1 / 77

กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย

DDPM. แผ่นดินไหว มหันตภัยใกล้ตัว. กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย. DDPM. แผ่นดินไหว ( Earthquake ).

tonya
Télécharger la présentation

กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. DDPM แผ่นดินไหว มหันตภัยใกล้ตัว กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย

  2. DDPM แผ่นดินไหว (Earthquake) การสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง ของพื้นดินในช่วงเวลาหนึ่ง เกิดขึ้นจากแรงเสียดทาน ระหว่างชั้นหินและชั้นดินภายใต้ผิวโลก ตามแนวรอยเลื่อนของเปลือกโลก ที่มีพลังและยังเคลื่อนตัวอยู่ รวมทั้งในบริเวณภูเขาไฟที่ยังไม่ดับ ถ้าเกิดขึ้นทันทีทันใด ทำให้เกิดแผ่นดินไหวรุนแรงได้

  3. จากธรรมชาติ เปลือกโลกเคลื่อนที่ รอยเลื่อนขยับตัว ภูเขาไฟระเบิด ถ้ำใต้ดินถล่ม อุกกาบาตชนโลก จากกิจกรรมของมนุษย์ น้ำหนักของน้ำในเขื่อน เหมืองใต้ดินถล่ม การทดลองระเบิด นิวเคลียร์ใต้ดิน สงครามนิวเคลียร์ แผ่นดินไหว DDPM เกิดจาก 2 สาเหตุ

  4. อุกาบาตชนโลก ดาวตก DDPM อุกกาบาต มหันตภัยนอกโลก

  5. ระเบิดนิวเคลียร์ DDPM สงครามนิวเคลียร์

  6. DDPM ภูเขาไฟใต้น้ำระเบิด ดินถล่มลงไปในทะเล

  7. ภูเขาไฟระเบิด การเคลื่อนที่ของ แผ่นเปลือกโลก DDPM

  8. เกิดอะไรขึ้นกับโลกของเราใบนี้ ? DDPM

  9. ม ห า ส มุ ท ร แมนเทิล(เนื้อโลก) ท วี ป เ ป ลื อ ก โ ล ก ส่ ว น บ น เ ป ลื อ ก โ ล ก ส่ ว น ล่ า ง แ ก่ น โ ล ก ชั้ น น อ ก แ ก่ น โ ล กชั้ น ใ น DDPM การเคลื่อนตัวของเปลือกโลก

  10. DDPM กลไกความร้อนภายในโลกผลักดันให้เปลือกโลกเคลื่อนที่

  11. DDPM แผ่นเปลือกโลกเคลื่อนตัวตลอดเวลา

  12. DDPM Tectonic Plates

  13. DDPM กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

  14. Where do earthquakes occur ? DDPM

  15. DDPM การตรวจวัดคลื่นแผ่นดินไหว เครื่องมือในยุคปัจจุบัน เครื่องตรวจคลื่นแผ่นดินไหวของประเทศจีนในอดีต

  16. DDPM

  17. DDPM ขนาดแผ่นดินไหว MAGNITUDE คือ ปริมาณของพลังงานซึ่งปล่อยออกมาจากศูนย์กลางแผ่นดินไหวใต้ดิน มีหน่วยวัดเป็น ริคเตอร์ (Richter)

  18. DDPM ขนาดและความรุนแรงของแผ่นดินไหว • ขนาด(Magnitude) คือ จำนวนพลังงาน ณ จุดเกิดคลื่นแผ่นดินไหว • หน่วย ริคเตอร์ ตั้งเมื่อปีค.ศ. 1935 โดย ชาร์ล เอฟ ริคเตอร์ ชาวสหรัฐอเมริกา • ความรุนแรง คือ ความรู้สึกของคน ผลกระทบที่เกิดขึ้นกับ สิ่งของเครื่องใช้ และอาคารบ้านเรือน • ขึ้นอยู่กับขนาด ระยะทางและความลึกของแผ่นดินไหว

  19. ขนาดของแผ่นดินไหว (Magnitude/Richter) DDPM น้อยกว่า 3.0 ขนาดเล็กมาก (Micro) 3.0 - 3.9 ขนาดเล็ก (Minor) 4.0 - 4.9 ขนาดค่อนข้างเล็ก (Light) 5.0 - 5.9 ขนาดปานกลาง (Moderate) 6.0 - 6.9 ขนาดค่อนข้างใหญ่ (Strong) 7.0 - 7.9 ขนาดใหญ่ (Major) มากกว่า 8.0 ขนาดใหญ่มาก (Great)

  20. DDPM ผลกระทบจากขนาดของแผ่นดินไหว 5-5.9ริกเตอร์ > สั่นรุนแรง เครื่องเรือนเคลื่อนที่ ถ้วยชามหล่นแตก 6-6.9ริกเตอร์ > ไหวรุนแรง อาคารเสียหาย พังทลาย 7ริกเตอร์ขึ้นไป> ไหวขั้นรุนแรง อาคาร วัตถุถูกทำลาย แผ่นดินแยกออกจากกัน วัตถุถูกเหวี่ยงขึ้นไปบนอากาศ

  21. ระดับความรุนแรงของแผ่นดินไหว ตามมาตราเมอร์คัลลี่ DDPM

  22. ระยะของการเกิดแผ่นดินไหวระยะของการเกิดแผ่นดินไหว DDPM ระยะไหวเตือน (Foreshock) สั่นสะเทือนก่อนล่วงหน้าเบาๆ ช่วงเวลาสั้นๆ เป็นวินาที ไม่สามารถเตรียมตัวทัน ระยะไหวใหญ่ (Mainshock) มีการสั่นสะเทือนเต็มที่ มีความรุนแรงมากที่สุด ระยะไหวตาม (Aftershock) ระยะสั่นสะเทือนหลังจาก ระยะไหวใหญ่ เพื่อให้แนวแตกร้าวเข้าที่หรือหยุดนิ่ง เป็นการไหวเบาๆ ตามมาอีกหลายๆครั้ง ใช้เวลาหลายวันกว่าจะหยุดนิ่งเข้าที่

  23. DDPM

  24. Beam-column joint damage in a building in Taiwan By the 1999 Chi-Chi earthquake DDPM Beam-column joint damage in a building in the 1999 Izmit, Turkey earthquake

  25. ความเสียหายจากแผ่นดินไหว ขนาด 7.9RICHTER ประเทศปากีสถาน มกราคม 2544 มีผู้เสียชีวิต 70,000คน DDPM

  26. DDPM สถานการณ์แผ่นดินไหวในประเทศไทย ประเทศไทยเคยประสบแผ่นดินไหวตั้งแต่อดีต-ปัจจุบัน ส่วนใหญ่เกิดจากการเคลื่อนตัวของรอยเลื่อนขนาดใหญ่ เนื่องจากประเทศไทยเป็นส่วนหนึ่งของแผ่นเปลือกโลก 2 แผ่น ได้แก่ @แผ่นอินโด-ออสเตรเลีย@แผ่นยูเรเซียซึ่งจัดเป็นรอยเลื่อนมีพลัง หรือรอยเลื่อนที่ยังเคลื่อนตัวอยู่ (Active fault)

  27. แผ่นดินไหวที่เคยเกิดขึ้นในประเทศไทยแผ่นดินไหวที่เคยเกิดขึ้นในประเทศไทย DDPM ขนาด>5 ริกเตอร์ 17 ก.พ. 18 ขนาด 5.6ริกเตอร์ อ.ท่าสองยาง จ.ตาก 15-22เม.ย. 26 ขนาด5.3,5.9,5.2ริกเตอร์ อ.ศรีสวัสดิ์ จ.กาญจนบุรี 1 ต.ค. 32 ขนาด 5.3ริกเตอร์ บริเวณพรมแดน ไทย - พม่า 11 ก.ย. 37 ขนาด 5.1ริกเตอร์ อ.พาน จ.เชียงราย

  28. DDPM ทางเดินอาคารผู้ป่วยใน ตึกอำนวยการ อาคาร โรงพยาบาล อ.พาน จ.เชียงราย เสียหายจากแผ่นดินไหว ขนาด 5.2 ริกเตอร์ ปี 2537 กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

  29. อาคารโรงพยาบาลอำเภอพาน ปี 2537 DDPM ทางเดินอาคารผู้ป่วยในได้รับเสียหาย

  30. หอบังคับการบินเชียงราย ปี 2538 DDPM

  31. แผ่นดินไหวที่เคยเกิดขึ้นในประเทศไทยแผ่นดินไหวที่เคยเกิดขึ้นในประเทศไทย DDPM ขนาด>5 ริกเตอร์ 9 ธ.ค. 38 ขนาด 5.2ริกเตอร์ อ.พร้าว จ.เชียงราย 22 ธ.ค. 39 ขนาด 5.5ริกเตอร์ อ.ดอยหลวง จ.เชียงราย 13 ธ.ค. 49 ขนาด 5.1ริกเตอร์ อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ เฉลี่ย 6 - 8 ปี / ครั้ง

  32. รอยเลื่อนแม่จัน รอยเลื่อนปัว รอยเลื่อนแม่ฮ่องสอน รอยเลื่อนอุตรดิตถ์ รอยเลื่อนพะเยา รอยเลื่อนแม่ทา รอยเลื่อนท่าแขก รอยเลื่อนเถิน รอยเลื่อนเมย รอยเลื่อนศรีสวัสดิ์ รอยเลื่อนเจดีย์สามองค์ รอยเลื่อนมีพลังในประเทศไทย รอยเลื่อนระนอง รอยเลื่อนคลองมะรุ่ย DDPM

  33. DDPM แผนที่แสดงระดับ ความเสี่ยงต่อภัยจากแผ่นดินไหว

  34. กฎกระทรวง ฉบับที่ 49 (พ.ศ. 2540) DDPM พ.ร.บ. ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 กำหนดให้วิศวกรต้องออกแบบอาคารในพื้นที่เสียงภัยให้สามารถ ต้านทานแผ่นดินไหวได้ จำกัดพื้นที่ควบคุมเพียง 10 จังหวัด บังคับใช้กับอาคารสาธารณะ อาคารสำคัญ อาคารเก็บวัสดุอันตรายและอาคารทั่วไป ที่มีความสูงเกิน 15 เมตร

  35. DDPM รอยเลื่อนในภาคเหนือ ที่อาจก่อให้เกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ รอยเลื่อนแม่จัน รอยเลื่อนพะเยา รอยเลื่อนปัว รอยเลื่อนแม่ทา รอยเลื่อนเถิน รอยเลื่อนอุตรดิตถ์

  36. 0 50 100 1 50 km Chao Praya Basin Fault Three Pagoda Fault Tavoy Fault Tenasserim Fault Bangkok Kungyaungale Fault รอยเลื่อนในภาคตะวันตก ที่อาจก่อให้เกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ DDPM รอยเลื่อนเจดีย์สามองค์ รอยเลื่อนศรีสวัสดิ์

  37. กรุงเทพมหานคร กับความเสี่ยงภัยจากแผ่นดินไหว DDPM กรุงเทพมหานครและปริมณฑล เชื่อว่ามีโอกาสเกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ ประมาณ 6.0 - 7.5 ริกเตอร์ ซึ่งมีศักยภาพสูงในการทำลาย อาคารบ้านเรือน สิ่งปลูกสร้าง เนื่องจากเป็นพื้นที่ที่มีสภาพดินอ่อน สามารถขยายการสั่นสะเทือนของพื้นดินได้ถึง3 -4 เท่า จากระดับปกติ

  38. DDPM Soil Amplification of Ground Motions + Resonant Amplification of Building Responses = Risk from Distant Large Earthquakes

  39. การป้องกันอันตรายจากอาคารพังทลายการป้องกันอันตรายจากอาคารพังทลาย DDPM 1. การจัดทำแผนที่เสี่ยงภัยจากแผ่นดินไหว 2. การกำหนดมาตรฐานการออกแบบก่อสร้างอาคาร ในแต่ละพื้นที่ ให้มีระดับความต้านทานแผ่นดินไหวที่เหมาะสม # ยอมให้มีการโยกไหวรุนแรงจนแตกร้าว แต่ต้องไม่พังทลายลงมา # รองรับสภาวะการเปลี่ยนแปลงรูปร่าง เกินพิกัดยืดหยุ่น (Elastic Limit) # โครงสร้างรับแรงในแนวราบได้ในระดับที่กำหนด โยกไหวได้โดยไม่บิดตัว และเสริมความแข็งแรง ให้สามารถดูดซับพลังงานได้ดี

  40. แผนปฏิบัติการในสถานการณ์ฉุกเฉินสำหรับผู้ใช้สอยอาคาร DDPM การเตรียมความพร้อม 1. เตรียมไฟฉาย อุปกรณ์ยังชีพ/ช่วยชีวิตที่จำเป็น ยารักษาโรค ฯลฯ แจ้งให้ทุกคนทราบถึงที่เก็บ 2. ฝึกซ้อมการปฐมพยาบาลเบื้องต้น เพื่อปฏิบัติในยามฉุกเฉิน 3. ควรทราบตำแหน่งวาล์วถังก๊าซ น้ำประปาและสะพานไฟฟ้า 4. ไม่วางของหนักไว้บนชั้น หลังตู้ หรือที่สูง เมื่อมีการสั่นไหวอาจตกลงมาเป็นอันตราย 5. ผูกหรือยึดติดเครื่องใช้ เฟอร์นิเจอร์ ที่มีน้ำหนักมาก ไว้กับพื้นหรือผนัง 6. ศึกษาแผน /ฝึกซ้อมแผนอพยพในภาวะฉุกเฉิน พร้อมกำหนด จุดรวมพลที่ชัดเจน และเป็นสัดส่วนของแต่ละชั้นหรือหน่วยงาน

  41. แผนปฏิบัติการในสถานการณ์ฉุกเฉินสำหรับผู้ใช้สอยอาคาร DDPM DDPM ยึดเครื่องเรือนให้มั่นคง ช่วยลดความเสียหายได้

  42. แผนปฏิบัติการในสถานการณ์ฉุกเฉินสำหรับผู้ใช้สอยอาคาร DDPM DDPM 6. ศึกษาแผน /ฝึกซ้อมแผนอพยพ ในภาวะฉุกเฉิน พร้อมกำหนดจุดรวมพลที่ชัดเจน และเป็นสัดส่วนของแต่ละชั้น หรือหน่วยงาน

  43. แผนปฏิบัติการในสถานการณ์ฉุกเฉินสำหรับผู้ใช้สอยอาคาร DDPM DDPM เตรียมอพยพและฝึกซ้อมตามแผนอพยพ

  44. แผนปฏิบัติการในสถานการณ์ฉุกเฉินสำหรับผู้ใช้สอยอาคาร DDPM DDPM เมื่อเกิดแผ่นดินไหว 1. ควบคุมสติ อย่าตื่นตกใจ อยู่อย่างสงบ รอฟังประกาศฉุกเฉิน 2. ถ้าอยู่ในอาคารให้อยู่ในอาคาร หลบใต้โต๊ะ หรือพิงผนังห้อง หรืออยู่ใต้โครงสร้างอาคารที่แข็งแรง อยู่ห่างจากหน้าต่าง /ประตู/กำแพงด้านนอก/ชั้นวางของ/สิ่งที่อาจล้มหรือหล่นได้ 3. อย่ารีบออกจากอาคาร อาจได้รับบาดเจ็บจากฝูงชนที่ตื่นตกใจ และแย่งกันออกจากอาคาร 4. ห้ามใช้เทียนไข ไม้ขีดไฟ หรือสิ่งที่ทำให้เกิดเปลวไฟ อาจเกิดอันตรายจากก๊าซรั่วได้

  45. แผนปฏิบัติการในสถานการณ์ฉุกเฉินสำหรับผู้ใช้สอยอาคาร DDPM DDPM อยู่ใต้โต๊ะที่แข็งแรงป้องกันสิ่งร่วงหล่น

  46. แผนปฏิบัติการในสถานการณ์ฉุกเฉินสำหรับผู้ใช้สอยอาคาร DDPM DDPM เมื่อเกิดแผ่นดินไหว 5. อย่าตื่นตกใจหากไฟฟ้าดับ /ระบบดับเพลิงอัตโนมัติทำงาน/สัญญาณเตือนภัยดังขึ้น 6. ห้ามใช้ลิฟท์โดยเด็ดขาด หากต้องอพยพ ให้ใช้บันใดหนีไฟที่ปลอดภัย ตามแผนอพยพเท่านั้น 7. ถ้าอยู่นอกอาคาร ให้อยู่ห่างจากอาคาร/เสาไฟฟ้า /สิ่งห้อยแขวน/ป้ายโฆษณา โดยให้อยู่ในที่โล่ง จนกว่าการสั่นไหวจะหยุด

  47. แผนปฏิบัติการในสถานการณ์ฉุกเฉินสำหรับผู้ใช้สอยอาคาร DDPM DDPM เมื่อเกิดแผ่นดินไหว (ต่อ) 8. ถ้ากำลังขับรถยนต์ ให้จอดรถยนต์ในที่ที่ปลอดภัย โดยเร็วเท่าที่จะทำได้และอยู่ในรถยนต์ หลีกเลี่ยงการจอดรถยนต์ ใกล้หรือใต้ต้นไม้/อาคาร/สะพาน /ทางต่างระดับ/เสาไฟฟ้า

  48. แผนปฏิบัติการในสถานการณ์ฉุกเฉินสำหรับผู้ใช้สอยอาคาร DDPM DDPM เมื่อเกิดแผ่นดินไหว (ต่อ) 9. ถ้าอาคารเก่าและไม่มั่นคง ให้หาทางออก จากอาคารให้เร็วที่สุด 10. หลังการสั่นสะเทือนสิ้นสุด ให้รีบออกจากอาคาร 11. ถ้าไม่อยู่ใกล้ทางออกให้รีบมุดลงไปอยู่ใต้โต๊ะ ที่แข็งแรง หรือมุมห้อง โดยยึดหลัก “หมอบ” “ป้อง” “เกาะ” จนกว่าจะมีผู้เข้าไปช่วยเหลือ

  49. แผนปฏิบัติการในสถานการณ์ฉุกเฉินสำหรับผู้ใช้สอยอาคาร DDPM DDPM เมื่อเกิดแผ่นดินไหว (ต่อ) 12. ให้อยู่ห่างจากประตู หน้าต่าง โดยเฉพาะที่เป็น กระจก และอยู่ห่างจากบริเวณที่อาจมีวัสดุหล่นใส่ 13. ให้อยู่ห่างจากสายไฟฟ้า สิ่งห้อยแขวน 14. ห้ามใช้ลิฟต์โดยเด็ดขาด 15. ถ้าอยู่ใกล้ทางออก ให้ออกจากอาคารโดยเร็ว ตามแผนอพยพหนีไฟของแต่ละอาคาร

  50. แผนปฏิบัติการในสถานการณ์ฉุกเฉินสำหรับผู้ใช้สอยอาคาร DDPM DDPM ถ้ากำลังขับรถยนต์ ให้จอดรถยนต์ ในที่ปลอดภัยโดยเร็วเท่าที่จะทำได้ และอยู่ในรถยนต์ หลีกเลี่ยงการจอดรถยนต์ ใกล้หรือใต้ต้นไม้/อาคาร /สะพาน/ทางต่างระดับ /เสาไฟฟ้า

More Related