1 / 23

แนวทางการบริหารจัดการ งบกองทุนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค งบประมาณ 2552 “ ร่วมกันคิด ช่วยกันทำ”

แนวทางการบริหารจัดการ งบกองทุนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค งบประมาณ 2552 “ ร่วมกันคิด ช่วยกันทำ”. นพ. จักรกริช โง้วศิริ ผจก. กองทุนสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ. หลักเกณฑ์และเงื่อนไข งบฯ P&P. เป็นบริการรายบุคคลและครอบครัวสำหรับคนไทยทุกสิทธิ ขอบเขตการใช้งบฯ

Télécharger la présentation

แนวทางการบริหารจัดการ งบกองทุนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค งบประมาณ 2552 “ ร่วมกันคิด ช่วยกันทำ”

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวทางการบริหารจัดการงบกองทุนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคงบประมาณ 2552“ ร่วมกันคิด ช่วยกันทำ” นพ. จักรกริช โง้วศิริ ผจก. กองทุนสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

  2. หลักเกณฑ์และเงื่อนไข งบฯ P&P • เป็นบริการรายบุคคลและครอบครัวสำหรับคนไทยทุกสิทธิ • ขอบเขตการใช้งบฯ - ค่าชดเชยบริการแก่หน่วยบริการ/สถานพยาบาล/หน่วยงานที่จัดบริการ P&P - ดำเนินการแก้ไขปัญหาสาธารณสุข (P&P) ระดับประเทศและพื้นที่ - สนับสนุนการพัฒนาศักยภาพการดำเนินงาน P&P - สนับสนุนนวัตกรรมพัฒนาระบบบริการ P&P - สร้างแรงจูงใจโดยจัดสรรตามผลงานการบริการ P&P • สปสช. สาขาจังหวัดและเขตฯ กทม.เป็นหน่วยงานรับผิดชอบหลักในการบูรณาการให้เกิดการบริการ ภายใต้การจัดการและกำกับติดตามประเมินผลด้านงบประมาณโดยคกก. P&P เขตและคณะอนุฯหลักประกันสุขภาพระดับเขตพื้นที่ (อปสข.)

  3. โครงสร้างงบ PP ปี 2552 สสจ. และ สาขา กทม.เป็น P&P manager และประเมินผลงานตามcomposite indicator คำนวณจาก 262.06 บาทต่อปชก.สิทธิ UC จำนวน 46.477 ล้านคน PP Capitation (193.72 บาทต่อหัว) 63.614 ล้านคน PP National Priority Program (15.36) ระดับประเทศ PP Community (37.50) Expressed demand (109.86) หักเงินเดือน PP Area based (31.00) ไม่หักเงินเดือน กองทุนตำบล (พื้นที่ที่ไม่มีกองทุนตำบล) จังหวัดแจ้งผลจัดสรรให้ สปสช.เพื่อโอนให้ Cup & PCU กรม Diff. by age group สปสช. สาขาจว. 70% สปสช. สาขาเขต 30 % UC NON-UC CUP ตามผลงาน Expressed demand 7 กิจกรรมหลัก ได้แก่ ANC, PNC, FP, EPI ทุกช่วงอายุ, อนามัยเด็กเล็ก Sealant เด็กอายุ 6 – 12 ปี, การตรวจคัดกรองความเสี่ยง

  4. P&P Vertical Program หรือ P&P National Priority Program and Central Procurement P&P Vertical (977.44 ล้านบาท) (15.36 บาท x 63.614 คน) • National Priority Program • 153.50 ล้านบาท • National Health Need : • (cost & preventive benefit) • Policy or National strategy • Short term Programto be Routine service • Central Procurement • (823.94 ลบ.) • Vaccine 800 ลบ. • พิมพ์สมุดบันทึกสุขภาพ • - แม่และเด็ก 10 ลบ. • - นักเรียน 10.94 ลบ. • PKU milk 3.0 ลบ.

  5. P&P Expressed demand services หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการจัดสรรและจ่ายเงิน สิทธิ UC 1. จัดสรรโดย Differential Capitation ระดับจังหวัด ตามโครงสร้างอายุ ปชก. 2. จัดสรร 4 งวด (ต.ค. 51, ม.ค. เม.ย. ก.ค. 52) งวดละ 25% ยกเว้นหน่วยบริการนอกสังกัด สธ. และเอกชนจ่ายพร้อม การจัดสรร OP

  6. P&P Expressed demand services สิทธิประโยชน์ของ ปชก. ทุกสิทธิ จ่ายเป็นค่าชดเชยบริการรายบุคคล

  7. P&P Expressed demand services สิทธิ NON-UC (SSS. , CSMBS.) อัตราค่าบริการ

  8. การคัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 1. การคัดกรองความเสี่ยง 1.1 เป้าหมาย 20% ปชก. อายุ 15 ปีขึ้นไปทุกสิทธิ 1.2 การจัดสรรงบประมาณ UC รวมอยู่ใน Capitation Non – UC จัดสรรดังนี้ -โอนงบล่วงหน้า 30% ของงบประมาณที่คำนวณจากเป้าหมาย - งวดถัดไปจ่ายตามผลงานโดยหักจากยอดโอนล่วงหน้า 30% 2. การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ดำเนินการดังนี้ 2.1 กำหนดเป้าหมาย 10% ของกลุ่มเสี่ยงที่คัดกรองและจัดลำดับ ความสำคัญโดยคำนึงถึงขนาด ความรุนแรง ภาระโรค ศักยภาพ 2.2 หน่วยบริการ/สถานพยาบาล จัดทำแผนงาน/โครงการฯ โดยผ่านความเห็นชอบของ สสจ. และผ่านการอนุมัติโดย สปสช. เขต 2.3 เน้นการติดตามประเมินผลอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะกลุ่ม Metabolic (DM. HT. Obesity) หมายเหตุ งบจัดสรรให้หน่วยบริการโดยโอนผ่าน สปสช. สาขาจังหวัด (สสจ.)

  9. ขอบเขต/กิจกรรมที่อยู่ภายใต้งบ PP COM. สำหรับการให้การบริการ PP เชิงรุกในชุมชนแก่บุคคล และครอบครัวของหน่วยบริการ หรือหน่วยงานอื่นๆ ที่มีกลุ่มเป้าหมายแยกจากการให้บริการภายในหน่วยบริการ หรือดำเนินการกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ที่มีผลกระทบต่อสุขภาพส่วนบุคคลและครอบครัว เช่น - การเยี่ยมบ้าน และผู้ป่วยโรคเรื้อรังอย่างต่อเนื่อง - อนามัยโรงเรียน - อนามัยชุมชน

  10. หลักเกณฑ์การจัดสรรงบ P&P Com. • จัดสรร Global ระดับจังหวัด โดยใช้ฐานข้อมูล ปชก. (ไม่หักเงินเดือน) ณ วันที่ 31 สิงหาคม 2551 ดังนี้ 1. ข้อมูลการลงทะเบียนผู้มีสิทธิหลักประกันสุขภาพฯ 2. ข้อมูลการลงทะเบียนผู้มีสิทธิประกันสังคม 3. ข้อมูลทะเบียนราษฎร์ผู้มีสิทธิสวัสดิการข้าราชการ • สสจ. อปท. และ สปสช. เขต ร่วมหารือปรับฐานประชากรเพื่อจัดสรรงบฯ ทั้งนี้ให้คำนึงถึง ปชก. ที่อยู่จริง • แนวทางจัดสรรแบ่งเป็น 2 กรณี 1. กองทุนตำบล จัดสรรเมื่อมีการลงนามในข้อตกลง (ก.ย.-ต.ค.51) จัดสรรงวดเดียว 37.50 บาท/ปชก. ตามที่แจ้งจาก สสจ. 2. จัดสรรให้หน่วยบริการ/สถานพยาบาล ตามยอดงบประมาณที่แจ้ง โดยแบ่งจัดสรร เป็น 2 งวด ดังนี้ 2.1 งวดแรก โอนล่วงหน้า 50% ภายใน ต.ค. 2551 2.2 งวดที่ 2 โอน 50% ภายใน ม.ค. 2552

  11. P&P Area - based วัตถุประสงค์ 1. แก้ไขปัญหาสุขภาพของประชาชนให้สอดคล้องกับปัญหาและความต้องการบริการสาธารณสุขในพื้นที่ 2. สนับสนุนการดำเนินงานตามนโยบายสำคัญ โดยเฉพาะ - การตรวจค้นหามะเร็งปากมดลูก - การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงและติดตามต่อเนื่องในกลุ่ม Pre DM. , Pre HT. , ภาวะอ้วน 3. พัฒนาศักยภาพและสร้างความเข้มแข็งของหน่วยงาน 4. พัฒนานวัตกรรมระบบบริการ P&P 5. กำกับติดตาม ประเมินผลการดำเนินงาน P&P ในพื้นที่

  12. โครงสร้างการจัดสรรงบ PP Area based ( 31.00 บาท/ปชก.) 30 % ระดับเขต 9.30 บาท/ปชก. 70 % ระดับจังหวัด 21.70 บาท/ปชก. สนับสนุนพัฒนาระบบบริการ~ 2 บาท/ปชก. สนับสนุนการดำเนินงานในพื้นที่ 7.30 บาท/ปชก. • เพื่อจัดบริการและแก้ไขปัญหาตามแผนงาน/โครงการ ของคณะกรรมการระดับจังหวัด โดยปี 52 ให้เน้นหนัก - แก้ไขปัญหาทางสุขภาพ ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของพื้นที่ระดับจังหวัด อำเภอ - ตรวจหามะเร็งปากมดลูก -ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ภาวะอ้วน - สนับสนุนและแก้ไขปัญหาให้บรรลุเป้าหมายตาม ตัวชี้วัดที่กำหนด -พัฒนาระบบ -พัฒนาศักยภาพฯ -นวตกรรม /แก้ไขปัญหาระดับเขต -สร้างแรงจูงใจ

  13. แนวทางการจัดสรรงบ P&P Area - based ร้อยละ 70งบ P&P Area – based ระดับจังหวัด จัดสรรให้ สปสช. สาขาจังหวัด และ สปสช. สาขาเขตพื้นที่ กทม. เพื่อจัดสรรให้แก่หน่วยบริการ งวดที่ 1จัดสรร 30% งวดล่วงหน้า (ต.ค. 51) งวดที่ 2จัดสรร 60% (ม.ค.52) สปสช. เขตได้รับการแจ้งแผนจาก สปสช. จังหวัดภายในเดือน ธ.ค. 51 งวดที่ 3จัดสรร 10 % (มิ.ย.52) เมื่อ สปสช.เขตได้รับรายงานผลการดำเนินงานรอบ 6 เดือน (ต.ค. 51- มี.ค. 52) จาก สปสช.จังหวัด ภายใน พ.ค. 52 ให้มีการรายงานผลรอบ 9 และ 12 เดือน ภายใน ส.ค. และ ต.ค. 52 ตามลำดับ

  14. ห้ามใช้งบประมาณ - ดำเนินกิจกรรมที่เป็นการศึกษาดูงานทั้งในและต่างประเทศ - การจัดซื้อครุภัณฑ์ ที่ดิน สิ่งก่อสร้าง (ยกเว้นงบ P&P Area – based ให้เสนอ อปสข. พิจารณาให้ความเห็นชอบในกรณีครุภัณฑ์ที่จำเป็น ทั้งนี้ต้องไม่เกิน 10% ของงบฯที่ได้รับ) - การจัดการใดๆที่ไม่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค

  15. Influenza Vaccine • วัตถุประสงค์ - ลด Mortality & Morbidityจากโรคไข้หวัดใหญ่ - ลด Costการรักษาพยาบาลจากโรคแทรกซ้อน - ลดการแพร่กระจายเชื้อระหว่างบุคลากรทางการแพทย์ กับ ผู้ป่วย - ลดโอกาสการกลายพันธุ์ของเชื้อไข้หวัดนก • เป้าหมาย 52 - ทุกกลุ่มอายุ ที่มีโรคเรื้อรังที่สำคัญ 7โรค ได้แก่ Asthma, COPD,HD, CKD, DM, CVD, CA on chemotherapyจำนวน 1.8ล้าน

  16. กิจกรรมและระยะเวลาดำเนินการกิจกรรมและระยะเวลาดำเนินการ

  17. การกำกับติดตามและประเมินผลการกำกับติดตามและประเมินผล ระบบข้อมูลและรายงานสำหรับการติดตามการดำเนินงาน - 18 แฟ้ม , 12 + 8 แฟ้ม - e - claim - Sealant Program - โปรแกรมคัดกรองมะเร็งปากมดลูก - โปรแกรมคัดกรองความเสี่ยง (PPIS) - โปรแกรมวัคซีนไข้หวัดใหญ่ - 0110 รง. 5 - รายงานสถานการณ์การเงิน PP – Area based ระดับจังหวัด และงบ Non – UC (คัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม) - Composite Indicators และ E - inspection

  18. Composite Indicators วัตถุประสงค์ 1. เป็นเครื่องมือในการกำกับติดตามประเมินผลและพัฒนาการดำเนินงาน P&P ในระดับพื้นที่ 2. เป็น Tracer index แสดงภาพรวมกิจกรรมการบริการ P&P ภายใต้ชุดสิทธิประโยชน์หลักประกันสุขภาพฯ 3. มีระบบ Feedback เพื่อการวางแผนและพัฒนาคุณภาพบริการอย่างต่อเนื่อง 4. ไม่เป็นภาระที่เพิ่มขึ้นจากระบบสารสนเทศหรือรายงานปกติเดิมที่มี

  19. Composite Indicators 1. อัตราความครอบคลุมประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองความเสี่ยง 2. ร้อยละของผู้ที่มีความเสี่ยงต่อโรค DM. ที่ผ่านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและมีระดับน้ำตาลในเลือดอยู่ในเกณฑ์ปกติ 3. ร้อยละของผู้ที่มีความเสี่ยงต่อโรค HT. ที่ผ่านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและมีระดับ BP. อยู่ในเกณฑ์ปกติ 4. อัตราความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนในเด็ก 4.1 อายุ 1 ปี (Measles/MMR) 4.2 อายุ 3 ปี (JE3) 4.4 อายุ 5 ปี (DPT5) 5. อัตราความครอบคลุมสตรีอายุ 35,40,45,50,55,60 ปีได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก

  20. Composite Indicators 6. ร้อยละสตรีที่มีผลการตรวจมะเร็งปากมดลูกผิดปกติ ได้รับการตรวจรักษาตามแนวทางการส่งต่อ 7. ร้อยละความครอบคลุมการให้วัคซีนไข้หวัดใหญ่ตามกลุ่มเป้าหมาย 8. ร้อยละ นร. ป. 1 ที่มีปัญหาร่องฟันลึกได้รับการเคลือบหลุมร่องฟัน 9. ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับการดูแลก่อนคลอดตามเกณฑ์ 9.1 ฝากครรภ์ครั้งแรกอายุครรภ์ < 12 สัปดาห์ 9.2 ได้รับกรตรวจเชื้อ HIV 9.3 ได้รับการตรวจ Thalassemia 10. อัตราทารกแรกเกิดน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์

  21. Composite Indicators 11. ตัวชี้วัดที่เป็นปัญหาด้านส่งเสริมป้องกันในเขตพื้นที่ สปสช. 12. ตัวชี้วัดการดำเนินงานของคณะกรรมการระดับจังหวัด 12.1 ร้อยละของจังหวัดที่มีการจัดทำแผนบูรณาการด้านส่งเสริมป้องกันทั้งในระดับจังหวัดและอำเภอ 12.2 ร้อยละของงบพัฒนาศักยภาพงานส่งเสริมป้องกันจากงบ PPA ที่ได้รับการจัดสรรทั้งหมด 12.3 ตัวชี้วัดที่เป็นปัญหาด้านส่งเสริมป้องกันในจังหวัด

  22. ความคาดหวังต่อการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ในระดับพื้นที่ • พื้นที่มีกระบวนการจัดทำยุทธศาสตร์และแผนระดับพื้นที่เพื่อแก้ปัญหา/ภาวะโรคในระดับพื้นที่ที่เป็นรูปธรรม • การบูรณาการดำเนินงานร่วมกันของทุกภาคีระดับพื้นที่ ทั้งการจัดการ แผน งบประมาณ กำลังคน และข้อมูล • ประชาชนเกิดความตระหนักและเห็นคุณค่าของการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค และการดูแลสุขภาพตนเอง • การบูรณาการงานบริการสาธารณสุขและงบประมาณ (P&P, รักษา ฟื้นฟูฯ) ในระดับพื้นที่โดยใช้แนวคิด Evidence based • การจัดการงบประมาณที่มีประสิทธิภาพ คุ้มค่า • มีระบบการกำกับติดตามประเมินผลอย่างต่อเนื่อง

  23. ขอบคุณครับ

More Related