1 / 54

เทคนิคการเขียน รายงานการวิจัย

เทคนิคการเขียน รายงานการวิจัย. สุมาลี พงศ์ติยะไพบูลย์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี. ปรับ. อ่าน. งานวิจัย. คิด. เขียน. ถก. การจดบันทึกสาระจากการอ่าน. 001 Finn, J.D. (1989). Withdrawing from school. Review of Educational Research. 59(2):156-184. 001 ปัญหาวิจัย

kacy
Télécharger la présentation

เทคนิคการเขียน รายงานการวิจัย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เทคนิคการเขียนรายงานการวิจัยเทคนิคการเขียนรายงานการวิจัย สุมาลี พงศ์ติยะไพบูลย์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

  2. ปรับ อ่าน งานวิจัย คิด เขียน ถก

  3. การจดบันทึกสาระจากการอ่านการจดบันทึกสาระจากการอ่าน 001 Finn, J.D. (1989). Withdrawing from school. Review of Educational Research. 59(2):156-184. 001 ปัญหาวิจัย นักเรียนออกจากโรงเรียนกลางคัน เนื่องมาจากสาเหตุอะไร ? 001 ทฤษฎีที่ใช้เป็นพื้นฐาน 1. ทฤษฏีปฏิสัมพันธ์สัญลักษณ์ 2. ทฤษฎีแรงจูงใจ 001 วิธีดำเนินการวิจัย ประชากร กลุ่มตัวอย่าง เครื่องมือและการรวบรวมข้อมูล 001 ผลการวิจัย การอภิปรายผล และข้อเสนอแนะ

  4. การสังเคราะห์สาระจากการอ่านการสังเคราะห์สาระจากการอ่าน 001 002 003 003 001 002

  5. การสังเคราะห์สาระจากการอ่านการสังเคราะห์สาระจากการอ่าน 001 002 003 001

  6. การพัฒนาข้อเสนอโครงการวิจัยการพัฒนาข้อเสนอโครงการวิจัย ชี้ให้เห็นความสำคัญ มีใครทำอะไรไว้แล้วบ้าง บรรลุเป้าหมาย ดังนั้น เราต้องการอะไร ด้วยวิธีใด วัตถุประสงค์ที่ชัดเจน วิธีการที่ชัดเจน

  7. กระบวนการวิจัย 1. การกำหนดปัญหาวิจัย 2. การกำหนดสมมุติฐานวิจัย 3. การรวบรวมข้อมูล 4. การวิเคราะห์ข้อมูล 5. การสรุปและอภิปรายผลวิจัย

  8. วงจรการวิจัย (RESEARCH CYCLE) ทฤษฎี การเสนอแนะ สมมุติฐานวิจัย การสรุปอ้างอิง การสุ่มตัวอย่าง ปัญหาวิจัย การวิเคราะห์ นิยาม,เครื่องมือ การรวบรวมข้อมูล

  9. R2 R3 R1 D2 D1

  10. จุดเริ่มต้นของการวิจัยจุดเริ่มต้นของการวิจัย เมื่อมีปัญหา?

  11. ปัญหาคืออะไร/เกิดจากอะไรปัญหาคืออะไร/เกิดจากอะไร สิ่งที่ต้องการ สิ่งที่มีอยู่ สิ่งที่คาดหวัง สิ่งที่เป็นจริง

  12. ปัญหา (Needs) เกิดขึ้นเมื่อ < สิ่งที่เป็นจริง สิ่งที่คาดหวัง < สิ่งที่มีอยู่ สิ่งที่ต้องการ

  13. สรุปสาเหตุของปัญหา จากหลักฐานเชิงประจักษ์ หาวิธีแก้ไข

  14. บริบทแวดล้อมอื่นๆ ในโรงเรียนที่มีผลต่อคุณภาพ การเรียนการสอน ฯ ล ฯ แหล่ง ปัญหา ผู้สอน ผู้เรียน สื่อการสอน วิธีการสอน บริบทแวดล้อมอื่นๆนอกโรงเรียน ที่มีผลต่อคุณภาพการเรียน การสอน ฯ ล ฯ

  15. ปัจจัยที่มาของปัญหา Anasee Pengsaa Stone

  16. หลักการกำหนดคำถามวิจัย/คำถามสำคัญ และวัตถุประสงค์การวิจัย • คำถามวิจัย/คำถามสำคัญแต่ละข้อ และวัตถุประสงค์การวิจัย ต้อง สอดคล้องกัน • ใช้ภาษาสั้น กะทัดรัด แต่ชัดเจน • คำถามหรือวัตถุประสงค์ย่อยต้องทำการวิจัย ได้ และผลการวิจัยที่ได้รวมกันเป็นผลการ วิจัยของคำถามหรือวัตถุประสงค์หลัก

  17. ปัญหาวิจัย (research problem) ข้อความ หรือคำถามที่นักวิจัยกำหนดเพื่อ ศึกษาหาวิธีแก้ไข คำถามวิจัย (research question) คำถามที่นักวิจัยกำหนดขึ้นเพื่อหาคำตอบ ซึ่งจะนำไปสู่วิธีการแก้ไขปัญหาวิจัย นิยมตั้ง คำถามวิจัยว่า ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร ตั้งแต่สองตัวขึ้นไปมีลักษณะเป็นอย่างไร ?

  18. ตัวแปร (Variable) สัญลักษณ์ที่นักวิจัยกำหนดค่าเป็นตัวเลข แทนเหตุการณ์ พฤติกรรม ลักษณะ หรือสิ่ง ที่ต้องการศึกษา ซึ่งแปรค่าได้ ตัวแปรในการวิจัย ตัวแปรต้น (Independent variable = IV) ตัวแปรตาม (Dependent variable = DV) ตัวแปรแทรกซ้อน (Exreaneous var. =EV)

  19. ตัวแปร - นิยามศัพท์ • ตัวแปร = สิ่งที่มีผลต่อการศึกษา ในประเด็นที่ตัวเองสนใจ • ตัวแปร = สิ่งที่น่าจะมีอิทธิพลต่องานวิจัยของเรา • ทำไมต้องมีการนิยามศัพท์ให้ตัวแปร • คำบางคำ เข้าใจเฉพาะกลุ่ม จึงต้องทำให้ผู้อ่านทุกคนเข้าใจ • การเขียนนิยามศัพท์ • นิยามศัพท์ระดับทั่วไป - บอกให้ทราบความหมายโดยตรง • พจนานุกรม,Wikipedia (*บอกแหล่งอ้างอิง) • นิยามศัพท์ระดับปฎิบัติการ – ต้องระบุเกณฑ์ที่สามารถวัดได้ • สิ่งที่เป็นนามธรรม เช่น การเลือกตั้ง, ความปราณีต (วัดอย่างไร..) AnaseePengsaa Stone

  20. THEORY/MODEL (unobservable) concepts IMPLY DEDUCE (Observable) H1 H2H3H4H5 … Hn DATA INDUCE H1 H2

  21. ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะสันนิษฐาน การนิยามเชิงทฤษฎี และการนิยามเชิงปฏิบัติการ ทฤษฏี แนวคิดผลงานวิจัย พฤติกรรมบ่งชี้ นิยามเชิงปฏิบัติการ(OPERATIONALDEFINITION) นิยามเชิงทฤษฏี(CONCEPTUAL DEFINITION สภาวะสันนิษฐาน(CONSTRUCT) มีรูปร่างชัดเจนและสามารถวัดได้ ไม่สามารถระบุรูปร่างที่ชัดเจน มีรูปร่างที่ชัดเจนแต่ยังไม่สามารถวัดได้อย่างชัดเจน

  22. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา ปัจจัยด้าน ตัวแปร ครู คุณภาพการสอน, วิธีสอน นักเรียน ความตั้งใจเรียน, ทัศนคติต่อการเรียน ครอบครัว ฐานะทางเศรษฐกิจ, การอบรมเลี้ยงดู โรงเรียน สภาพแวดล้อม, ลักษณะการบริหาร

  23. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา คำถามวิจัย 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนอยู่ระดับใด ? 2. ปัจจัยด้านครู นักเรียน ครอบครัว และโรงเรียน มี อิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน อย่างไร ? 3. ปัจจัยใดมีความสำคัญต่อการพยากรณ์ผลสัมฤทธิ์ทาง การเรียนของนักเรียน ?

  24. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา วัตถุประสงค์วิจัย 1. เพื่อสรุประดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน 2. เพื่อเปรียบเทียบขนาด ทิศทางอิทธิพลของปัจจัยด้าน ครู นักเรียน ครอบครัวและโรงเรียน ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของนักเรียน 3. เพื่อสร้างสมการพยากรณ์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียน

  25. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา สมมุติฐานวิจัย 1. ปัจจัยด้านครู นักเรียน ครอบครัว มีอิทธิพลทางบวก ขนาดปานกลาง ส่วนปัจจัยด้านโรงเรียนมีอิทธิพลทาง บวก ขนาดต่ำ ต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน 2. ตัวแปรในปัจจัยด้านนักเรียน และครอบครัวมีความ สำคัญต่อการพยากรณ์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ นักเรียน

  26. ขอบเขตการศึกษา • แม้ว่าหัวข้อจะมีความชัดเจนอยู่แล้ว แต่ต้องกำหนดขอบเขต • เป็นไปได้ยากที่ผู้วิจัยจะทำทุกเรื่อง ครอบคลุมทุกด้าน • ไม่เช่นนั้น งานวิจัยจะเยิ่นเย้อไม่มีที่สิ้นสุด • การแบ่งประเภท 1. ด้านประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา 2. ด้านระยะเวลาในการศึกษา 3. ด้านตัวแปรที่มีผลต่อการศึกษา Anasee Pengsaa Stone

  27. สถิติศาสตร์แบ่งออกได้ 2 ประเภทใหญ่ คือ...... 1.สถิติศาสตร์ภาคบรรยาย Descriptive Statistic ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความแปรปรวน ( x ,) ( S ,) (S2 ,2 ) 2. สถิติศาสตร์สรุปอ้างอิง Inferential Statistic เป็นการอ้างอิงจากค่าสถิติ(ค่าคำนวณจากกลุ่มตัวอย่าง)ไปยังค่าพารามิเตอร์ (ค่าคำนวณจากประชากร)ใช้เทคนิคการอ้างอิงทางสถิติ ภายใต้ความน่าจะเป็น การอ้างอิงมี 2 แบบคือ 1.การทดสอบสมมุติฐานทางสถิติ(Hypothesis Testing) 2.การประมาณค่าพารามิเตอร์

  28. เทคนิคทางสถิติศาสตร์ของสถิติภาคสรุปอ้างอิงเทคนิคทางสถิติศาสตร์ของสถิติภาคสรุปอ้างอิง 1.สถิติแบบพาราเมตริก (Parametric Statistic) t, Z, X2 ,F 2. สถิติแบบไม่ใช่พาราเมตริก (Non-Parametric Statistic)เช่น Binomial test X2 – Goodness of Fit test, Independent test…….. The Sign Test The Wilcoxon Test การเลือกขึ้นอยู่กับสเกล จำนวนกลุ่ม จุดมุ่งหมายของการวัด(สัมพันธ์/สหสัมพันธ์)

  29. b S.D. X rxy     sampling Population Sample Description Description Estimation Parameter Statistic Hypothesis Testing

  30. การจัดทำรายงานการวิจัยเพื่อเป็นหลักฐานการทำงานของตนเองการจัดทำรายงานการวิจัยเพื่อเป็นหลักฐานการทำงานของตนเอง • ชื่อเรื่อง • ชื่อผู้วิจัย • ปีที่ทำวิจัย • วัตถุประสงค์ของการวิจัย • วิธีการวิจัย • นวัตกรรมที่พัฒนา • กลุ่มเป้าหมาย (ระดับการศึกษา จำนวนตัวอย่าง ระยะเวลา) • วิธีการนำนวัตกรรมสู่การปฏิบัติ • ผลที่เกิดขึ้น • บทเรียนที่เรียนรู้

  31. วัตถุประสงค์ของการทำรายงานวัตถุประสงค์ของการทำรายงาน • เพื่อเป็นหลักฐานการทำงานของตนเอง • เพื่อเป็นข้อมูลช่วยในการจัดการเรียนการสอนของตนเองต่อไปในอนาคต • เพื่อเป็นฐานข้อมูลสำหรับการทำวิจัยของตนเองครั้งต่อ ๆ ไป • เพื่อจัดเก็บผลการวิจัยสำหรับการสังเคราะห์การวิจัยต่อไปในอนาคต • เพื่อเป็นส่วนหนึ่งของหลักฐานรองรับการประกันคุณภาพหรือการประเมินคุณภาพภายในและภายนอกตามมาตรฐานและตัวบ่งชี้การปฏิบัติงานของครู

  32. การจัดทำรายงานการวิจัยเพื่อเผยแพร่ผลการวิจัยการจัดทำรายงานการวิจัยเพื่อเผยแพร่ผลการวิจัย • ชื่อเรื่อง • ชื่อผู้วิจัย • ปีที่ทำวิจัย • วัตถุประสงค์ของการวิจัย • วิธีการวิจัย • นวัตกรรมที่พัฒนา (แนวคิดที่ใช้) • กลุ่มเป้าหมาย (ระดับการศึกษา จำนวนตัวอย่าง ระยะเวลา) • วิธีการนำนวัตกรรมสู่การปฏิบัติ • ผลที่เกิดขึ้น • บทเรียนที่เรียนรู้ ข้อเสนอแนะจากการวิจัย

  33. วัตถุประสงค์ของการทำรายงานวัตถุประสงค์ของการทำรายงาน • เพื่อเผยแพร่ให้ผู้อื่นได้ใช้ประโยชน์จากการวิจัยของครู • เพื่อเป็นฐานข้อมูลเกี่ยวกับองค์ความรู้ด้านศาสตร์การสอน • เพื่อให้มีข้อมูลสำหรับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของกลุ่มผู้สอน • เพื่อก่อให้เกิดการวิพากษ์ผลการวิจัยซึ่งเจ้าของผลงานสามารถนำไปปรับปรุงพัฒนางานของตนเองได้ดียิ่งขึ้น หรือต่อยอดงานวิจัยเดิม • เพื่อสร้างเครือข่ายวิจัยการศึกษาซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อการรวมมือรวมพลังในกรพัฒนาคุณภาพการศึกษาต่อไปในอนาคต • เพื่อสร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้หรือสังคมฐานความรู้

  34. การจัดทำรายงานการวิจัยเพื่อขอผลงานทางวิชาการการจัดทำรายงานการวิจัยเพื่อขอผลงานทางวิชาการ • ชื่อเรื่อง • ชื่อผู้วิจัย • ปีที่ทำวิจัย • ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหาวิจัย • วัตถุประสงค์ของการวิจัย • ขอบเขตของการวิจัย • ประโยชน์จากการวิจัย • วิธีการวิจัย • นวัตกรรมที่พัฒนา (แนวคิดที่ใช้) • กลุ่มเป้าหมาย (ระดับการศึกษา จำนวนตัวอย่าง ระยะเวลา) • วิธีการนำนวัตกรรมสู่การปฏิบัติ • วิธีประเมินความสำเร็จ • ผลที่เกิดขึ้น • บทเรียนที่เรียนรู้ ข้อเสนอแนะจากการวิจัย

  35. วัตถุประสงค์ของการทำรายงานวัตถุประสงค์ของการทำรายงาน • เพื่อสะท้อนความเป็นครูมืออาชีพ • เพื่อแสดงถึงความเป็นผู้มีทักษะการวิจัย การแสวงหาความรู้ด้วยตนเองเป็น • เพื่อแสดงถึงความเป็นผู้มีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ ได้ด้วยตนเอง • เพื่อแสดงถึงความรักในอาชีพครู เป็นผู้มุ่งมั่นพัฒนานวัตกรรมใหม่ ๆ มาใช้ในการพัฒนาผู้เรียน • เพื่อแสดงถึงความเป็นผู้มีมานะอดทนในการทำงานที่ต้องใช้ศักยภาพขั้นสูง สมควรแก่การยกย่อง

  36. วิธีการจัดทำรายงานการวิจัยเพื่อเผยแพร่และเพื่อเป็นผลงานทางวิชาการวิธีการจัดทำรายงานการวิจัยเพื่อเผยแพร่และเพื่อเป็นผลงานทางวิชาการ

  37. การตั้งชื่อเรื่องวิจัยการตั้งชื่อเรื่องวิจัย • หัวข้อสะท้อนว่าเป็นการวิจัยปฏิบัติการ (การวิจัย การพัฒนา การสร้าง) • ระบุนวัตกรรมที่พัฒนา (เช่น วิธีการที่ใช้ แนวคิด ลักษณะของสิ่งประดิษฐ์) • ระบุที่ทำวิจัย (กลุ่มตัวอย่าง ระดับชั้น สถานที่) • ระบุตัวแปรผล (ตัวแปรตาม) ที่ต้องการให้เกิดกับผู้เรียน • หัวข้อเรื่องวิจัยในชั้นเรียนไม่ควรเป็นเรื่องที่เป็นการวิจัยเชิงสำรวจสภาพปัญหาเนื่องจากไม่ใช่การวิจัยปฏิบัติการ

  38. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหาความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา • ระบุสิ่งที่พึงประสงค์ หรือแนวคิด/หลักการสำคัญซึ่งเป็นที่ยอมรับ • ระบุสภาพปัจจุบันที่เป็นอยู่กับนักเรียนที่ตนเองรับผิดชอบ • ระบุสิ่งที่เป็นปัญหาอันเกิดจากการที่นักเรียนยังมีคุณลักษณะไม่เป็นไปในทิศทางที่พึงประสงค์ ตลอดจนผลกระทบที่ตามมา • ค้นหา หรืออธิบายแนวคิดสำคัญที่คาดว่าจะเป็นแนวทางในการพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ • อธิบายประโยชน์หรือความคาดหวังจากวิจัย

  39. การเขียนวัตถุประสงค์ของการวิจัยการเขียนวัตถุประสงค์ของการวิจัย • ให้เขียนโดยระบุคำกริยาที่แสดงจุดมุ่งหมายของการวิจัยเพื่อให้ได้คำตอบที่ต้องการ • ไม่ควรเขียนสิ่งที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัย หรือประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ • ควรระบุสิ่งที่เป็นนวัตกรรมที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น และการประเมินความสำเร็จ • ตัวอย่าง • เพื่อพัฒนาสื่อ ....... เพื่อส่งเสริมความรู้ความเข้าใจเรื่อง ......... • เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่รียนจากสื่อ .................

  40. การพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนการสอน/วิธีพัฒนาคุณลักษณะของผู้เรียนการพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนการสอน/วิธีพัฒนาคุณลักษณะของผู้เรียน • ระบุแนวคิดสำคัญที่ใช้ในการออกแบบนวัตกรรม • อธิบายเหตุผลสนับสนุน ถ้ามี ที่ทำให้ท่านมีความคิดที่จะออกแบบนวัตกรรมแบบนั้น • อธิบายว่านวัตกรรมที่พัฒนาขึ้นมีลักษณะอย่างไร • ทำเพื่อพัฒนาอะไร กับใคร • ทำอย่างไร • ต้องใช้เวลานานเท่าใดในการใช้นวัตกรรมนั้น • ผู้เกี่ยวข้องมีความคิดเห็นอย่างไรต่อนวัตกรรมที่ท่านออกแบบ มีการนำข้อคิดเห็นเหล่านั้นมาปรับปรุงต้นร่างของนวัตกรรมอย่างไร • การใช้นวัตกรรมดังกล่าวต้องมีการเตรียมการในเรื่องอะไรบ้าง • เงื่อนไขอะไรบ้างที่ต้องเตรียม เพื่อให้ใช้นวัตกรรมได้สำเร็จ

  41. กลุ่มตัวอย่างของการวิจัยกลุ่มตัวอย่างของการวิจัย • กลุ่มตัวอย่างคือใคร ขนาดเท่าใด เป็นกลุ่ม หรือกรณีศึกษา เรียนอยู่ในชั้นใด • นักเรียนมีปัญหาอะไร รู้ได้อย่างไร ข้อมูลมาจากไหน • สภาพก่อนการทดลองเป็นอย่างไร รู้ได้อย่างไร ใช้วิธีการวัดแบบใด • มีการเตรียมนักเรียนก่อน ระหว่างการทดลองใช้นวัตกรรมอะไรบ้าง

  42. การทดลองใช้นวัตกรรม • เตรียมทำแผนการสอนที่มีการสอดแทรกคำถามวิจัย นวัตกรรมที่ใช้ในการเรียนการสอน ข้อมูลเกี่ยวกับผู้เรียน • เก็บข้อมูลเกี่ยวกับผู้เรียน • ทดลองใช้นวัตกรรม • เตรียมวิธีการบันทึกผลการสังเกต หรือวิธีการเก็บข้อมูลแบบอื่น • สังเกตพฤติกรรม หรือผลที่เกิดขึ้น • นำสิ่งที่เกิดขึ้นไปสะท้อนกับเพื่อนร่วมงาน บันทึกผล สิ่งที่ได้แก้ไขปรับปรุง

  43. การบันทึกผลที่เกิดขึ้นการบันทึกผลที่เกิดขึ้น • กำหนดพฤติกรรม หรือผลที่ต้องการวัดจากผู้เรียน • กำหนดวิธีการวัด เช่น การทดสอบ การสังเกต การดูจากผลงานของเด็ก • กำหนดแหล่งผู้ให้ข้อมูล หรือร่องรอยหลักฐานเกี่ยวกับผู้เรียน • นำผลที่ได้รับมาตรวจสอบ วิเคราะห์ความก้าวหน้า ศึกษาจุดแข็งหรือจุดอ่อนของนวัตกรรม • จัดประชุมวิพากษ์เพื่อสะท้อนผลกับเพื่อนร่วมงาน ปรับปรุงนวัตกรรม เก็บข้อมูลซ้ำ • วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อสรุปผล

  44. การวิเคราะห์ข้อมูลและแปลความหมายการวิเคราะห์ข้อมูลและแปลความหมาย • ศึกษาลักษณะหรือธรรมชาติของข้อมูล • กำหนดวิธีวิเคราะห์ข้อมูล ใช้เชิงคุณภาพหรือเชิงปริมาณ • วิเคราะห์ข้อมูล นำเสนอผล เลือกรุปแบบการนำเสนอ เป็นความเรียง ตาราง กราฟ แผนภูมิ • แปลความหมายผลการวิเคราะห์ข้อมูล

  45. การจัดทำรายงาน • กำหนดรูปแบบการเขียน (ดูหัวข้อ) • ลงมือยกร่าง • ทิ้งช่วงห่างประมาณ 3-4 วัน แล้วมาอ่านใหม่ • ตรวจสอบภาษา ตรวจปรู๊ฟ ดูความถูกต้องของข้อมูลและการเขียนสรุป • ดูความสอดคล้องของรายงาน ความเป็นเหตุเป็นผล • ภาษาต้องกระชับ ได้ใจความ เป็นประโยคสมบูรณ์ อ่านเข้าใจง่าย

  46. การอภิปรายและจัดทำข้อเสนอแนะการอภิปรายและจัดทำข้อเสนอแนะ • สรุปข้อค้นพบ ยกร่างประเด็นสำคัญที่ค้นพบ • วิเคราะห์จำแนก แยกแยะผลสรุป ประเด็นที่ขัดแย้งกับแนวคิด หรือสนับสนุน • พยายามหาเหตุผลอธิบายผลที่เกิดขึ้น • จัดประชุมเพื่อวิพากษ์ สะท้อนผลการวิจัย • บันทึกมุมมองของเพื่อนร่วมงาน นำมาวิเคราะห์เป็นประเด็น และเขียนในเชิงการอภิปราย • เขียนข้อเสนอแนะ • บทเรียนที่เรียนรู้ที่น่าจะนำไปใช้ประโยชน์ หรือเป็นประโยชน์ต่อผู้อื่น • จุดอ่อนในการวิจัย ซึ่งควรเสนอมิให้ผู้อื่นทำผิดซ้ำ • ประเด็นที่ค้นพบจากการวิจัย และคิดว่าน่าจะมีการวิจัยต่อยอดจากเดิม • แนวทางการขยายผลการวิจัย

  47. จุดตรวจสอบของคุณภาพงานวิจัยจุดตรวจสอบของคุณภาพงานวิจัย • ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ของนวัตกรรม • ความน่าเชื่อถือของผลการวิจัย คุณภาพของข้อมูลซึ่งมาจากวิธีการจัดเก็บที่น่าเชื่อถือ • ประโยชน์ที่เกิดขึ้น และสามารถนำไปปรับใช้ได้ในวงกว้าง • ความสามารถในการสื่อสารข้อค้นพบ ภาษาที่ใช้อ่านง่าย • มีความสอดคล้อง ความเป็นเหตุเป็นผล ความคงเส้นคงวาของคำที่ใช้ตลอดเล่ม

  48. ขอบคุณ

  49. กระบวนการทำวิจัยในชั้นเรียนกระบวนการทำวิจัยในชั้นเรียน วิเคราะห์ปัญหา การเรียนการสอน พิจารณาจาก การเรียนการสอนในชั้น ศึกษาแนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง นำปัญหามาเชื่อมโยงกับทฤษฎีและหลักการต่างๆ

  50. กระบวนการทำวิจัยในชั้นเรียนกระบวนการทำวิจัยในชั้นเรียน พัฒนานวัตกรรมที่เกี่ยวข้อง * สร้างนวัตกรรม * หาประสิทธิภาพ ออกแบบการวิจัย * แผนการวิจัย * ประชากร กลุ่มตัวอย่าง * เครื่องมือ (สร้าง และหาคุณภาพ) * การรวบรวมข้อมูล * การวิเคราะห์ข้อมูล

More Related