1 / 29

แนวทางการจัดตั้งศูนย์บริการร่วม สำหรับตัวชี้วัด ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2549

แนวทางการจัดตั้งศูนย์บริการร่วม สำหรับตัวชี้วัด ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2549.

marvela
Télécharger la présentation

แนวทางการจัดตั้งศูนย์บริการร่วม สำหรับตัวชี้วัด ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2549

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวทางการจัดตั้งศูนย์บริการร่วมสำหรับตัวชี้วัด ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 1

  2. เพื่อเป็นการถ่ายทอดยุทธศาสตร์มาเป็นแผนการปฏิบัติงานราชการประจำปี คือ โครงการ ที่แสดงรายละเอียดผลผลิต ผลลัพธ์ ทรัพยากรที่จะใช้ มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงในการดำเนินงานด้านต่างๆ แผนการใช้เงิน การบริหารเงินสดผ่านระบบ GFMIS • ทั้งนี้ ให้มีการวิเคราะห์gapsในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ เพื่อจัดทำการบริหารการเปลี่ยนแปลง ในด้านต่างๆ เช่น โครงสร้าง กระบวนงาน เทคโนโลยี พัฒนาขีดความสามารถ กระบวนทัศน์ ค่านิยมของบุคลากร • เพื่อเป็นการถ่ายทอดนโยบายรัฐบาล แผนการบริหารราชการแผ่นดิน มากำหนดเป็นทิศทางการปฏิบัติราชการ (ยุทธศาสตร์)ของแต่ละหน่วยงาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สุขแก่ประชาชน • เพื่อเป็นการทบทวน ติดตาม ประเมินผลตามแผนการปฏิบัติราชการ โดยให้หน่วยงานจัดทำ SARและให้มีการเข้าไปตรวจสอบทานผล รวมทั้งให้ผู้ประเมินอิสระเป็นผู้ประเมินผลด้วย • ให้มีการให้รางวัลตอบแทนผลการปฏิบัติงานที่บรรลุตามเป้าหมาย ปรับเปลี่ยน วัฒนธรรมองค์การ ออกแบบองค์การ และกระบวนงาน บริหารทุนด้าน ทรัพยากรบุคคล ประเมินผล การปฏิบัติงาน จัดการ ยุทธศาสตร์ ตลาดและ ลูกค้าสัมพันธ์ บริหารจัดการ ด้านการเงิน บริหาร จัดการข้อมูล สร้างเครือข่าย HPO การควบคุม กำกับ ยุทธศาสตร์ (Strategic Control) การนำยุทธศาสตร์ ไปสู่การปฏิบัติ (Strategy Implementation) การวางยุทธศาสตร์ (Strategy Formulation) Strategy Map • Networking Individual SC ศูนย์บริการร่วม Value Chain วิธีการ GSMS/GFMIS Benchmarking การจัดทำบัญชีต้นทุน PMQA SWOTAnalysis ประเมินความคุ้มค่า Structure Design Capacity Building Risk Management Blueprint for Change Change Management Process Improvement Knowledge Management Technology Development สำรวจความพึงพอใจผู้รับบริการ eAuction/eProcurement • Participation Balanced Scorecard 2

  3. กระบวนการ ให้บริการ การพัฒนาและปรับปรุง คุณภาพการให้บริการอย่างต่อเนื่อง ประชาชนผู้รับบริการ ประชาชนผู้รับบริการ การปฏิบัติ (D) การตรวจสอบ (C) การวางแผน(P) การปรับปรุง (A) ความต้องการ ผลลัพธ์ ความ พึงพอใจ ความจำเป็น บริการ ปัจจัยเข้า ผลผลิต 3

  4. บริการ แยกส่วน บริการ ณ สำนักงาน หน่วยบริการเคลื่อนที่ ศูนย์บริการ แบบเบ็ดเสร็จ ศูนย์ บริการร่วม Call Center การพัฒนาการให้บริการประชาชน อดีต ปัจจุบัน ราชการเป็นศูนย์กลาง ประชาชนเป็นศูนย์กลาง 4

  5. Service Link • เป็นหน่วยงานบริการประชาชน ของภาครัฐ • รวมงานบริการที่หลากหลาย ที่เกี่ยวข้องและไม่เกี่ยวข้อง ไว้ในที่เดียวกัน • ให้บริการได้หลายเรื่องในคราวเดียวกัน ความหมายศูนย์บริการร่วม 5

  6. แนวคิดพื้นฐาน • การยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง(Citizen-Centered) • การบูรณาการงานบริการ (Service Integration) • การมุ่งเน้นผลลัพธ์เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล(Result-Oriented) • การอิงฐานการตลาด (Market-Based) 6

  7. หลักการของศูนย์บริการร่วมหลักการของศูนย์บริการร่วม • มิใช่เป็นการรวมเจ้าหน้าที่ไว้ด้วยกัน • เจ้าหน้าที่ศูนย์ฯ ตรวจสอบคำขอแทนส่วนราชการเจ้าของเรื่องที่ให้บริการ • ศูนย์บริการ ติดตามงานและรับผิดชอบในการแจ้งผลให้ผู้รับบริการทราบ • เป็นศูนย์กลางการประสานการปฏิบัติงาน • ขยายเครือข่ายนอกกระทรวง/จังหวัด เมื่อพร้อม • แก้ไขกฎหมาย ระเบียบที่เป็นอุปสรรค 7

  8. การให้บริการข้อมูล/ข่าวสารการให้บริการข้อมูล/ข่าวสาร • การให้บริการรับเรื่อง-ส่งต่อ • การให้บริการเบ็ดเสร็จ ประเภทของการให้บริการ 8

  9. รูปแบบการให้บริการ กรม 2 กรม 1 กรม 3 ศูนย์บริการร่วมกระทรวง ประชาชน 9

  10. WWW. • เจ้าหน้าที่ให้บริการโดยตรง • เว็บไซต์ • Call Center • อื่น ๆ ช่องทางของการให้บริการ 10

  11. แหล่งชุมชน พื้นที่ศูนย์ราชการ ที่ตั้งศูนย์บริการร่วม • ภายในพื้นที่ส่วนราชการ • ศูนย์การค้า หรือ แหล่งชุมชน 11

  12. ขอบเขตการดำเนินการ ศูนย์บริการร่วมกระทรวง การดำเนินศูนย์บริการร่วมกระทรวง ให้ดำเนินการโดยนำงานบริการของทุกส่วนราชการระดับกรมในสังกัดมาจัดบริการ ศูนย์บริการร่วมจังหวัด การดำเนินการศูนย์บริการร่วมจังหวัด ให้ดำเนินการโดยนำงานบริการของส่วนราชการประจำจังหวัดทุกส่วนราชการ และให้รวมถึงราชการส่วนกลางที่ไปตั้งอยู่ในจังหวัดนั้น ๆ ด้วย 12

  13. คำจำกัดความ การบริการร่วม หมายถึง การเชื่อมโยงและนำกระบวนงานที่หลากหลายจากส่วนราชการต่าง ๆ ในสังกัดกระทรวงหรือระดับจังหวัดมาไว้ ณ สถานที่เดียวกัน เพื่อให้ประชาชนหรือผู้รับบริการอื่นๆ สามารถรับบริการจากภาครัฐได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว ณ จุดเดียว ตัวอย่างของการบริการร่วมที่มีการดำเนินการในปัจจุบัน ได้แก่ การบริการร่วมแบบเบ็ดเสร็จจุดเดียว การบริการร่วมแบบเคาน์เตอร์บริการประชาชน (Government Counter Service: GCS) และการบริการแบบ e-Service/Portal เป็นต้น ผู้รับบริการ หมายถึง ประชาชนผู้มารับบริการโดยตรงหรือหน่วยงานภาคเอกชนที่มารับบริการจากส่วนราชการ และยังรวมถึงผู้รับบริการที่มาจากส่วนราชการด้วยกัน 13

  14. กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรอง การปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 14

  15. แนวทางและขั้นตอนในการจัดตั้งศูนย์บริการร่วมแนวทางและขั้นตอนในการจัดตั้งศูนย์บริการร่วม • การเตรียมการเบื้องต้น • การประชุมเพื่อชี้แจงโครงการ • การแต่งตั้งคณะกรรมการและคณะทำงานศูนย์บริการร่วม • การดำเนินการเพื่อบรรลุตัวชี้วัดระดับความสำเร็จฯ ประจำปีงบประมาณ 2549 • การสำรวจงานบริการ • การจัดทำแผนสำหรับการจัดตั้งศูนย์บริการร่วม • ความคืบหน้าในการดำเนินการจัดตั้งศูนย์บริการร่วม • ศูนย์บริการร่วมจำนวนอย่างน้อย 1 แห่งเปิดดำเนินการ • การประเมินผลความสำเร็จของการดำเนินงานตามแผน 15

  16. การเตรียมการเบื้องต้นการเตรียมการเบื้องต้น 16

  17. คณะกรรมการกำกับดูแลและติดตามผลการจัดตั้งศูนย์บริการร่วม มีหน้าที่ในการกำหนดกรอบและทิศทางการดำเนินงาน การวางระเบียบและข้อบังคับ การส่งเสริม สนับสนุน และให้คำปรึกษาแนะนำ การให้ความเห็นชอบ การตัดสินใจด้านงบประมาณและการเงิน และการติดตามและเร่งรัดการดำเนินการและอื่นๆ ตามที่ปลัดกระทรวง/ผู้ว่าราชการจังหวัดมอบหมาย การแต่งตั้งคณะกรรมการและคณะทำงานศูนย์บริการร่วม คณะทำงานดำเนินการจัดตั้งศูนย์บริการร่วม มีหน้าที่ดำเนินงานทั่วไปของ ตั้งแต่การกำหนดแนวทางการจัดตั้งศูนย์ วางกลยุทธ์ ออกแบบและพัฒนาบริการ พัฒนาระบบเอกสาร การชำระค่าธรรมเนียม เชื่อมโยงข้อมูลข่าวสาร และปฏิบัติงานอื่นๆ ตามที่คณะกรรมการมอบหมาย เป็นต้น 17

  18. แนวทางการเตรียมการเบื้องต้นแนวทางการเตรียมการเบื้องต้น ส่งรายชื่อเข้าร่วม คณะกรรมการ-คณะทำงาน ดำเนินการประชุมชี้แจงนโยบาย 18

  19. คณะกรรมการ ปลัดกระทรวง โครงสร้างคณะกรรมการและคณะทำงานศูนย์บริการร่วม (กระทรวง) อธิบดีกรม หัวหน้าหน่วยงาน ประธานคณะทำงาน คณะทำงาน หัวหน้างาน เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน 19

  20. คณะกรรมการ ผู้ว่าราชการจังหวัด โครงสร้างคณะกรรมการและคณะทำงานศูนย์บริการร่วม (จังหวัด) หัวหน้าสำนักงาน หัวหน้าฝ่าย ประธานคณะทำงาน คณะทำงาน หัวหน้างาน เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน 20

  21. ขั้นตอน ที่ 1 ขั้นตอน ที่ 2 ขั้นตอน ที่ 3 ขั้นตอน ที่ 4 รายละเอียดขั้นตอนการดำเนินการ จัดทำรายงานการประเมินผลความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนและผลสำเร็จโดยรวมของการดำเนินงานของศูนย์ฯ พร้อมทั้งรายงานข้อมูลที่ได้รับจากประชาชนผู้ใช้บริการ/หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ขั้นตอน ที่ 5 มีการดำเนินการเพื่อให้ศูนย์บริการร่วม จำนวนอย่างน้อย 1 แห่ง สามารถเปิดดำเนินการได้ภายในปีงบประมาณ 2549 มีความคืบหน้าในการดำเนินการจัดตั้งศูนย์บริการร่วม ตามแผนและขั้นตอน ที่กำหนดในปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 จัดทำแผนการจัดตั้งศูนย์บริการร่วมให้แล้วเสร็จและส่งให้สำนักงาน ก.พ.ร. ภายในวันที่ 1 พฤษภาคม 2549 สำรวจงานบริการทั้งหมด เพื่อคัดเลือกงานบริการสำหรับจัดทำแผนการจัดตั้งศูนย์บริการร่วม โดยสำรวจความต้องการของประชาชนผู้ใช้บริการ/หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ว่าต้องการให้มีงานบริการใดอยู่รวมกันเพื่อให้บริการ ณ ศูนย์บริการร่วม 21

  22. รายงานผลการสำรวจ การให้บริการข้อมูล-ข่าวสาร การให้บริการรับเรื่อง-ส่งต่อ การให้บริการเบ็ดเสร็จ ชื่องานบริการ ช่องทาง ชื่องานบริการ ช่องทาง ชื่องานบริการ ช่องทาง ขั้นตอนที่ 1การสำรวจงานบริการ สำรวจจากหน่วยงานให้บริการ สำรวจจากประชาชน • เกณฑ์การพิจารณาการเลือกงานบริการ • ความถี่สูง • เกี่ยวกับชีวิตประจำวันประชาชน • งานขั้นตอนไม่ซับซ้อน • ขั้นตอนงานชัดเจน • ไม่จำเป็นต้องมีเจ้าหน้าที่เฉพาะทาง • งานไม่มีผลต่อความมั่นคง 22

  23. แผนปฏิบัติการ ปี 49แผนเป้าหมาย ปี 49 แผนปฏิบัติการ 3ปีแผนเป้าหมาย 3 ปี ขั้นตอนที่2การจัดทำแผนสำหรับการจัดตั้งศูนย์บริการร่วม 23

  24. ร้อยละของความคืบหน้า ขั้นตอนที่3ความคืบหน้าในการดำเนินการจัดตั้งศูนย์บริการร่วมในปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 ร้อยละของความคืบหน้า =(462.5 × 100)/650 = 71.15% มีความคืบหน้าในการจัดตั้งศูนย์บริการร่วมตามแผนงานและขั้นตอนที่กำหนดในปีงบประมาณ 2549 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 24

  25. ชื่อศูนย์บริการร่วม สถานที่ตั้ง และ พร้อมเปิดให้บริการ • มีวันเปิดศูนย์บริการ พร้อม ภาพถ่าย • มี 3 ประเภทการให้บริการ • บริการให้ข้อมูล-ข่าวสาร • บริการรับเรื่อง-ส่งต่อ • บริการเบ็ดเสร็จ • มีจำนวนงานบริการ เทียบกับแผนงาน ตามเกณฑ์ ขั้นตอนที่4ศูนย์บริการร่วมอย่างน้อย 1 แห่งเปิดดำเนินการ ภายในปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 25

  26. รายงานการประเมินผลสำเร็จตามแผนรายงานการประเมินผลสำเร็จตามแผน ขั้นตอนที่5การประเมินผลความสำเร็จของการดำเนินงานตามแผน รายงานการประเมินผลสำเร็จโดยรวม รายงานผลสำรวจความพึงพอใจ • ยึดเกณฑ์ตาม แผนปฏิบัติการ • ยึดเกณฑ์ตาม แผนเป้าหมาย 26

  27. สิ่งที่ต้องส่งสำนักงาน ก.พ.ร. 27

  28. แบบสอบถาม 28

  29. แบบฟอร์ม 29

More Related