตัวชี้วัด เป้าหมาย 2548 2549 2550 2551 • การติดเชื้อจากการปฏิบัติงาน • เข็มทิ่มตำ 0 13 8 18 10 • การติดเชื้อวัณโรค 0 0 0 1 0 • การติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ 0 0 0 0 0 • การปฏิบัติตาม UP/IP • การดูแลตามแนวทาง >80% 45% 56% 75% รอ • การล้างมือ >60% 35/63 30/70 25/85 รอ

  21. การเฝ้าระวังการติดเชื้อการเฝ้าระวังการติดเชื้อ • สิ่งแวดล้อม (ผลการดำเนินงาน) • งานจ่ายกลาง(คณะกรรมการพัฒนาหน่วยจ่ายกลาง/ปรับพื้นที่/CSSD) • งานซักฟอก ((Zone / การซ่อมผ้า/การประเมินผ้า) • งานโภชนาการ (Zone /การล้างมือ/ อาหารปั่น/อาหารเฉพาะโรค) • งานกายภาพบำบัด (การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ) • หน่วยงานสนับสนุนต่างๆ (เปล คนขับรถ ยาม สนาม โรงพักศพ แพทย์แผนไทย) • ความรู้ และการปฏิบัติ การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ การใช้อุปกรณ์ป้องกัน น้ำยาทำลายเชื้อ • งานทันตกรรม(การจัดการของปราศจากเชื้อ น้ำยาต่างๆ) • งานห้องผ่าตัด (ทบทวนZone การจัดการ Scope)

  22. การเฝ้าระวังการติดเชื้อการเฝ้าระวังการติดเชื้อ • สิ่งแวดล้อม (ผลการดำเนินงาน) • งานเภสัชกรรม (Zone การผลิต และการจัดเก๊บน้ำยา) • การจัดการขยะ (ปรับประเภทขยะ ผลการสุ่มขยะติดเชื้อ ปี51(ร้อยละ3.54) เดิม6.4 • Sub-contract (บ.ไทยเอ็นไว และบ.วอนเพียร) • ผลการตรวจ และเฝ้าระวังค่ามาตรฐานต่างๆในสิ่งแวดล้อม

  23. ดัชนีชี้วัดและเป้าหมาย ด้านสิ่งแวดล้อม • ตัวชี้วัด เป้าหมาย 2548 2549 2550 ประสิทธิภาพของ การทำปราศจากเชื้อ 100% 100 100 100 (สถานีอนามัย) อาหารปั่น ตามเกณฑ์ * * * น้ำดื่ม/ใช้/เสีย ตามเกณฑ์ * * * การจัดการขยะ < 5% 58.3% 6.5% อื่นฯ

  24. การสอบสวนโรค • การเกิดการcontaminateของ S.epidermidis • การเกิดการระบาดของเจ้าหน้าที่จากการสัมผัส • (หิดปี 50 และ เริม ปี 51) • การเกิดการติดเชื้อ A.baumaniiMDR ใน ICU • ผลการตรวจผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยง • ผลการสุ่มสิ่งแวดล้อม • ผลการสุ่มน้ำยาที่ใช้ • กำหนดแนวการป้องกัน และการรายงาน รวมทั้งการดักจับผู้ป่วย

  25. การพัฒนาความรู้เจ้าหน้าที่การพัฒนาความรู้เจ้าหน้าที่ • ICN • ICWN • ระดับปฏิบัติงาน • พยาบาล • ผู้ช่วยเหลือ • เปล • อื่นๆ • Sub-contract

  26. ผลการประเมินความรู้ • ICWN ระดับความรู้อยู่ที่ร้อยละ 75-91 ระดับสมรรถนะอยู่ที่ ร้อย80-96 พบว่าปัญหาคือเรื่องการติดตามผล การนิเทศ และสิ่งแวดล้อมในหน่วยงาน กิจกรรม ดูงาน Auditภายใน และการประเมินจากอาจารย์ภายนอก ผลการดำเนินงาน (รอ)

  27. ผลการประเมิน • เจ้าหน้าที่ระดับปฏิบัติการ • กิจกรรม • พยาบาล การดูแลผู้ป่วยคาสายสวนปัสสาวะ การเจาะเลือด การทำแผล • ผู้ช่วยเหลือ การดูแลอุปกรณ์ปราศจากเชื้อ การทำความสะอาดผู้ป่วย • คนงาน การทำความสะอาดพื้น การใช้น้ำยา และอุปกรณ์ป้องกัน • เปล การทำความสะอาด • อื่นๆ • การล้างมือในทุกหน่วยงาน และผู้ป่วย (ร้อยละ80)

  28. การส่งเสริมการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อการส่งเสริมการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ • การใช้ความรู้ • การรณรงค์ล้างมือ/การจัดหาอุปกรณ์(ที่ล้างมือ ผ้าเช็ดมือ อ่าง แอลกอฮอร์) • การจัดอุปกรณ์ป้องกันในทุกหน่วย • การประเมินการใช้งาน • การใช้ข้อมูลย้อนกลับ

  29. ดัชนีชี้วัดและเป้าหมายการติดเชื้อดื้อยาดัชนีชี้วัดและเป้าหมายการติดเชื้อดื้อยา • ตัวชี้วัด เป้าหมาย 2548 2549 2550 • การติดเชื้อดื้อยา ลดลง 15% • ESBL (k.pnuemonia) 7.42% 4.12% 6.67% • MDR (P.auruginosa) 1.83% 1.22% 1.74% • MRSA 1.22% 3.22% 1.21% ข้อมูลปี 2550 NI 29% CI 67% contaminate 5%

  30. กลุ่มแบคทีเรียก่อโรคที่พบกลุ่มแบคทีเรียก่อโรคที่พบ

  31. การจัดการเรื่องเชื้อดื้อยาการจัดการเรื่องเชื้อดื้อยา • ประสานด้านข้อมูลทุกทีม (แพทย์ เภสัช ชันสูตร พยาบาล) • การเฝ้าระวัง Lab Surveilance • กำหนดแนวทางในการดูแล และติดตามประเมิน • การให้ความรู้แก่บุคลากรในรูปของการอบรม การประชุมชี้แจงและการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ • สนับสนุนอุปกรณ์เครื่องมือ / สร้างห้องแยกโรค • สร้างระบบ การคัดกรอง และส่งต่อข้อมูล (กำลังดำเนินการ) • ประเมินผล และปรับปรุง

  32. น้ำยาทำลายเชื้อ • แนวโน้มการใช้น้ำยาทำลายเชื้อ • ระดับน้ำยา low-High Level • ชนิด Hydergen peroxide • แนวโน้มการใช้ Disinfectant • ระดับ High Level • ชนิด Cidex Vergon Formalin

  33. Diarrhea • จากสถิติผู้ป่วยในสูงสุด 3 ปี พบว่าผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาด้วยสาเหตุหลักคือโรค Diarrhea • อายุเฉลี่ยสูงสุดอยู่ในวัย15-44 ปี และเด็กก่อนวัยเรียน กิจกรรม • กลุ่มวัยเรียน/ก่อนวัยเรียน • กลุ่มวัยแรงงาน แผนต่อเนื่อง การทบทวนการวินิจฉัยโรค การให้ความรู้เฉพาะกลุ่ม

  34. Sepsis เป็นสาเหตุการตายที่สำคัญ • กลุ่มงานอายุรกรรม Pnuemonia • กลุ่มงานกุมาร Cong. sepsis • อื่นๆ แผล • ผู้ป่วยจากชุมชน การติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะ

  35. ปัญหาที่พบและความเสี่ยงปัญหาที่พบและความเสี่ยง • 1.อัตราการติดเชื้อที่เกิดในโรงพยาบาลที่พบบ่อย • High risk • High Volume • 2. การติดเชื้อดื้อยา • 3. การเกิดอุบัติเหตุเข็มทิ่มตำ • 4. Isolation Precaution/Universal Precaution • 5.การปฏิบัติตามคู่มือการป้องกัน และควบคุมฯ

  36. จุดอ่อน • การนำนโยบายสู่การปฏิบัติ • อัตราการติดเชื้อที่เพิ่มสูงขึ้น • การขาดการนำองค์ความรู้ทางวิชาการมาใช้ในงาน • การประสานและการเชื่อมโยงข้อมูล • การนำความรู้สู่ประชาชน • ฯลฯ

  37. แผนที่จะพัฒนาในปี 2551 • การลดและป้องกับการติดเชื้อที่สำคัญ • การป้องกันการเกิด Endopthalmitis • การป้องกันการติดเชื้อปอดอักเสบที่สัมพันธ์กับการใช้เครื่องช่วยหายใจ • การป้องกันการเกิดการติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะ • การเฝ้าระวัง และการดูแลผู้ป่วย Sepsis • การล้างมือในบุคลากรในโรงพยาบาล และประชาชน • ระบบการทำปราศจากเชื้อในชุมชน

  38. Thank you for Your Attention

More Related