1 / 58

278206 Application of Software Package in Office

278206 Application of Software Package in Office. ฟอร์มและคิวรี (Form and Query). อ.ธารารัตน์ พวงสุวรรณ thararat@buu.ac.th. ฟอร์ม (Form). ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฟอร์ม.

mitch
Télécharger la présentation

278206 Application of Software Package in Office

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. 278206Application of Software Package in Office ฟอร์มและคิวรี (Form and Query) อ.ธารารัตน์ พวงสุวรรณ thararat@buu.ac.th

  2. ฟอร์ม (Form)

  3. ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฟอร์มความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฟอร์ม • ฟอรม (Form) เปนเครื่องมือในการแสดงขอมูลและติดตอกับผูใชงานสำหรับโปรแกรมประยุกต์และยังช่วยเพิ่มความสวยงามให้กับแอปพลิเคชั่นที่ได้สร้างขึ้นมาอีก • ฟอร์ม "ที่ถูกผูกไว้" คือ ฟอร์มที่เชื่อมต่อโดยตรงกับแหล่งข้อมูล เช่น ตารางหรือแบบสอบถาม และสามารถใช้เพื่อใส่ แก้ไข หรือแสดงข้อมูลจากแหล่งข้อมูลนั้น • ฟอร์ม "ที่ไม่ถูกผูกไว้" ซึ่งไม่เชื่อมโยงโดยตรงกับแหล่งข้อมูล แต่ยังคงมีปุ่มคำสั่ง ป้ายชื่อ หรือตัวควบคุมอื่นๆ ที่ต้องใช้ในการดำเนินการโปรแกรมประยุกต์ • ใน Access ฟอร์มจะมีความสามารถในการทำงานกับข้อมูลในตารางแทนมุมมองแผ่นข้อมูล (Table Datasheet) 

  4. ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฟอร์มความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฟอร์ม • องค์ประกอบในฟอร์ม อาจจะประกอบไปด้วย • Textbox คือ ช่องรับข้อมูลบรรทัดเดียว สำหรับข้อมูลที่มีลักษณะเป็นข้อความสั้น ๆ ไม่เกิน 1 บรรทัด  • Text Area คือ ช่องรับข้อมูลสำหรับข้อมูลที่มีลักษณะเป็นข้อความ หรือตัวอักษรมีความยาวมากกว่า 1 บรรทัด  • Check Box สำหรับข้อมูลที่มีลักษณะให้เลือกเช็คกี่ข้อก็ได้จากตัวเลือกทั้งหมด • Radio Button สำหรับข้อมูลที่ต้องการให้เลือกเช็คเพียงข้อใดข้อหนึ่ง • Button เป็นปุ่มสำหรับยืนยันข้อมูลภายในฟอร์ม  • Label สำหรับใส่ข้อความอธิบายกำกับเขตข้อมูล (Field) • List / Menuใช้แสดงรายการที่มีให้เลือกจากข้อมูลที่กำหนดไว้

  5. ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฟอร์มความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฟอร์ม

  6. การออกแบบฟอร์ม • การออกแบบ แบบฟอร์ม เป็นสิ่งสำคัญ เพราะ ข้อมูลในแบบฟอร์ม ถูกเปลี่ยนเป็นข้อมูลในการประมวลผล จึงเปรียบเสมือน เครื่องมือ วัดการทำงานของระบบ • แนวทางการออกแบบแบบฟอร์ม • แบบฟอร์มควรง่ายต่อการเติมข้อความ • มั่นใจว่า แบบฟอร์ม ตรงตามวัตถุประสงค์ที่ออกแบบไว้ • แบบฟอร์มต้องรับข้อมูลที่ถูกต้อง และครบถ้วน • ออกแบบฟอร์มให้น่าสนใจ

  7. การออกแบบฟอร์ม • แบบฟอร์มง่ายต่อการเติมคำ คือต้องมี • การไหลของฟอร์ม (Formflow) • มีการไหลจากบนลงล่าง จากซ้ายไปขวา • การไหลของฟอร์มเป็นไปตามธรรมเนียมปฏิบัติ • การแบ่งส่วนในแบบฟอร์ม (Sectionof a form) • คำอธิบายที่ดี (Captioning)

  8. การออกแบบฟอร์ม 2. แบบฟอร์มตรงตามวัตถุประสงค์ • ใช้เพื่อจัดหาข้อมูลต่างๆไปยังส่วนที่เกี่ยวข้อง แต่มีข้อมูลพื้นฐาน ที่ใช้ร่วมกัน เช่น แบบฟอร์มชำระด้วยบัตรเครดิต มี 3 แบบ แต่ละแบบมีรายละเอียดบางส่วนที่ต่างกัน ขณะที่บางส่วน เหมือนกัน ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ที่ใช้ 3. แบบฟอร์มต้องรับข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน • อัตราการเกิดข้อผิดพลาด เกิดขณะรวบรวมข้อมูล (DataCollection) • มีระบบตรวจสอบภายในแบบฟอร์ม

  9. การออกแบบฟอร์ม 4. การออกแบบฟอร์มให้น่าสนใจ • ใช้เทคนิคช่วยในการกรอกแบบฟอร์มให้ง่ายขึ้น • การจัดช่องว่าง • แบบตัวอักษร • สีสรรที่ใช้

  10. การออกแบบหน้าจอรับข้อมูลการออกแบบหน้าจอรับข้อมูล • หน้าจอรับข้อมูลต้องเรียบง่าย • การนำเสนอหน้าจอมีความคงที่ • การเคลื่อนไหวของหน้าจอ • หน้าจอควรดึงดูดความสนใจ

  11. ขอเสียของมุมมองแผ่นข้อมูลขอเสียของมุมมองแผ่นข้อมูล • การเพิ่ม แกไข และลบขอมูลในมุมองแผนขอมูลทําไดไมสะดวกและยังสรางความสับสน เมื่อเราต้องทำงานกับข้อมูลจำนวนหลาย ๆ ระเบียน • ไมสามารถทํางานกับขอมูลบางชนิดไดอยางมีประสิทธิภาพเทาที่ควร เชน รูปภาพ เสียง   • การทำงานในมุมมองนี้เหมาะกับผู้ดูแลระบบฐานข้อมูล แต่ไม่เหมาะกับผู้ใช้งานแอพพลิเคชั่นที่เราจะสรางขึ้น  เนื่องจากผูใชงานจะไมมีความรูเกี่ยวกับฐานขอมูล  ตาราง  และฟิลด์

  12. ประโยชน์ของฟอร์ม • - สามารถกำหนดรายละเอียดต่าง ๆ ของฟอรมใหเหมาะสมกับจุดประสงคในการใชงานได ทําใหการใชงานฟอรมทํางานกับขอมูลในฐานขอมูลทําไดดีกวามุมมองแผนขอมูลเชน  ถาไมตองการใหพนักงานทั่วไปเปดดูขอมูลเงินเดือนของพนักงานคนอื่น ๆ ได  ในฟอรมเราสามารถกํานดใหพนักงานคนนี้ดูได้เฉพาะข้อมูลเงินเดือนของตัวเอง เท่านั้น  • จัดระเบียบในการแสดงผลฟลดตาง ๆ ไดตามความตองการของเราเอง  ซึ่งเราจะใหแสดงฟลดนี้ในตำแหน่งไหนบนฟอร์มก็ได้อย่างอิสระ เช่น ฟิลด์ชื่อลูกค้าควรจะอยู่บนฟิลด์ที่อยู่ลูกค้า  • สามารถเพิ่มความสนใจใหแกการแสดงสื่อขอมูลบางอยางได  เชน  การแสดงรูปภาพชนิดสินคา  • เราสามารถควบคุมการทํางานกับขอมูลในฟอรมไดดวยแมโครหรือคําสั่งVBA  (Visual Basic  for  Applications)  

  13. ประเภทของฟอร์ม • ฟอร์มแบบคอลัมน์ (Columnar Form) หรือฟอร์มเดี่ยว ซึ่งเป็นฟอร์มที่แสดงข้อมูล หนึ่งเรดคอร์ดต่อหนึ่งหน้าของฟอร์ม • ฟอร์มแบบตาราง(Tabular Form) เป็นฟอร์มที่แสดงข้อมูลทุกเรดคอร์ด • ฟอร์มแบบแผ่นตารางข้อมูล (Datasheet Form) เป็นฟอร์มที่แสดงทุกเรดคอร์ดในลักษณะแผ่นตาราง เช่นเดียวกับตาราง (Table) • ฟอร์มแบบตารางสรุปข้อมูลหลายมิติ(Pivot Table Form) เป็นฟอร์มที่ใช้แสดงข้อมูลหลายมิติหรือหลายฟิลด์ ทำให้สามารถดูข้อมูลได้ง่ายและสะดวกยิ่งขึ้น • ฟอร์มแบบแผนภูมิสรุปข้อมูลหลายมิติ(Pivot Chart Form) เป็นฟอร์มที่ใช้แสดงข้อมูลในลักษณะแผนภูมิ ซึ่งสามารถดูข้อมูลได้หลายฟิลด์ที่ต้องการ

  14. มุมมองของฟอร์ม 1. มุมมองเค้าโครง (Layout View) เป็นมุมมองใหม่ที่เพิ่มเข้ามาใน Access 2007 ซึ่งคล้ายกับมุมมองการออกแบบตรงที่สามารถจัดรูปแบบของฟอร์มได้ในบางส่วน เช่น การกำหนดสี ปรับขนาดอักษร ปรับขนาดฟิลด์ เป็นต้น แต่แสดงข้อมูลคล้ายในมุมมองฟอร์ม 2. มุมมองการออกแบบ (Design View) เป็นมุมมองสำหรับสร้างและออกแบบฟอร์ม 3. มุมมองฟอร์ม (Form View) เป็นมุมมองในการแสดงผลข้อมูลและใช้งานฟอร์ม ซึ่งไม่สามารถแก้ไขฟอร์มได้

  15. การสร้างฟอร์ม วิธีที่ 1 การสร้างฟอร์มเดี่ยว วิธีที่ 2 การสร้างฟอร์มแยก วิธีที่ 3 การสร้างฟอร์มด้วยตัวช่วยสร้าง(Form Wizard)

  16. การสร้างฟอร์ม วิธีที่ 1 การสร้างฟอร์มเดี่ยว เป็นฟอร์มที่แสดงข้อมูล หนึ่งเรดคอร์ดต่อหนึ่งหน้าของฟอร์ม ขั้นตอน • เลือกตารางหรือแบบสอบถามที่ต้องการสร้างฟอร์ม • คลิกเลือก สร้าง (Create) • เลือกไอคอน Form • บันทึกฟอร์ม 

  17. การสร้างฟอร์ม วิธีที่ 1 การสร้างฟอร์มเดี่ยว

  18. การสร้างฟอร์ม วิธีที่ 2 การสร้างฟอร์มแยก • ฟอร์มแยก คือ การแสดงมุมมองข้อมูลสองมุมมองในเวลาเดียวกัน นั่นคือ มุมมองฟอร์ม และมุมมองแผ่นข้อมูล มุมมองทั้งสองนี้เชื่อมต่อกับแหล่งข้อมูลเดียวกันและมีการทำข้อมูลให้ตรงกัน อยู่ตลอดเวลา • การใช้ฟอร์มแยกจะทำให้ได้รับประโยชน์ของฟอร์มทั้งสองชนิดในรูปของฟอร์มเดียว ตัวอย่างเช่น สามารถใช้ส่วนแผ่นข้อมูลของฟอร์มเพื่อหาตำแหน่งระเบียนใดๆ ได้อย่างรวดเร็ว จากนั้นใช้ส่วนที่เป็นฟอร์มเพื่อดูหรือแก้ไขระเบียนนั้น

  19. การสร้างฟอร์ม วิธีที่ 2 การสร้างฟอร์มแยก

  20. การสร้างฟอร์ม วิธีที่ 2 การสร้างฟอร์มแยก ขั้นตอน • คลิกที่แท็บ สร้าง (Create) • คลิกเลือกตารางที่ต้องการสร้าง • คลิกปุ่มฟอร์มแยก (Split Form) • บันทึกตั้งชื่อฟอร์ม

  21. การสร้างฟอร์ม วิธีที่ 3 การสร้างฟอร์มด้วยตัวช่วยสร้างฟอร์ม(Form Wizard) ขั้นตอน • คลิกที่แท็บ สร้าง (Create) • คลิกไอคอนคำสั่ง ฟอร์มเพิ่มเติม (More Form) เลือกตัวช่วยสร้างฟอร์ม (Form Wizard)

  22. การสร้างฟอร์ม วิธีที่ 3 การสร้างฟอร์มด้วยตัวช่วยสร้างฟอร์ม(Form Wizard) ขั้นตอน 3.คลิกเลือกตาราง 4. เลือกฟิลด์ 5. ถัดไป (Next)

  23. การสร้างฟอร์ม วิธีที่ 3 การสร้างฟอร์มด้วยตัวช่วยสร้างฟอร์ม(Form Wizard) ขั้นตอน 6. เลือกแบบคอลัมน์ (Columnar) 7. ถัดไป (Next)

  24. การสร้างฟอร์ม วิธีที่ 3 การสร้างฟอร์มด้วยตัวช่วยสร้างฟอร์ม(Form Wizard) ขั้นตอน 8. เลือกรูปแบบ 9. ถัดไป (Next) 10. ตั้งชื่อฟอร์ม 11. คลิกปุ่ม เสร็จสิ้น (Finish)

  25. การสร้างฟอร์ม วิธีที่ 3 การสร้างฟอร์มด้วยตัวช่วยสร้างฟอร์ม(Form Wizard) ขั้นตอน

  26. การสร้างฟอร์ม วิธีที่ 3 การสร้างฟอร์มด้วยตัวช่วยสร้างฟอร์ม(Form Wizard)

  27. คิวรี (Query)

  28. Query • แบบสอบถาม (Query)หมายถึง เครื่องมือในการเรียกดู ปรับปรุง เปลี่ยนแปลง และวิเคราะห์ข้อมูล ตามความต้องการของผู้ใช้ • ใช้ในการกระทำข้อมูลด้วยคำสั่งต่างๆ เช่น • การสร้างตารางข้อมูลใหม่ (Create) • การปรับปรุงข้อมูล (Update) • การใส่ข้อมูลเพิ่ม (Insert) • การลบข้อมูล (Delete) • การใช้ Function อื่นๆ

  29. มุมมองการสร้าง Query • Design View • การออกแบบ Query ตามความต้องการของผู้ใช้ • สามารถเลือกข้อมูลจากตารางต่างๆ ว่าต้องการ Field ใด • สามารถกำหนด / เงื่อนไขในการเลือกข้อมูลที่จะแสดงได้

  30. มุมมองการสร้าง Query • Datasheet View • เป็นส่วนที่ใช้ในการแสดงข้อมูลที่สอดคล้องกับเงื่อนไขที่ Field ที่ได้กำหนดไว้ใน Design View • SQL View • เป็นส่วนที่ใช้แสดงคำสั่งในภาษา SQL โดยจะถูกแปลงมาจากการเลือกของผู้ใช้ในส่วนของ Design View

  31. การสร้าง Query • โปรแกรม MicrosoftAccess มีเครื่องมือที่ช่วยให้เราสามารถสอบถามหรือเรียกดูข้อมูลตามเงื่อนไขที่เรากำหนด เพื่อให้การทำงานนั้นตรงตามที่เราต้องการให้ได้มากที่สุด • การสร้าง query มีหลายวิธี • QueryWizardสร้าง query โดยใช้ตัวช่วย ทำตามขั้นตอน ตาม dialogbox ไปเรื่อย ๆ • Designviewเป็นการสร้าง query โดยเราเป็นผู้กำหนดเงื่อนไข เพื่อให้ได้ผลลัพธ์หรือแสดงข้อมูลตามที่เราต้องการ

  32. QueryWizard • เป็นวิธีสร้างแบบสอบถามที่ง่ายและไม่ซับซ้อน • เครื่องมือที่มีให้ผู้ใช้ QueryWizard ใช้งานมี 4 รูปแบบ • SimpleQueryWizard • CrosstabQueryWizard • FindDuplicatesQueryWizard • FindUnmatchedQueryWizard

  33. ตัวช่วยการสร้างแบบตัวช่วย (Simple Query Wizard) • เป็น Query อย่างง่ายที่เลือกแสดงข้อมูลภายใต้เงื่อนไขที่ไม่ซับซ้อนมากนัก • เช่น • การเรียงลำดับข้อมูล • การแสดงค่าสรุปข้อมูล • การนับจำนวนข้อมูลเป็นต้น

  34. ตัวช่วยการสร้างแบบแท็บไขว้ (Crosstab Query Wizard) • เป็นตารางวิเคราะห์ข้อมูล โดยการนำข้อมูลต่างๆ ที่อยู่ในลักษณะแถวมาจัดวางในรูปแบบของคอลัมน์ • เพื่อแจกแจงข้อมูลและกำหนดผลรวม • ไม่สามารถกำหนดแก้ไข เปลี่ยนแปลงรูปแบบผมรวมได้ โดยตรง

  35. ตัวช่วยการสร้างแบบค้นหารายการที่ซ้ำ(Find Duplicates Query Wizard) • เป็น Query ที่ใช้สำหรับเลือกข้อมูลใน Record ต่างๆ ที่มี Field ซ้ำๆ กันออกมาแสดง • เนื่องจากบาง Table อาจมีการเก็บค่าข้อมูลในบาง Field ที่ซ้ำกัน • บางครั้งเป็นฟิลด์ที่ผู้ใช้ต้องการเรียกดู และต้องการดูข้อมูลข้างเคียงที่เกี่ยวข้องด้วย

  36. ตัวช่วยสร้างแบบสอบถามการค้นหาข้อมูลที่ไม่เข้าคู่กัน (Find Unmatched Query Wizard) • เป็น Query ที่ใช้ในการสืบค้นข้อมูลใน Table ที่มีความสัมพันธ์กัน • ใช้ในกรณีที่ต้องการค้นหาว่ามีข้อมูลตัวใดบ้างที่ไม่ปรากฏในอีกTable หนึ่ง

  37. Designview • เป็นการสร้าง query ด้วยมุมมองนักออกแบบ • เราเป็นผู้กำหนดรายละเอียดเอง • เลือก fieldเอง และกำหนดเงื่อนไข เพื่อแสดงผลลัพธ์หรือคำตอบตามที่ต้องการ

  38. ขั้นตอนการออกแบบแบบสอบถามด้วย Design View • เลือกตาราง

  39. ขั้นตอนการออกแบบแบบสอบถามด้วย Design View 2. กำหนดรายละเอียดการกำหนด Query

  40. ส่วนแสดงรายละเอียดการกำหนด Query • Field • Table • Sort • Show • Criteria • Or

  41. ส่วนแสดงรายละเอียดการกำหนด Query • Field • ใช้กำหนด Field ที่ต้องการสร้าง Query • Table • ใช้กำหนด Table ที่ใช้ใน การแสดงรายชื่อ Field ที่ต้องการสร้าง Query • Sort • ใช้สำหรับกำหนดการจัดเรียงลำดับของข้อมูลของ Field ต่างๆ (มาก > น้อย หรือ น้อย > มาก)

  42. ส่วนแสดงรายละเอียดการกำหนด Query • Show • ใช้กำหนดการแสดงผลของ Field ต่างๆ จากการสืบค้น Query • Criteria • ใช้กำหนดเงื่อนไขต่างๆ ในการสืบค้นข้อมูล • Or • ใช้กำหนดเงื่อนไขที่สองหรือเงื่อนไข(Criteria) อื่นๆ

  43. 3. สั่ง RUN

  44. 4. สั่ง SAVE

  45. การกำหนดเงื่อนไขให้กับ Query • โปรแกรม MS-Access สามารถกำหนดเงื่อนไขเพื่อใช้ในการค้นหาข้อมูลได้ • โปรแกรมสามารถ • กำหนดเงื่อนไขในการค้นหาข้อมูลจาก Field ใด Field หนึ่ง • จัดเรียงผลการสืบค้นข้อมูลตามลำดับอักษร • รวมข้อมูลจาก Field ต่างๆ เข้าไว้ใน Field ใหม่ที่สร้างขึ้น

  46. เงื่อนไขในการสืบค้นข้อมูล (Criteria) • MS-Access แบ่งกลุ่มเครื่องหมายที่ใช้ในการกำหนดเงื่อนไขการสืบค้น ดังนี้ • เครื่องหมายที่ใช้ในการเปรียบเทียบ • เครื่องหมายที่ใช้ในการคำนวณ • เครื่องหมายที่ใช้ในการเชื่อมข้อความ • เครื่องหมายทางตรรกะ • เครื่องหมายที่ใช้ในการเลือกกลุ่มข้อมูล • เครื่องหมายที่ใช้ในการจัดการกับค่าว่าง

  47. เครื่องหมายที่ใช้ในการเปรียบเทียบ(Comparison Operators)

  48. การใช้คำสั่งการค้นหาข้อมูลการใช้คำสั่งการค้นหาข้อมูล • BETWEENมีประโยชน์ในการค้นหาข้อมูลในช่วงของข้อมูล เช่น Between 10 And 20 จะมีความหมาย เช่นเดียวกับ >=10 and <=20 • INมีประโยชน์ในการค้นหาข้อมูลที่มีฟิลด์นั้นมีค่าตรงกับข้อมูลในรายการ เช่น In(“กรุงเทพ”, “อุดรธานี”, “มหาสารคาม”) จะมีความหมายเดียวกันกับ “กรุงเทพ”or “อุดรธานี”or “มหาสารคาม” • LIKE มีประโยชน์ในการค้นหาฟิลด์ที่มีแบบข้อมูลเป็นข้อความ (Text)

  49. เครื่องหมายที่ใช้ในการเลือกกลุ่มข้อมูล(Group & Range Operators)

  50. Number Text เครื่องหมายที่ใช้ในการเลือกกลุ่มข้อมูล(Group & Range Operators) Date/Time

More Related