1 / 52

วิชาการวิเคราะห์เชิงปริมาณ ( Quantitative Analysis ) รหัสวิชา 3593301 3 ( 3 - 0 )

วิชาการวิเคราะห์เชิงปริมาณ ( Quantitative Analysis ) รหัสวิชา 3593301 3 ( 3 - 0 ) อาจารย์ วศิมน เบ็ญจพันธุ์ทวี. การวัดผลและการประเมินผล. การวัดผล. ระหว่างภาคเรียน. 60 คะแนน. แบบฝึกหัด 20 รายงาน 20 ทดสอบระหว่างภาค 20.

kioko
Télécharger la présentation

วิชาการวิเคราะห์เชิงปริมาณ ( Quantitative Analysis ) รหัสวิชา 3593301 3 ( 3 - 0 )

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. วิชาการวิเคราะห์เชิงปริมาณวิชาการวิเคราะห์เชิงปริมาณ ( Quantitative Analysis ) รหัสวิชา 3593301 3 ( 3 - 0 ) อาจารย์ วศิมน เบ็ญจพันธุ์ทวี

  2. การวัดผลและการประเมินผลการวัดผลและการประเมินผล การวัดผล ระหว่างภาคเรียน 60 คะแนน แบบฝึกหัด 20 รายงาน 20 ทดสอบระหว่างภาค 20 สอบปลายภาค 40 คะแนน การประเมินผล : อิงเกณฑ์

  3. เนื้อเรื่อง 1. แนวคิดเกี่ยวกับการวิเคราะห์ เชิงปริมาณ 2. ทฤษฎีการตัดสินใจ 3. การวิเคราะห์ข่ายงานและการ ควบคุมการดำเนินงาน

  4. เนื้อเรื่อง 4. การโปรแกรมเชิงเส้น 5. ตัวแบบสินค้าคงคลัง 6. ตัวแบบแถวคอย 7. ตัวแบบมาร์คอฟ 8. ทฤษฎีเกม

  5. บทที่ 1. แนวคิดเกี่ยวกับ การวิเคราะห์เชิงปริมาณ

  6. การวิเคราะห์เชิงปริมาณหมายถึงการวิเคราะห์เชิงปริมาณหมายถึง - กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ - รวบรวมข้อมูลขึ้นเป็นตัวเลข - เครื่องมือที่ใช้คือสถิติและคณิตศาตร์ - เพื่อช่วยตัดสินใจแก้ปัญหาในการ กำหนดทางเลือกที่ดีที่สุด

  7. กระบวนการทางวิทยาศาสตร์กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 1. การสังเกต 2. การกำหนดปัญหา 3. การตั้งสมมุติฐาน 4. การทดลองหรือการทดสอบ 5. การสรุป

  8. การวิเคราะห์เชิงปริมาณมี 6 ขั้นตอน 1. การวิเคราะห์ปัญหา 2. การสร้างตัวแบบ 3. การรวบรวมข้อมูล 4. การหาผลลัพธ์ 5. การทดสอบผลลัพธ์ 6. การนำผลลัพธ์ไปแก้ไขปัญหา

  9. ประโยชน์ของการวิเคราะห์เชิงปริมาณประโยชน์ของการวิเคราะห์เชิงปริมาณ การวิเคราะห์เชิงปริมาณ จะช่วยในการ ตัดสินใจในแต่ละขั้นตอนของธุรกิจ เช่น การลงทุน การเลือกกระบวนการผลิต การขยายกิจการ และการกำหนดราคา สินค้า

  10. ลักษณะของปัญหาที่ใช้กับการวิเคราะห์เชิงปริมาณลักษณะของปัญหาที่ใช้กับการวิเคราะห์เชิงปริมาณ เกิดขึ้นตามสภาพที่แน่นอน เกิดขึ้นตามสภาพที่ไม่แน่นอน

  11. ปัญหาที่เกิดขึ้นตามสภาพที่แน่นอนปัญหาที่เกิดขึ้นตามสภาพที่แน่นอน ปัญหาการจัดสรรทรัพยากร การโปรแกรมเชิงเส้น ปัญหาการขนส่ง ปัญหาการมอบหมายงาน :PERT/CPM ปัญหาการควบคุม

  12. ปัญหาที่เกิดขึ้นตามสภาพที่ไม่แน่นอนปัญหาที่เกิดขึ้นตามสภาพที่ไม่แน่นอน :ตัวแบบสินค้าคงคลัง ปัญหาสินค้าคงคลัง : ตัวแบบแถวคอย ปัญหาการรอคอย : เกมและกลยุทธ์ ปัญหาการแข่งขัน : ตัวแบบมาร์คอฟ ปัญหาการพยากรณ์

  13. การพยากรณ์สามารถจำแนกได้ 2 แนวคิด แนวคิดที่ 1: พฤติกรรมในอดีตของสิ่งที่จะ พยากรณ์ เพียงพอที่จะพยากรณ์ พฤติกรรมในอนาคต เครื่องมือที่ใช้ คือ อนุกรมเวลาแบบคลาสสิค เทคนิคการทำให้เรียบ และ ตัวแบบมาร์คอฟ

  14. การพยากรณ์สามารถจำแนกได้ 2 แนวคิด แนวคิดที่ 2: พฤติกรรมของสิ่งที่จะพยากรณ์ ถูกกำหนดโดยสิ่งอื่น ๆ ซึ่งจะมี ความสัมพันธ์กับสิ่งที่จะพยากรณ์ เครื่องมือที่ใช้ คือ การวิเคราะห์การถดถอย

  15. บทที่ 2 ทฤษฎีการตัดสินใจ (Decision Making Theory)

  16. ชนิดของการตัดสินใจ 1. ภายใต้ความแน่นอน 2. ภายใต้ความเสี่ยง 3. ภายใต้ความไม่แน่นอน

  17. ตัวแบบการตัดสินใจ 1. เมทริกซ์การตัดสินใจ N Cij 1 2 …. 1 C11 C12 …. C1N 2 …. C21 C22 C2N .. .. .. …. …. M CM1 CM2 CMN

  18. 2. แขนงการตัดสินใจ (Decision Tree) เหตุการณ์ 1 ทางเลือก 1 เหตุการณ์ 2 เหตุการณ์ 1 ทางเลือก 2 เหตุการณ์ 2

  19. การตัดสินใจโดยใช้มูลค่าคาดคะเนทางการเงินการตัดสินใจโดยใช้มูลค่าคาดคะเนทางการเงิน (Expected Monetary Value = EMV) มูลค่าคาดคะเนทางการเงิน (EMV ) หมายถึง มูลค่าของต้นทุน หรือมูลค่าของกำไร เมื่อได้ นำเอาค่าความน่าจะเป็นเข้ามาพิจารณาในการคำนวณมูลค่านั้นๆ

  20. การตัดสินใจโดยใช้มูลค่าคาดคะเนทางการเงิน การตัดสินใจโดยใช้มูลค่าคาดคะเนทางการเงิน (Expected Monetary Value : EMV) มี 3 ขั้นตอน 1. จัดทำตารางแสดงผลกำไรทาง เศรษฐกิจของแต่ละกิจกรรม

  21. การตัดสินใจโดยใช้มูลค่าคาดคะเนทางการเงินการตัดสินใจโดยใช้มูลค่าคาดคะเนทางการเงิน (Expected Monetary Value : EMV) มี 3 ขั้นตอน 2. หา EMV โดยนำค่าความน่าจะเป็นของแต่ละ สภาพการณ์คูณเข้ากับผลกำไรทางเศรษฐกิจ ของแต่ละทางเลือก จากนั้นรวมค่า EMV ใน แต่ละทางเลือก. 3. เปรียบเทียบค่า EMV โดยเลือกค่าที่สูงที่สุด

  22. ตัวอย่างที่ 2.2 ดอกคาร์เนชั่นมีต้นทุนดอกละ 30 บาท จำหน่ายไปดอกละ 50 บาท หากเหลือ ในแต่ละวันเลหลังได้ดอกละ 10 บาท จงวิเคราะห์โดยใช้ EMV เพื่อหา ทางเลือกที่ดีที่สุด

  23. สถิติ 100 วัน ย้อนหลังยอดขายเป็นดังนี้ จำนวนดอก ความถี่ (วัน) P(x) 100 120 150 170 200 5 15 40 30 10 0.05 0.15 0.40 0.30 0.10 1.00 100

  24. การคำนวณผลกำไรต่อหน่วยการคำนวณผลกำไรต่อหน่วย กรณีขายได้ กรณีขายเลหลัง ราคาขาย 50 บาท ต้นทุน 30 บาท กำไร 20 บาท/ดอก ราคาขาย 10 บาท ต้นทุน 30 บาท ขาดทุน -20 บาท/ดอก 100 ดอก กำไร 100x20 = 2000 บาท

  25. ขั้นที่ 1 จัดทำตารางแสดงผลกำไรทางเศรษฐกิจ

  26. ทางเลือก 100 120 150 170 200 100 120 150 170 200 1000 2000 600 1400 2600 0 800 2000 2800 1600 2400 1800 2000 2000 2000 2000 2400 2400 2400 3000 3000 3000 3400 4000 3400

  27. 1600 มาจาก มี 120 ดอก ขาย 100 x 20 = 2000 บาท เหลือ 20 x -20 = -400 บาท กำไรทั้งหมด = 1600 บาท

  28. 1600 มาจาก ยอดขาย 100 X 50 = 5,000 บาท ต้นทุน 120 X 30 = 3,600 บาท กำไร = 1400 บาท เลหลัง 20 X 10 = 200 บาท กำไรทั้งหมด = 1600 บาท

  29. ทางเลือก 100 120 150 170 200 100 120 150 170 200 1000 2000 600 1400 2600 0 800 2000 2800 1600 2400 1800 2000 2000 2000 2000 2400 2400 2400 3000 3000 3000 3400 4000 3400

  30. ขั้นที่ 2 หาค่า EMV

  31. ทางเลือก P(x) 100 EMV 120 EMV 100 1600 2400 2400 2400 2400 80 100 120 150 170 200 0.05 0.15 0.40 0.30 0.10 2000 2000 2000 2000 2000 300 360 800 960 600 720 200 240 รวม 2000 2360 1.00

  32. ทางเลือก 100 120 150 170 200 P(X) 0.05 0.15 0.40 0.30 0.10 150 1000 1800 3000 3000 3000 EMV 170 600 1400 2600 3400 3400 EMV 50 270 1200 900 300 30 210 1040 1020 340 รวม 2720 2640 1.00

  33. ทางเลือก 100 120 150 170 200 200 0 800 2000 2800 4000 EMV P(X) 0.05 0.15 0.40 0.30 0.10 0 120 800 840 400 รวม 1.00 2160

  34. ขั้นที่ 3 เปรียบเทียบค่า EMV โดยเลือก ทางเลือกที่ให้ค่า EMV สูงสุด ทางเลือก 100 120 150 170 200 EMV 2000 2360 2720 2640 2160

  35. 2.แขนงการตัดสินใจ (Decision Tree)

  36. แขนงการตัดสินใจ เหตุการณ์ 1 ทางเลือก 1 เหตุการณ์ 2 เหตุการณ์ 1 ทางเลือก 2 เหตุการณ์ 2

  37. แขนงการตัดสินใจ(DecissionTree) สัญลักษณ์ที่ใช้ในการสร้างแขนงการตัดสินใจ แสดงจุดที่ต้องมีการตัดสินใจ แสดงการเกิดเหตุการณ์ต่าง ๆ แสดงทางเลือกในการตัดสินใจ

  38. หลักเกณฑ์ในการสร้างแขนงการตัดสินใจหลักเกณฑ์ในการสร้างแขนงการตัดสินใจ 1. สร้างแขนงการตัดสินใจจากซ้ายไปขวา 2. ทางเลือกของจุดตัดสินใจต้องมีมากกว่า 1 ทางเลือก 3. ที่ปลายทางเลือกทุกทางต้องมีเหตุการณ์เกิด ขึ้นเสมออย่างน้อย 1 เหตุการณ์ 4. แขนงการตัดสินใจสุดท้ายของแต่ละทางเลือกจะไปสิ้นสุดด้านขวามือในแนวเดียวกัน

  39. 1. กำหนด เป็นจุดตัดสินใจจุดแรก แขนงการตัดสินใจ การสร้างแขนงการตัดสินใจ ขนาดใหญ่ ขนาดเล็ก

  40. 2. ณ จุดปลายทางเลือกกำหนดเหตุการณ์เพื่อเป็นสาขาของสภาพการณ์ ขายดี ขนาดใหญ่ ขายไม่ดี

  41. แขนงการตัดสินใจ เหตุการณ์ 1 ทางเลือก 1 เหตุการณ์ 2 เหตุการณ์ 1 ทางเลือก 2 เหตุการณ์ 2

  42. ตัวอย่างที่ 2.3 บริษัทผลิตรถแทรกเตอร์แห่งหนึ่งต้องการ สร้างรถต้นแบบโดยให้ค่าจ้าง 2,500,000 บาท หากทดสอบแล้วผ่าน แต่ต้องมีข้อเสนอ เป็นแผนมาก่อน

  43. จุดตัดสินใจที่ 1 สถาบันวิจัยจะทำการยื่นซองเสนอ ราคาหรือไม่ ถ้ายื่นข้อเสนอจะเสียต้นทุนจำนวน 500,000 บาท และมีโอกาสที่จะได้รับทำสัญญา 50 %

  44. จุดตัดสินใจที่ 2 หากได้รับงานสถาบันวิจัยจะใช้วิธีใดที่จะทดสอบ วิธีที่ 1 ต้นทุน 500,000 บาท โอกาสได้ 50 % วิธีที่ 2 ต้นทุน 800,000 บาท โอกาสได้ 70 % วิธีที่ 3 ต้นทุน 1,200,000 บาท โอกาสได้ 100%

  45. สถาบันวิจัยมีโอกาสทดสอบได้ 2 วิธีคือ หากวิธีที่ 1 หรือ 2 ไม่ผ่าน ต้องใช้วิธีที่ 3

  46. (0.5) ได้งาน เสนอ ไม่ได้งาน (0.5) ไม่เสนอ

  47. วิธีที่ 1 ได้งาน วิธีที่ 2 วิธีที่ 3

  48. (0.5) ผ่าน วิธีที่ 1 ไม่ผ่าน วิธีที่ 3 ผ่าน (0.5)

  49. (0.7) ผ่าน วิธีที่ 2 ไม่ผ่าน (0.3) วิธีที่ 3 ผ่าน

  50. (1.00) วิธีที่ 3 ผ่าน

More Related