1 / 39

การประชุมติดตามผล การปฏิบัติงานเตรียมความพร้อม รับการระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009

การประชุมติดตามผล การปฏิบัติงานเตรียมความพร้อม รับการระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 ของศูนย์บริการสาธารณสุข. โดย รองผู้อำนวยการสำนักอนามัย ( พ.ญ.วันทนีย์ วัฒนะ). ข้อมูลองค์การอนามัยโลก ณ วันที่ 1 มิถุนายน 2552. ผู้ป่วยยืนยันการติดเชื้อ ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ชนิดเอ เอช1 เอ็น1

Télécharger la présentation

การประชุมติดตามผล การปฏิบัติงานเตรียมความพร้อม รับการระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การประชุมติดตามผล การปฏิบัติงานเตรียมความพร้อม รับการระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 ของศูนย์บริการสาธารณสุข โดย รองผู้อำนวยการสำนักอนามัย ( พ.ญ.วันทนีย์ วัฒนะ)

  2. ข้อมูลองค์การอนามัยโลก ณ วันที่ 1 มิถุนายน 2552 ผู้ป่วยยืนยันการติดเชื้อไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ชนิดเอ เอช1 เอ็น1 จำนวน 17,410 ราย ตาย 115 ราย ใน 62 ประเทศ

  3. สถานการณ์โรคในประเทศไทย วันที่ 2 มิ.ย.52

  4. มาตรการรับมือกับการระบาดใหญ่โรคไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ใหม่ 2009 ของสำนักอนามัย การเฝ้าระวัง และสอบสวนโรค การป้องกัน และควบคุมโรค การบริหารจัดการ การให้สุขศึกษา ประชาสัมพันธ์ และการรณรงค์ การเตรียมพร้อม วัสดุอุปกรณ์ เวชภัณฑ์

  5. จัดประชุมชี้แจงมาตรการดำเนินงานจัดประชุมชี้แจงมาตรการดำเนินงาน - ร.พ.รัฐ-เอกชน 105 แห่ง - ศบส. 68 แห่ง - ร้านยาเครือข่าย สนอ. - ทีม SRRT - พยาบาลอนามัย โรงเรียน - โรงเรียนสังกัด กทม. ส่งหนังสือแจ้งเตือน สถานพยาบาล - ร.พ.รัฐ-เอกชน 105 แห่ง - ศบส. 68 แห่ง - คลินิกเอกชน 2400 แห่ง การเฝ้าระวัง สอบสวน ป้องกัน ควบคุมโรค • คัดกรองผู้ป่วยที่มีอาการตามนิยาม • และมีประวัติเสี่ยง • แจ้งผู้ป่วย ตามแบบ ILI • จัดระบบคัดกรองในโรงเรียน /สถานเลี้ยงเด็กกลางวัน • การสอบสวนโรค การติดตามเฝ้าระวังผู้สัมผัสโรค • ป้องกัน ควบคุมการแพร่กระจายของโรค

  6. การ ประชาสัมพันธ์ • จัดกิจกรรมรณรงค์ ส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพ การใช้หน้ากากอนามัย • - แจกหน้ากากอนามัย • ให้กับตัวแทนกลุ่มอาชีพ • สาธารณะและประชาชน • เร่งรัดการจัดกิจกรรมโครงการล้างมือในสถานศึกษา - จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ ให้กับหน่วยงานและประชาชน เผยแพร่ข้อมูลทางเว็บไซต์ www. bangkok.go.th/health www. bmadcd.go.th/FLU2009

  7. การ บริหาร จัดการ • แต่งตั้งคณะทำงาน • ศูนย์ปฏิบัติการฯ • - ประชุมคณะทำงาน จัดเจ้าหน้าที่ประจำ ศูนย์ปฏิบัติการ ไข้หวัดใหญ่/ไข้หวัดนก จัดทำมาตรการ สำหรับหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ ประชุมติดตามผลการดำเนินงานเตรียมความพร้อมในพื้นที่ วิเคราะห์สถานการณ์และกำหนดแผน แนวทาง ในการดำเนินงานให้สอดคล้อง

  8. วัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่วัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ การจัดเตรียม วัสดุ อุปกรณ์ เวชภัณฑ์ อุปกรณ์เก็บตัวอย่าง • ยาต้านไวรัส อุปกรณ์ในการป้องกันเชื้อโรค เช่น ถุงมือ ชุด หน้ากากอนามัย ฯลฯ เวชภัณฑ์สำหรับฆ่าเชื้อโรค สบู่ เจลล้างมือ ฯลฯ

  9. มาตรการรับมือกับการระบาดใหญ่โรคไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ใหม่ 2009 ของสำนักการแพทย์ • ร.พ. สำนักการแพทย์จัดจุดคัดกรองและมีห้องแยกผู้ป่วยสงสัย • ชนิด Negative Pressure Room หรือห้องแยกที่มีลักษณะใกล้เคียง • จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ เวชภัณฑ์ให้พร้อมและมีระบบสำรอง • เตรียมพร้อมศูนย์เอราวัณ โดยการจัดอบรม จนท.รถพยาบาล • ในการช่วยเหลือ หรือเคลื่อนย้ายผู้ป่วย • เตรียม ร.พ.สิรินธร เป็นศูนย์รองรับสถานการณ์ฉุกเฉิน • ทางการแพทย์จากสนามบินสุวรรณภูมิ • จัดระบบรายงานผู้ป่วยเฝ้าระวัง • ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสาร สถานการณ์ แก่ จนท.และ ประชาชน • ประมวลผลสถานการณ์ระบาด และเผยแพร่เว็บไซต์

  10. การดำเนินงานเพื่อเตรียมความพร้อมรับการระบาดของศูนย์บริการสาธารณสุขการดำเนินงานเพื่อเตรียมความพร้อมรับการระบาดของศูนย์บริการสาธารณสุข • 1.การเฝ้าระวังโรค • - การคัดกรอง การรายงานผู้ป่วย • - การเฝ้าระวังเชิงรุกในชุมชน • - การวิเคราะห์สถานการณ์โรคไข้หวัดใหญ่ในพื้นที่ • 2. การเตรียมพร้อมรับสถานการณ์ • 2.1 ในชุมชน • 2.2 สถานศึกษา / สถานเลี้ยงเด็กกลางวัน • 2.3 สถานประกอบการ • 2.4 หน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่างๆ ฯลฯ ในพื้นที่ • 3. การสร้างเครือข่ายในพื้นที่

  11. การดำเนินงานเพื่อเตรียมความพร้อมรับการระบาดของศูนย์บริการสาธารณสุขการดำเนินงานเพื่อเตรียมความพร้อมรับการระบาดของศูนย์บริการสาธารณสุข 4. การเตรียมความพร้อมในศูนย์บริการสาธารณสุข - การตั้งจุดคัดกรอง และระบบคัดกรอง - ทีม SRRT และบุคลากรของ ศบส. - วัสดุอุปกรณ์ เวชภัณฑ์ สื่อต่างๆ - การมอบหมายงาน - การจัดเวรรับเหตุฉุกเฉิน ยานพาหนะ - การจัดช่องทางสื่อสาร - การจัดทำแผน - การซักซ้อมแผน และความเข้าใจระหว่างผู้ปฏิบัติงาน ฯลฯ

  12. ผลการรวบรวมรายงานของศูนย์บริการสาธารณสุข ตั้งแต่วันที่ 29 พ.ค.-3 มิ.ย.52 มีรายงานข้อมูล 52 ศบส. (ร้อยละ 76)

  13. ผลการดำเนินงานของศูนย์บริการสาธารณสุข สำนักอนามัย (รวบรวมข้อมูล ณ วันที่ 2 มิ.ย.52) • 1. การเตรียมความพร้อมในศูนย์บริการสาธารณสุข • มีการประชุมผู้ปฏิบัติงานในศูนย์บริการสาธารณสุข 38 แห่ง • จัดจุดคัดกรองผู้ป่วย 36 แห่ง • จัดนิทรรศการเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจให้แก่ประชาชน 38 แห่ง • จัดเตรียมสบู่และเจลแอลกอฮอล์ล้างมือตามจุดต่างๆ เพิ่ม 38 แห่ง • จัดทำแผนรองรับการเตรียมพร้อม และจัดเวร SRRT 37 แห่ง • การเตรียมวัสดุอุปกรณ์ให้พร้อมใช้งาน 38 แห่ง

  14. 2.การคัดกรองผู้ป่วย • มีการคัดกรองผู้ป่วยจำนวน 297 ราย • พบผู้มีอาการตามนิยามร่วมกับประวัติเสี่ยง 2 คน • ให้คำแนะนำสำหรับผู้ป่วย 1,214 ราย 3. การเฝ้าระวัง สอบสวนโรค • มีผู้ป่วยเฝ้าระวังในพื้นที่ 11 ศบส. จำนวน 44 ราย ดำเนินการสอบสวนครบทุกราย • ติดตามเยี่ยมผู้สัมผัสโรคจำนวน 73 ราย ไม่พบผู้ป่วยรายใหม่

  15. 4. การเตรียมความพร้อมในชุมชน • มีการประสานงานให้เครือข่าย อสส. เฝ้าระวังโรคในชุมชน 1,089 ชุมชน • มีการจัดประชุมให้ความรู้ชุมชน 147 ครั้ง • มีผู้ประสานงานในชุมชน 2,394คน • สนับสนุนสื่อประชาสัมพันธ์ 26,659 ฉบับ

  16. 5. การเตรียมความพร้อมในสถานศึกษา • มีการสำรวจความพร้อมและให้คำแนะนำรวมถึงแนวทางการปฏิบัติแก่ • สถานศึกษา 509 แห่ง • สถานรับเลี้ยงเด็กกลางวัน 186 แห่ง • จัดอบรม ให้ความรู้แก่ครู และบุคลากร 209 ครั้ง • จัดอบรมนักเรียน 2 ครั้ง/2000 คน • สนับสนุนสื่อ 23,939 ฉบับ

  17. สถานการณ์โรคชิคุนกุนยาสถานการณ์โรคชิคุนกุนยา และมาตรการดำเนินงานใน กรุงเทพมหานคร

  18. สถานการณ์โรคชิคุนกุนยาในประเทศไทยสถานการณ์โรคชิคุนกุนยาในประเทศไทย ตั้งแต่ 1 ม.ค.-27 พ.ค.52 มีรายงานผู้ป่วยสงสัย จำนวน 22276 ราย ใน 28 จังหวัด ส่วนใหญ่อยู่ในจังหวัด 7 จังหวัด ทางภาคใต้

  19. สถานการณ์โรคชิคุนกุนยาในกรุงเทพมหานครสถานการณ์โรคชิคุนกุนยาในกรุงเทพมหานคร ตั้งแต่ 1 ม.ค- 29 พ.ค.52

  20. มาตรการดำเนินงาน • การเฝ้าระวังโรค • - แจ้งเตือน สถานพยาบาลทุกสังกัดใน กทม. รวมทั้ง ศูนย์บริการสาธารณสุขและเร่งรัดมาตรการการรายงานเมื่อพบผู้ป่วย ( 3 ครั้ง ต.ค. 51 และ ธ.ค. 52 ก.พ.52) • - ให้ศูนย์บริการสาธารณสุขเฝ้าระวังเชิงรุกในพื้นที่ โดยการประสานกับเครือข่าย อสส. ( เม.ย.52) • - ประสานกับมหาวิทยาลัยให้เฝ้าระวังคัดกรองนักศึกษาที่มีอาการป่วย • - แนะนำให้ประชาชนรายงานตนเองกับหน่วยงานสาธารณสุขเมื่อมีอาการป่วย (เริ่มเมื่อ พ.ค.52 )

  21. มาตรการดำเนินงาน • 2. การสอบสวนและควบคุมโรค ในพื้นที่ โดยทีม SRRT ศูนย์บริการสาธารณสุข • 3. การควบคุมยุงพาหะ • - ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงอย่างต่อเนื่อง • - พ่นสารเคมีกำจัดยุงตัวแก่ โดยเฉพาะในพื้นที่ที่พบผู้ป่วย • แหล่งบ้านเช่า หอพัก ชุมชน ที่มีผู้เดินทางจากพื้นที่ระบาด • มาพักอาศัย • ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้แก่ประชาชน ในการป้องกันตนเองและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงในบ้านและบริเวณที่พักอาศัยอย่างสม่ำเสมอ

  22. จำนวนผู้ป่วยโรคชิคุนกุนยาในประเทศไทย รายเดือนประจำปี พ.ศ.2552

  23. สถานการณ์โรคไข้เลือดออกสถานการณ์โรคไข้เลือดออก ในพื้นที่ ศปง. 6 กรุงเทพมหานคร

  24. จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกในกรุงเทพมหานครจำแนกรายเดือนเปรียบเทียบกับ พ.ศ.2551

  25. จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกในกรุงเทพมหานครจำแนกรายเดือนเปรียบเทียบกับค่ามัธยฐาน 5 ปี (พ.ศ.2547-2551)

  26. พื้นที่รับผิดชอบของ ศบส. 28

  27. พื้นที่รับผิดชอบของ ศบส. 29

  28. พื้นที่รับผิดชอบของ ศบส. 39 58

  29. พื้นที่รับผิดชอบของ ศบส. 42

  30. พื้นที่รับผิดชอบของ ศบส. 54 59

  31. พื้นที่รับผิดชอบของ ศบส. 65

  32. โรค มือ เท้า ปาก (Hand, Foot and Mouth Disease)

  33. จำนวนผู้ป่วยโรค มือ เท้า ปาก ในกรุงเทพมหานคร จำแนกรายเดือน พ.ศ.2550-2552

  34. ย้ำ....มาตรการป้องกันโรคมือ เท้า ปาก ในโรงเรียนและสถานเลี้ยงเด็กเล็ก • คัดกรอง • การสำรวจ • แจ้งเตือน แจ้งผู้ป่วย • ดำเนินมาตรการตามหลักสุขาภิบาลอย่างเคร่งครัด • สร้างสุขนิสัย ล้างมือ • การแยกเด็กป่วย • การพิจารณาหยุดโรงเรียน

  35. สวัสดี

More Related