1 / 58

278206 Application of Software Package in Office

278206 Application of Software Package in Office. บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับซอฟต์แวร์. อ.ธารารัตน์ พวงสุวรรณ thararat@buu.ac.th. ความหมายของซอฟต์แวร์. ซอฟต์แวร์ คือ โปรแกรมหรือชุดคำสั่งที่ควบคุมให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ

paloma
Télécharger la présentation

278206 Application of Software Package in Office

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. 278206Application of Software Package in Office บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับซอฟต์แวร์ อ.ธารารัตน์ พวงสุวรรณ thararat@buu.ac.th

  2. ความหมายของซอฟต์แวร์ • ซอฟต์แวร์ คือ โปรแกรมหรือชุดคำสั่งที่ควบคุมให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ • ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) • ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)

  3. ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) • เกี่ยวข้องกับการควบคุมการทำงานของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ • แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ • ระบบปฎิบัติการ (operatingsystems) • โปรแกรมอรรถประโยชน์ (utilityprograms)

  4. ระบบปฏิบัติการ (Operating Systems) • ใช้สำหรับการควบคุมและประสานงานอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ทั้งหมดโดยเฉพาะกับส่วนนำเข้าและส่งออกผลลัพธ์ (I/O Device) • บางครั้งเรียกว่า แพลตฟอร์ม (platform) • คอมพิวเตอร์จะทำงานได้จำเป็นต้องมีระบบปฏิบัติการติดตั้งอยู่ในเครื่องเสียก่อน

  5. คุณสมบัติในการทำงาน • การทำงานแบบ Multi-Tasking

  6. คุณสมบัติในการทำงาน • การทำงานแบบ Multi-User

  7. ประเภทของระบบปฏิบัติการประเภทของระบบปฏิบัติการ • อาจแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท คือ • ระบบปฏิบัติการแบบเดี่ยว (stand-aloneOS) • ระบบปฏิบัติการแบบเครือข่าย (networkOS) • ระบบปฏิบัติการแบบฝัง (embededOS)

  8. ระบบปฏิบัติการแบบเดี่ยว (stand-aloneOS) • มุ่งเน้นและให้บริการสำหรับผู้ใช้เพียงคนเดียว (เจ้าของเครื่องนั้นๆ) • นิยมใช้สำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ประมวลผลและทำงานแบบทั่วไป เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ตามบ้านหรือสำนักงาน • รองรับการทำงานบางอย่าง เช่น พิมพ์รายงาน ดูหนัง ฟังเพลงหรือเชื่อมต่อเข้ากับอินเทอร์เน็ต เป็นต้น • ปัจจุบันสามารถเป็นเครื่องลูกข่ายเพื่อขอรับบริการจากเครื่องแม่ข่ายได้ด้วย

  9. ระบบปฏิบัติการแบบเครือข่าย (networkOS) • มุ่งเน้นและให้บริการสำหรับผู้ใช้หลายๆคน (multi-user) • นิยมใช้สำหรับงานให้บริการและประมวลผลข้อมูลสำหรับเครือข่ายโดยเฉพาะ • มักพบเห็นได้กับการนำไปใช้ในองค์กรธุรกิจทั่วไป • เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ติดตั้งระบบปฎิบัติการเหล่านี้จะเรียกว่าเครื่อง server (เครื่องแม่ข่าย)

  10. ระบบปฏิบัติการแบบฝัง (embededOS) • พบเห็นได้ในอุปกรณ์คอมพิวเตอร์พกพาขนาดเล็ก เช่น พีดีเอหรือ smartphone บางรุ่น • สนับสนุนการทำงานแบบเคลื่อนที่ได้เป็นอย่างดี • บางระบบมีคุณสมบัติที่ใกล้เคียงกับระบบปฎิบัติการแบบเดี่ยวเช่น ดูหนัง ฟังเพลงหรือเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้

  11. ระบบปฏิบัติการแบบเดี่ยว (stand-aloneOS) • DOS (DiskOperatingSystem) • พัฒนาขึ้นเมื่อประมาณปี 1980 • ใช้สำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลเป็นหลัก • ป้อนชุดคำสั่งที่เรียกว่าcommand-line

  12. ระบบปฏิบัติการแบบเดี่ยว (stand-aloneOS) (ต่อ) • Windows • ส่วนประสานงานกับผู้ใช้แบบ GUI (GraphicalUserInterface) • ใช้งานได้ง่าย ผู้ใช้ไม่ต้องจดจำคำสั่งให้ยุ่งยาก • แบ่งงานออกเป็นส่วนๆที่เรียกว่า หน้าต่างงาน หรือ Windows

  13. ระบบปฏิบัติการแบบเดี่ยว (stand-aloneOS) (ต่อ) • Unix • ผู้ใช้กับต้องมีความรู้ทางด้านคอมพิวเตอร์พอสมควร • รองรับกับการทำงานของผู้ใช้ได้หลายๆคนพร้อมกัน (multi-user) • มีการพัฒนาระบบที่สนับสนุนให้ใช้งานได้ทั้งแบบเดี่ยวและแบบเครือข่าย

  14. ระบบปฏิบัติการแบบเดี่ยว (stand-aloneOS) (ต่อ) • MacOS X • ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ผลิตขึ้นโดยบริษัทแอปเปิ้ลเท่านั้น • เหมาะสมกับการใช้งานประเภทสิ่งพิมพ์เป็นหลัก • มีระบบสนับสนุนแบบ GUI เช่นเดียวกับระบบปฏิบัติการWindows

  15. ระบบปฏิบัติการแบบเดี่ยว (stand-aloneOS) (ต่อ) • Linux • พัฒนามาจากระบบ Unix • ใช้โค้ดที่เขียนประเภทโอเพ่นซอร์ส(opensource) • มีการผลิตออกมาหลายชื่อเรียกแตกต่างกันไป • มีทั้งแบบที่ใช้สำหรับงานแบบเดี่ยวตามบ้านและแบบที่ใช้สำหรับงานควบคุมเครือข่ายเช่นเดียวกับระบบปฏิบัติการแบบ Unix

  16. ระบบปฏิบัติการแบบเครือข่าย (NetworkOS) • WindowsServer • ออกแบบมาเพื่อใช้งานกับระบบเครือข่ายโดยเฉพาะ เดิมมีชื่อว่า WindowsNT • รองรับกับการใช้งานในระดับองค์กรขนาดเล็กและขนาดกลาง พัฒนาโดยบริษัทไมโครซอฟท์ • เหมาะกับการติดตั้งและใช้งานกับเครื่องประเภทแม่ข่าย (server)

  17. ระบบปฏิบัติการแบบเครือข่าย (NetworkOS) (ต่อ) • OS/2 WarpServer • พัฒนาโดยบริษัทไอบีเอ็ม • ใช้เป็นระบบเพื่อควบคุมเครื่องแม่ข่ายหรือ server เช่นเดียวกัน

  18. ระบบปฏิบัติการแบบเครือข่าย (NetworkOS) (ต่อ) • Solaris • ทำงานคล้ายกับระบบปฏิบัติการแบบ Unix (Unixcompatible) • ผลิตโดยบริษัทซัน ไมโครซิสเต็มส์

  19. ระบบปฏิบัติการแบบฝัง (EmbeddedOS) • PocketPCOS (WindowsCE เดิม) • ย่อขนาดการทำงานของ Windows ให้มีขนาดที่เล็กลง (scaled-downversion) • รองรับการทำงานแบบ multi-tasking ได้ • มักติดตั้งบนเครื่อง PocketPC หรืออาจพบเห็นในมือถือประเภท smartphone บางรุ่น

  20. ระบบปฏิบัติการแบบฝัง (EmbeddedOS) (ต่อ) • PalmOS • พัฒนาขึ้นมาก่อน PocketPCOS • ลักษณะงานที่ใช้จะคล้ายๆกัน • ใช้กับเครื่องที่ผลิตขึ้นโดยบริษัทปาล์มและ • บางค่ายเท่านั้น เช่น Visor (ของค่าย Handspring) และ CLIE (ของค่าย Sony)

  21. ระบบปฏิบัติการแบบฝัง (EmbeddedOS) (ต่อ) • SymbianOS • รองรับกับเทคโนโลยีการสื่อสารแบบไร้สาย (wireless) โดยเฉพาะ • นิยมใช้กับโทรศัพท์มือถือประเภท smartphone • สนับสนุนการทำงานแบบหลายๆงานในเวลาเดียวกัน (multi-tasking)

  22. โปรแกรมอรรถประโยชน์หรือโปรแกรมยูทิลิตี้ (UtilityProgram) • ส่วนใหญ่จะมีขนาดของไฟล์ที่เล็กกว่าระบบปฏิบัติการ • มีคุณสมบัติในการใช้งานค่อนข้างหลากหลายหรือใช้งานได้แบบอรรถประโยชน์ • นิยมเรียกสั้นๆว่า ยูทิลิตี้ (utility) • อาจแบ่งออกได้เป็น 2 ชนิดคือ • ยูทิลิตี้สำหรับระบบปฏิบัติการ (OSutilityprograms) • ยูทิลิตี้อื่นๆ (stand-aloneutilityprograms)

  23. ยูทิลิตี้สำหรับระบบปฏิบัติการ(OSUtilityPrograms)ยูทิลิตี้สำหรับระบบปฏิบัติการ(OSUtilityPrograms) • ตัวอย่างของยูทิลิตี้ที่ทำงานด้านต่างๆ • ประเภทการจัดการไฟล์ (FileManager) • ประเภทการลบทิ้งโปรแกรม (Uninstaller) • ประเภทการสแกนดิสก์ (DiskScanner) • ประเภทการจัดเรียงพื้นที่เก็บข้อมูล (DiskDefragmenter) • ประเภทรักษาหน้าจอ (ScreenSaver)

  24. ยูทิลิตี้สำหรับระบบปฏิบัติการ(OSUtilityPrograms) (ต่อ) • ประเภทการจัดการไฟล์ (FileManager) • มีหน้าที่หลักในการจัดการเกี่ยวกับไฟล์ต่างๆเช่น การคัดลอก การเปลี่ยนชื่อ การลบและการย้ายไฟล์ เป็นต้น • ระบบปฏิบัติการ Windows รุ่นใหม่ๆยังได้เพิ่มคุณสมบัติที่เรียกว่า imageviewer เพื่อนำมาปรับใช้กับไฟล์รูปภาพได้

  25. ยูทิลิตี้สำหรับระบบปฏิบัติการ(OSUtilityPrograms) (ต่อ) • ประเภทการลบทิ้งโปรแกรม (Uninstaller) • ลบหรือกำจัดโปรแกรมที่ไม่ได้ใช้ออกไปจากระบบ • ทำให้พื้นที่เก็บข้อมูลมีเหลือเพิ่มมากขึ้น • ทำงานได้อย่างง่ายดาย

  26. ยูทิลิตี้สำหรับระบบปฏิบัติการ(OSUtilityPrograms) (ต่อ) • ประเภทการสแกนดิสก์ (DiskScanner) • สแกนหาข้อผิดพลาดต่างๆพร้อมทั้งหาทางแก้ปัญหาในดิสก์ • ประยุกต์ใช้เพื่อสแกนหาไฟล์ที่ไม่ต้องการใช้งาน (unnecessaryfiles) เมื่อใช้คอมพิวเตอร์ไประยะหนึ่งได้

  27. ยูทิลิตี้สำหรับระบบปฏิบัติการ(OSUtilityPrograms) (ต่อ) • ประเภทการจัดเรียงพื้นที่เก็บข้อมูล (DiskDefragmenter) • ช่วยในการจัดเรียงไฟล์ข้อมูลให้เป็นระเบียบ และเป็นกลุ่มเป็นก้อน • เมื่อต้องการใช้งานไฟล์ข้อมูลในภายหลังจะเข้าถึงข้อมูลได้ง่าย และรวดเร็วกว่าเดิม

  28. ยูทิลิตี้สำหรับระบบปฏิบัติการ(OSUtilityPrograms) (ต่อ) • ประเภทรักษาหน้าจอ (ScreenSaver) • ช่วยถนอมอายุการใช้งานของจอคอมพิวเตอร์ให้ยาวนานมากขึ้น • ใช้ภาพเคลื่อนไหวไปมา และเลือกลวดลายหรือภาพได้ด้วยตนเอง • อาจพบเห็นกับการตั้งค่ารหัสผ่านของโปรแกรมรักษาหน้าจอเอาไว้ได้

  29. ยูทิลิตี้อื่นๆ (Stand-AloneUtilityPrograms) • เป็นยูทิลิตี้ที่ทำงานด้านอื่นโดยเฉพาะไม่เกี่ยวกับระบบปฎิบัติการ • มักทำงานเฉพาะอย่าง หรือด้านใดด้านหนึ่ง • มีทั้งที่แจกให้ใช้ฟรีและเสียเงิน • มีให้เลือกใช้เยอะและหลากหลายมาก • ใช้ได้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กถึงขนาดใหญ่

  30. ยูทิลิตี้อื่นๆ (Stand-AloneUtilityPrograms) (ต่อ) • โปรแกรมป้องกันไวรัส (AntiVirusProgram) • ติดตั้งไว้เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับโปรแกรมประสงค์ร้าย • ต้องอัพเดทข้อมูลใหม่อยู่เสมอเพื่อให้รู้จักและหาทางยั้บยั้งไวรัสใหม่ๆ ที่เกิดขึ้นทุกวัน • ควรติดตั้งไว้ในเครื่องทุกเครื่อง

  31. ยูทิลิตี้อื่นๆ (Stand-AloneUtilityPrograms) (ต่อ) • โปรแกรมไฟร์วอลล์ (PersonalFirewall) • ป้องกันการบุกรุกจากผู้ไม่ประสงค์ดี • สามารถติดตามและตรวจสอบรายการต่างๆของผู้บุกรุกได้ • เหมาะกับเครื่องที่ต้องการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลเป็นอย่างมาก

  32. ยูทิลิตี้อื่นๆ (Stand-AloneUtilityPrograms) (ต่อ) • โปรแกรมบีบอัดไฟล์ (FileCompressionUtility) • เป็นโปรแกรมที่ทำหน้าที่บีบอัดไฟล์ให้มีขนาดที่เล็กลง • ไฟล์ที่ได้จากการบีบอัดไฟล์บางครั้งนิยมเรียกว่า ซิปไฟล์ (zipfiles) • ยูทิลิตี้ที่นิยมใช้และรู้จักกันเป็นอย่างดี เช่น PKZip, WinZip, WinRaR, 7-zip เป็นต้น

  33. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (ApplicationSoftware) • พัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้เฉพาะด้านเท่านั้น • แบ่งออกตามเกณฑ์ที่ใช้แบ่งได้ดังนี้ • แบ่งตามลักษณะการผลิต ได้ 2 ประเภทคือ • ซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นใช้เองโดยเฉพาะ • ซอฟต์แวร์ที่หาซื้อได้โดยทั่วไป • แบ่งตามกลุ่มการใช้งาน ได้ 3 กลุ่มใหญ่คือ • กลุ่มการใช้งานทางด้านธุรกิจ • กลุ่มการใช้งานทางด้านกราฟิกและมัลติมีเดีย • กลุ่มใช้งานบนเว็บและการติดต่อสื่อสาร

  34. ซอฟต์แวร์ที่หาซื้อได้โดยทั่วไป(Off-the-shelfSoftware)ซอฟต์แวร์ที่หาซื้อได้โดยทั่วไป(Off-the-shelfSoftware) • มีวางขายตามท้องตลาดทั่วไป (off-the-shelf) โดยบรรจุหีบห่ออย่างดีและสามารถนำไปติดตั้งและใช้งานได้ทันที • บางครั้งนิยมเรียกว่า โปรแกรมสำเร็จรูป (packagesoftware) • อาจแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ • โปรแกรมเฉพาะ (customizedpackage) • โปรแกรมมาตรฐาน (standardpackage)

  35. ข้อดีข้อเสียของซอฟต์แวร์ที่พัฒนาเองข้อดีข้อเสียของซอฟต์แวร์ที่พัฒนาเอง

  36. ข้อดีของซอฟต์แวร์ที่หาซื้อได้โดยทั่วไปข้อดีของซอฟต์แวร์ที่หาซื้อได้โดยทั่วไป

  37. ประเภทของซอฟต์แวร์ประยุกต์ประเภทของซอฟต์แวร์ประยุกต์ • แบ่งตามกลุ่มการใช้งานได้ 3 กลุ่มดังนี้ • กลุ่มการใช้งานทางด้านธุรกิจ (business) • กลุ่มการใช้งานทางด้านกราฟิกและมัลติมีเดีย (graphicandmultimedia) • กลุ่มสำหรับการใช้งานบนเว็บและการติดต่อสื่อสาร (webandcommunications)

  38. ซอฟต์แวร์กลุ่มการใช้งานด้านธุรกิจซอฟต์แวร์กลุ่มการใช้งานด้านธุรกิจ • มุ่งเน้นให้ใช้งานเพื่อประโยชน์สำหรับงานทางด้านธุรกิจโดยเฉพาะ • ทำให้การทำงานมีประสิทธิภาพดีขึ้นมากกว่าการใช้แรงงานคน • ตัวอย่างงาน เช่น ใช้สำหรับการจัดพิมพ์รายงานเอกสาร นำเสนองาน รวมถึงการบันทึกนัดหมายต่างๆ

  39. ซอฟต์แวร์กลุ่มการใช้งานด้านธุรกิจ (ต่อ) • อาจแบ่งซอฟต์แวร์กลุ่มนี้ออกเป็นประเภท ได้ดังนี้ • ซอฟต์แวร์ประมวลผลคำ (Wordprocessing) เช่น MicrosoftWord, SunStarOfficeWriter • ซอฟต์แวร์ตารางคำนวณ (Spreadsheet) เช่น MicrosoftExcel, SunStarOfficeCalc • ซอฟต์แวร์ฐานข้อมูล (Database) เช่น MicrosoftAccess, Oracle, MySQL • ซอฟต์แวร์นำเสนองาน (Presentation) เช่น MicrosoftPowerPoint, SunStarOfficeImpress

  40. ซอฟต์แวร์กลุ่มการใช้งานด้านธุรกิจ (ต่อ) • ซอฟต์แวร์สำหรับพีดีเอ (PDASoftware) อาจเรียกว่า PIM (PersonalInformationManager) ทำงานร่วมกับเครื่องพีซีได้โดยการถ่ายโอนข้อมูล (synchronization) เช่น MicrosoftPocketOutlook, MicrosoftPocketExcel, QuickNotes • ซอฟต์แวร์แบบกลุ่ม (SoftwareSuite) เช่น MicrosoftOffice, SunStarOffice, PladaoOffice • ซอฟต์แวร์สำหรับจัดการโครงการ (Projectmanagement) ใช้กับการวิเคราะห์และวางแผนโครงการเป็นหลัก เช่น MicrosoftProject, MacromediaSitespring • ซอฟต์แวร์สำหรับงานบัญชี (Accounting) เช่น IntuitQuickBooks, PeachtreeCompleteAccounting

  41. ซอฟต์แวร์กลุ่มการใช้งานด้านกราฟิกและมัลติมีเดียซอฟต์แวร์กลุ่มการใช้งานด้านกราฟิกและมัลติมีเดีย • เพื่อช่วยสำหรับจัดการงานด้านกราฟิกและมัลติมีเดียให้ง่ายขึ้น • มีความสามารถเสมือนเป็นผู้ช่วยในการออกแบบงาน • มีความสามารถหลากหลาย เช่น ตกแต่งภาพ วาดรูป ปรับเสียง ตัดต่อภาพเคลื่อนไหวรวมถึงการสร้างและออกแบบพัฒนาเว็บไซต์

  42. ซอฟต์แวร์กลุ่มการใช้งานด้านกราฟิกและมัลติมีเดีย (ต่อ) • อาจแบ่งซอฟต์แวร์กลุ่มนี้ออกเป็นประเภท ได้ดังนี้ • ซอฟต์แวร์สำหรับงานออกแบบ (CAD - Computer-aideddesign) • ซอฟต์แวร์สำหรับสิ่งพิมพ์ (Desktoppublishing) • ซอฟต์แวร์สำหรับตกแต่งภาพ (Paint/imageediting) • ซอฟต์แวร์สำหรับการตัดต่อวิดีโอและเสียง (Videoandaudioediting) • ซอฟต์แวร์สำหรับสร้างสื่อมัลติมีเดีย (Multimediaauthoring) • ซอฟต์แวร์สำหรับสร้างเว็บ (Webpageauthoring)

  43. ซอฟต์แวร์สำหรับงานออกแบบ(CAD - Computer-aideddesign) • ช่วยสำหรับการออกแบบแผนผัง การออกแบบและตกแต่งบ้าน รวมถึงการจัดองค์ประกอบอื่นๆ • เหมาะสำหรับงานด้านวิศวกรรมสถาปัตยกรรม รวมถึงงานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีบางประเภท • ตัวอย่างโปรแกรม เช่น AutodeskAutoCAD, MicrosoftVisioProfessional

  44. ซอฟต์แวร์สำหรับสิ่งพิมพ์ (Desktoppublishing) • สำหรับการจัดการกับสิ่งพิมพ์ เช่นหนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์ โบร์ชัวร์แผ่นพับ โลโก้ • เหมาะกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับสื่อสิ่งพิมพ์ เช่น สำนักพิมพ์ โรงพิมพ์หรือบริษัทออกแบบกราฟิก • ตัวอย่างโปรแกรม เช่น AdobeInDesign, AdobePageMaker, CorelVENTURA, QuarkXPress

  45. ซอฟต์แวร์สำหรับตกแต่งภาพ (Paint/imageediting) • สำหรับการสร้างและจัดการรูปภาพ การจัดองค์ประกอบแสง-สีของภาพ รวมถึงการวาดภาพลายเส้น • เหมาะสำหรับออกแบบงานกราฟิก เช่น งานพาณิชย์ศิลป์ งานออกแบบและตกแต่งสินค้า • ตัวอย่างโปรแกรม เช่น AdobeIllustrator, AdobePhotoshop, CorelDRAW, MacromediaFreeHand

  46. ซอฟต์แวร์สำหรับการตัดต่อวิดีโอและเสียง(Videoandaudioediting)ซอฟต์แวร์สำหรับการตัดต่อวิดีโอและเสียง(Videoandaudioediting) • ใช้จัดการกับข้อมูลเสียง เช่น ผสมเสียงแก้ไขเสียง สร้างเอฟเฟ็คต์หรือเสียงใหม่ๆ • เหมาะสำหรับใช้กับงานวงการตัดต่อภาพยนตร์ โทรทัศน์ สตูดิโอบันทึกเสียงหรืองานบนอินเทอร์เน็ตบางชนิด • ตัวอย่างโปรแกรม เช่น AdobePremiere, CakewalkSONAR, PinnacleStudioDV

  47. ซอฟต์แวร์สำหรับสร้างสื่อมัลติมีเดีย(Multimedia authoring) • ซอฟต์แวร์ที่เป็นการผนวกเอาสื่อหลายชนิด (multimedia) มาประกอบกันเพื่อให้การนำเสนองานมีความน่าสนใจ • อาจสร้างชิ้นงานประเภทสื่อปฎิสัมพันธ์กับผู้ใช้ (interractive) เช่น บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนได้ • ตัวอย่างโปรแกรมเช่น ToolbookInstructor, MacromediaAuthorware, MacromediaDirectorShockwaveStudio

  48. ซอฟต์แวร์สำหรับสร้างเว็บ (Webpageauthoring) • สามารถจัดการและออกแบบเว็บไซต์ได้โดยง่าย • สามารถแทรกข้อมูลประเภทเสียง ข้อความรูปภาพเคลื่อนไหว เพื่อนำเสนอบนเว็บไซต์ ได้เป็นอย่างดี • ตัวอย่างโปรแกรม เช่น AdobeGoLive, MacromediaDreamweaver, MacromediaFireworks, MacromediaFlash, MicrosoftFrontPage

  49. ซอฟต์แวร์การใช้งานบนเว็บและการสื่อสารซอฟต์แวร์การใช้งานบนเว็บและการสื่อสาร • เน้นเฉพาะการใช้งานด้านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต • ส่วนใหญ่ใช้สำหรับการติดต่อสื่อสาร แลกเปลี่ยนข้อมูล • เกิดขึ้นมาเป็นจำนวนมาก และพัฒนาออกมาหลายเวอร์ชั่น หลายโปรแกรม เนื่องจากการขยายตัวของการใช้งานที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว

  50. ซอฟต์แวร์การใช้งานบนเว็บและการสื่อสาร (ต่อ) • กลุ่มของโปรแกรมประเภทนี้ เช่น • ซอฟต์แวร์สำหรับจัดการอีเมล์ (ElectronicmailSoftware) เช่น MicrosoftOutlook • ซอฟต์แวร์สำหรับท่องเว็บ (Webbrowser) เช่น MicrosoftInternetExplorer, NestcapeComunication, Opera • ซอฟต์แวร์สำหรับจัดประชุมทางไกล (VideoConference) เช่น MicrosoftNetmeeting • ซอฟต์แวร์สำหรับถ่ายโอนไฟล์ (FileTransfer) เช่น Cute_FTP, WS_FTP • ซอฟต์แวร์ประเภทส่งข้อความด่วน (InstantMessaging) เช่น ICQ , MSNMessenger,YahooMessenger • ซอฟต์แวร์สำหรับสนทนาบนอินเทอร์เน็ต (InternetRelayChat) เช่น PIRCH, MIRC

More Related