1 / 31

หลักเกณฑ์ และการประเมินผล หมู่บ้านจัดการสุขภาพ ปี 2553

หลักเกณฑ์ และการประเมินผล หมู่บ้านจัดการสุขภาพ ปี 2553. คำนิยาม : หมู่บ้านจัดการสุขภาพ

Télécharger la présentation

หลักเกณฑ์ และการประเมินผล หมู่บ้านจัดการสุขภาพ ปี 2553

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. หลักเกณฑ์ และการประเมินผลหมู่บ้านจัดการสุขภาพ ปี 2553 คำนิยาม : หมู่บ้านจัดการสุขภาพ การจัดการด้านสุขภาพ หมายถึง การที่ชุมชน / หมู่บ้าน มีกระบวนการร่วมกันในการวางแผนด้านสุขภาพ มีการจัดการงบประมาณเพื่อใช้ในการพัฒนาด้านสุขภาพ มีการจัดกิจกรรมด้านสุขภาพ และมีการสรุปประเมินผลการจัดการด้านสุขภาพ

  2. เป้าหมาย : ชุมชน / หมู่บ้าน หมายถึง หมู่บ้านในเขต อบต. และ เทศบาลตำบล จำนวน : ร้อยละ 84 ของหมู่บ้าน / ชุมชน ทั้งหมด

  3. ตัวชี้วัดการผ่านเกณฑ์การประเมินตัวชี้วัดการผ่านเกณฑ์การประเมิน คือ หมู่บ้านที่มีการจัดการด้านสุขภาพใน 5 ด้าน (คะแนนเต็ม 6 คะแนน) ดังนี้ การมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการสุขภาพชุมชน (2 คะแนน) ดังนี้ 1.1 การจัดเวทีการประชุมขององค์กร อสม. 1.2 การร่วมขับเคลื่อนการพัฒนาสุขภาพในชุมชน 1.3 การกำหนดกติกาของชุมชน หรือ กฎข้อบังคับของ หมู่บ้าน/ตำบล เพื่อแก้ไขปัญหาของชุมชน

  4. ตัวชี้วัดการผ่านเกณฑ์การประเมิน (ต่อ) 2.มีการจัดทำแผนด้านสุขภาพ โดยชุมชนมีส่วนร่วม(1 คะแนน ) 3.มีการจัดการงบประมาณเพื่อใช้ในการพัฒนาสุขภาพ (1 คะแนน ) ในเรื่อง 3.1การพัฒนาศักยภาพคนในชุมชน และ/หรือ 3.2การแก้ไขปัญหาสาธารณสุขของชุมชน และ/หรือ 3.3การจัดบริการสาธารณสุขในศูนย์สาธารณสุข มูลฐานชุมชน (ศสมช.)

  5. ตัวชี้วัดการผ่านเกณฑ์การประเมิน (ต่อ) 4. มีการจัดกิจกรรมด้านสุขภาพ ใน 6 ด้าน (1 คะแนน ) คือ 4.1 ด้านการสร้างสุขภาพ 4.2 ด้านการพัฒนาศักยภาพ อสม. /แกนนำสุขภาพ 4.3 ด้านการบริการสุขภาพภาคประชาชน 4.4 ด้านการถ่ายทอดความรู้ 4.5 ด้านการควบคุมและป้องกันโรค 4.6 ด้านการจัดสิ่งแวดล้อมที่ดีในชุมชน

  6. ตัวชี้วัดการผ่านเกณฑ์การประเมิน (ต่อ) 5. มีการประเมินผลการจัดการด้านสุขภาพ อย่างน้อย 2 ใน 6 วิธี(1 คะแนน ) ต่อไปนี้ 5.1 ประเมินผลโดยการเก็บรวบรวม / วิเคราะห์ / สรุปผล 5.2 มีการสรุปผลงาน /กิจกรรมที่ดำเนินการในแต่ละปี 5.3 มีการเปรียบเทียบกับแผนที่วางไว้ 5.4 มีการใช้แบบประเมินตนเองเพื่อสร้างการเรียนรู้ร่วมกันของชุมชน ในการพัฒนาหมู่บ้าน 5.5 มีการประเมินผลโดยใช้ แบบรายงาน มบ. 1 5.6 มีการนำผลการประเมินเข้าสู่เวทีชุมชน เพื่อใช้วางแผน

  7. หลักเกณฑ์การผ่านเกณฑ์หมู่บ้านจัดการสุขภาพหลักเกณฑ์การผ่านเกณฑ์หมู่บ้านจัดการสุขภาพ ต้องได้คะแนนอย่างน้อย 5 คะแนน จากคะแนนเต็ม 6 คะแนน และต้องผ่านประเด็นทั้ง 5 ประเด็น ดังนี้ 1. การจัดทำแผนด้านสุขภาพในหมู่บ้าน ต้องได้คะแนนเต็ม 1 คะแนน 2. การจัดการงบประมาณเพื่อพัฒนาสุขภาพในหมู่บ้าน ต้องได้คะแนนเต็ม 1 คะแนน 3. การจัดกิจกรรมพัฒนาสุขภาพในหมู่บ้านต้องได้คะแนนเต็ม 1 คะแนน 4. การประเมินผลการจัดการสุขภาพ ต้องได้คะแนนเต็ม 1 คะแนน 5. การมีส่วนร่วมของชุมชน ต้องได้คะแนนอย่างน้อย 1 คะแนน จากคะแนนเต็ม 2 คะแนน ถ้าคะแนนต่ำกว่า 5 คะแนน ถือว่า ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินผล

  8. ตัวอย่างผลการประเมินหมู่บ้านจัดการ จังหวัดมหาสารคาม เปรียบเทียบปี 2551-2552

  9. การจัดระดับศักยภาพหมู่บ้านจัดการสุขภาพการจัดระดับศักยภาพหมู่บ้านจัดการสุขภาพ ระดับ 1 ดาวหมายถึง ไม่ผ่านเกณฑ์การจัดการสุขภาพ ระดับ 2 ดาวหมายถึง มีศักยภาพเบื้องต้น คือ ผ่านเกณฑ์การจัดการสุขภาพขั้นพื้นฐาน ระดับ 3 ดาวหมายถึง มีศักยภาพปานกลาง เป็นหมู่บ้านที่มีการบริหารจัดการงานด้านสุขภาพ ได้สูงกว่าขั้นพื้นฐาน ระดับ 4 ดาวหมายถึง มีศักยภาพสูง เป็นหมู่บ้านที่มีการบริหารจัดการงานสุขภาพได้ดี แต่ยังไม่สามารถเป็นครูให้กับหมู่บ้านอื่นได้ ระดับ 5 ดาวหมายถึง มีศักยภาพสูงเยี่ยม เป็นหมู่บ้านที่ผ่านระดับ 4 ดาว และสามารถเป็นครูให้กับหมู่บ้านอื่นได้

  10. ผลการจัดระดับศักยภาพหมู่บ้าน ปี 2552

  11. ตัวแปรที่ใช้ในการจัดระดับศักยภาพหมู่บ้าน ปี 2553 แบ่งเป็น 5 ระดับ โดยใช้ตัวแปรวิเคราะห์5 ตัวแปร คือ 1. การมีส่วนร่วมการจัดการสุขภาพของชุมชน โดยดู ศักยภาพของอสม.ในการจัดเวทีการประชุม 2. การได้รับงบประมาณสนับสนุนการพัฒนาสุขภาพ มากกว่า 10,000 บาท 3. การมีกลุ่ม / ชมรมสุขภาพต่าง ๆ ที่ยังดำเนินงานใน หมู่บ้าน ตั้งแต่ 6 กลุ่มขึ้นไป 4. กลุ่มที่เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดทำแผนสุขภาพชุมชน 5. ความเข้มแข็งของกองทุนสวัสดิการ / กองทุนชุมชน

  12. ฐานข้อมูลในระบบสารสนเทศงานสุขภาพภาคประชาชน*****************************www.thaiphc.netฐานข้อมูลในระบบสารสนเทศงานสุขภาพภาคประชาชน*****************************www.thaiphc.net

  13. วิธีการดูจำนวนเป้าหมายในพื้นที่วิธีการดูจำนวนเป้าหมายในพื้นที่

  14. จำนวนเป้าหมาย : แสดงเฉพาะระดับจังหวัดเท่านั้น

  15. วิธีการตรวจสอบข้อมูลพื้นที่ (ตำบล)

  16. การแก้ไขข้อมูลหมู่บ้านการแก้ไขข้อมูลหมู่บ้าน

  17. การกรอกและบันทึกข้อมูล หมู่บ้านจัดการสุขภาพ

  18. กดปุ่ม “สร้างใหม่” เพื่อกรอกข้อมูลหมู่บ้านใหม่

  19. ข้อมูลหมู่บ้านจัดการสุขภาพ รายหมู่บ้าน

  20. หน้าจอจะแสดงรายการแต่ละหมู่บ้าน ที่ผ่านหรือไม่ผ่านเกณฑ์ และมีระดับศักยภาพใด

More Related