1 / 30

การวิเคราะห์ผลการประเมินหมู่บ้านจัดการสุขภาพ ปี 2552

การวิเคราะห์ผลการประเมินหมู่บ้านจัดการสุขภาพ ปี 2552. หลักเกณฑ์การประเมินผล หมู่บ้านจัดการสุขภาพ ชุมชน / หมู่บ้าน หมายถึง หมู่บ้านนอกเขตเทศบาล

uma-hodges
Télécharger la présentation

การวิเคราะห์ผลการประเมินหมู่บ้านจัดการสุขภาพ ปี 2552

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การวิเคราะห์ผลการประเมินหมู่บ้านจัดการสุขภาพ ปี 2552 หลักเกณฑ์การประเมินผล หมู่บ้านจัดการสุขภาพ ชุมชน / หมู่บ้าน หมายถึง หมู่บ้านนอกเขตเทศบาล การจัดการด้านสุขภาพ หมายถึง การที่ชุมชน / หมู่บ้าน มีกระบวนการร่วมกันในการวางแผนด้านสุขภาพ มีการจัดการงบประมาณเพื่อใช้ในการพัฒนาด้านสุขภาพ มีการจัดกิจกรรมด้านสุขภาพ และมีการสรุปประเมินผลการจัดการด้านสุขภาพ

  2. ตัวชี้วัดการผ่านเกณฑ์การประเมิน คือ หมู่บ้านที่มีการจัดการด้านสุขภาพใน 5 ด้าน (คะแนนเต็ม 6 คะแนน) ดังนี้ (1) การมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการสุขภาพชุมชน (2 คะแนน) ดังนี้ 1.1 การจัดเวทีการประชุมขององค์กร อสม. 1.2 การร่วมขับเคลื่อนการพัฒนาสุขภาพในชุมชน 1.3 การกำหนดกติกาของชุมชน หรือ กฎข้อบังคับของ หมู่บ้าน/ตำบล เพื่อแก้ไขปัญหาของชุมชน

  3. ตัวชี้วัดการผ่านเกณฑ์การประเมิน (ต่อ) 2.มีการจัดทำแผนด้านสุขภาพโดยชุมชนมีส่วนร่วม (1 คะแนน ) 3.มีการจัดการงบประมาณเพื่อใช้ในการพัฒนาสุขภาพ (1 คะแนน ) ในเรื่อง 3.1การพัฒนาศักยภาพคนในชุมชน และ/หรือ 3.2การแก้ไขปัญหาสาธารณสุขของชุมชน และ/หรือ 3.3การจัดบริการสาธารณสุขในศูนย์สาธารณสุขมูลฐานชุมชน (ศสมช.)

  4. ตัวชี้วัดการผ่านเกณฑ์การประเมิน (ต่อ) 4. มีการจัดกิจกรรมด้านสุขภาพ ใน 5 ด้าน (1 คะแนน ) คือ 4.1 ด้านการสร้างสุขภาพ 4.2 ด้านการพัฒนาศักยภาพ อสม. /แกนนำสุขภาพ 4.3 ด้านการบริการสุขภาพภาคประชาชน 4.4 ด้านการถ่ายทอดความรู้ 4.5 ด้านการควบคุมและป้องกันโรค

  5. ตัวชี้วัดการผ่านเกณฑ์การประเมิน (ต่อ) 5. มีการประเมินผลการจัดการด้านสุขภาพ อย่างน้อย 2 ใน 4 วิธี(1 คะแนน ) ต่อไปนี้ 5.1 โดยใช้แบบประเมินหมู่บ้านจัดการสุขภาพ 5.2 โดยการสรุปผลงาน/กิจกรรมที่ดำเนินการ 5.3 โดยการเปรียบเทียบกับแผนที่วางไว้ 5.4 โดยใช้แบบประเมินตนเองเพื่อสร้างการเรียนรู้ร่วมกันของชุมชน ในการพัฒนาหมู่บ้าน

  6. หลักเกณฑ์การผ่านเกณฑ์หมู่บ้านจัดการสุขภาพหลักเกณฑ์การผ่านเกณฑ์หมู่บ้านจัดการสุขภาพ ต้องได้คะแนนอย่างน้อย 5 คะแนน จากคะแนนเต็ม 6 คะแนน และต้องผ่านประเด็นทั้ง 5 ประเด็น ดังนี้ 1. การจัดทำแผนด้านสุขภาพในหมู่บ้าน ต้องได้คะแนนเต็ม 1 คะแนน 2. การจัดการงบประมาณเพื่อพัฒนาสุขภาพในหมู่บ้าน ต้องได้คะแนนเต็ม 1 คะแนน 3. การจัดกิจกรรมพัฒนาสุขภาพในหมู่บ้านต้องได้คะแนนเต็ม 1 คะแนน 4. การประเมินผลการจัดการสุขภาพ ต้องได้คะแนนเต็ม 1 คะแนน 5. การมีส่วนร่วมของชุมชน ต้องได้คะแนนอย่างน้อย 1 คะแนน จากคะแนนเต็ม 2 คะแนน ถ้าคะแนนต่ำกว่า 5 คะแนน ถือว่า ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินผล

  7. ผลการประเมินหมู่บ้านจัดการ จังหวัดนครพนม เปรียบเทียบปี 2551-2552 สรุป การจัดการสุขภาพในชุมชน มีความครอบคลุมมากขึ้น

  8. ปัญหาที่พบที่ไม่ผ่านเกณฑ์หมู่บ้านจัดการสุขภาพ ใน 5 ด้าน มีดังนี้

  9. ผลการประเมิน ตัวชี้วัดที่ 1 : การจัดทำแผนด้านสุขภาพในหมู่บ้าน ไม่มีการจัดทำแผนด้านสุขภาพในหมู่บ้าน ( 0 หมู่ )  มี โดย ( 1,124 หมู่ ) 1. เจ้าหน้าที่เป็นผู้ทำให้ทั้งหมด ( 3 หมู่ ) 2. เจ้าหน้าที่ อสม. และ/หรือ แกนนำชุมชน ร่วมกันทำ ( 852 หมู่ ) 3. อสม. และ/หรือ แกนนำชุมชน ร่วมกันทำ ( 269 หมู่ )

  10. ผลการประเมินตัวชี้วัดที่ 2 : การจัดการงบประมาณเพื่อพัฒนา สุขภาพในหมู่บ้าน • หมู่บ้านได้รับงบประมาณสนับสนุนการจัดกิจกรรมด้านสุขภาพจาก เทศบาล/อบต. โดยผ่านให้ชุมชนบริหารจัดการงบประมาณเอง •  ไม่ผ่านชุมชน (6 หมู่) •  ผ่านชุมชน จำนวนเงิน (1,118 หมู่) • น้อยกว่า 10,000 บาท (5 หมู่) • 10,000 บาท (872 หมู่) • มากกว่า 10,000 บาท (241 หมู่)

  11. ทั้งนี้ เมื่อพิจารณางบประมาณการดำเนินงาน ได้มีการสนับสนุน การจัดกิจกรรมการดำเนินงานพัฒนาสุขภาพชุมชน ในเรื่องดังนี้  (1) การพัฒนาศักยภาพอสม./กำลังคน ในหมู่บ้าน จำนวน 1,084 หมู่ เฉลี่ยหมู่บ้านละ 3,851.58 บาท  (2) การแก้ไขปัญหาสาธารณสุขของชุมชน จำนวน 1,065 หมู่ เฉลี่ยหมู่บ้านละ 3,808.80 บาท (3) การจัดบริการสาธารณสุขใน ศสมช.. จำนวน 944 หมู่ เฉลี่ยหมู่บ้านละ 1,883.88 บาท (4) อื่นๆ จำนวน 14 หมู่

  12. ผลการประเมินตัวชี้วัดที่ 3 : การจัดกิจกรรมด้านสุขภาพใน 5 กิจกรรม (1) กิจกรรมด้านการสร้างสุขภาพ (2) กิจกรรมด้านการพัฒนาศักยภาพ อสม. / แกนนำ สุขภาพ (3)กิจกรรมด้านการบริการสุขภาพภาคประชาชน (4) กิจกรรมด้านการถ่ายทอดความรู้ (5) กิจกรรมด้านการควบคุมและ ป้องกันโรค

  13. ผลการประเมินหมวดที่ 1 : การสร้างสุขภาพ

  14. ผลการประเมินหมวดที่ 2 : การพัฒนาศักยภาพอสม. และแกนนำสุขภาพในชุมชน

  15. ผลการประเมินหมวดที่ 3 : การจัดบริการสุขภาพภาคประชาชน

  16. ผลการประเมินหมวดที่ 4 : การถ่ายทอดความรู้ให้กับประชาชน

  17. ผลการประเมินหมวดที่ 5 : การควบคุมและป้องกันโรค/ปัญหาสาธารณสุข

  18. ผลการประเมินตัวชี้วัดที่ 4 : การประเมินผลการจัดการสุขภาพของหมู่บ้าน  1. หมู่บ้านมีการประเมินผลโดยใช้แบบประเมินหมู่บ้านจัดการสุขภาพ จำนวน 1065 หมู่ ( …..% )  2. หมู่บ้านมีการประชุมสรุปผลงาน / กิจกรรมที่ดำเนินการในแต่ละปี จำนวน 900 หมู่ ( …..% )  3. หมู่บ้านมีการประเมินผลโดยเปรียบเทียบกับแผนที่วางไว้ จำนวน 586 หมู่ ( …..% )  4. หมู่บ้านมีการประเมินผลโดยใช้แบบประเมินตนเองเพื่อสร้างการเรียนรู้ร่วมกันของชุมชนในการพัฒนาหมู่บ้าน จำนวน 611 หมู่ ( …..% )

  19. ตัวชี้วัดที่ 5 : การมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการสุขภาพชุมชน(2 คะแนน) ดังนี้ 1.1 การจัดเวทีการประชุมขององค์กร อสม. 1.2 การร่วมขับเคลื่อนการพัฒนาสุขภาพในชุมชน 1.3 การกำหนดกติกาของชุมชน หรือ กฎข้อบังคับของ หมู่บ้าน/ตำบล เพื่อแก้ไขปัญหาของชุมชน

  20. รวมคะแนนเฉลี่ย ด้านการมีส่วนร่วมของชุมชน = 1.62 คะแนน(จากคะแนนเต็ม 2 คะแนน)

  21. จำแนกคะแนนเฉลี่ยการมีส่วนของชุมชน รายอำเภอ จังหวัดนครพนม

  22. จำแนกตามประเด็น ด้านการมีส่วนร่วม 3 ประเด็นแต่ละประเด็นมีคะแนนเต็ม 2 ดังนี้ • ความสามารถการจัดเวทีการประชุมของ องค์กรอสม. ได้คะแนนเฉลี่ย • การมีส่วนร่วมขององค์กรต่างๆในการร่วมขับเคลื่อนการพัฒนาในชุมชน คะแนนเฉลี่ย • ชุมชนมีส่วนร่วมในการกำหนดข้อบังคับ ได้คะแนนเฉลี่ย

  23. ความสามารถการจัดเวทีการประชุมของ องค์กรอสม. ได้คะแนนเฉลี่ย 1. เจ้าหน้าที่เป็นผู้กำหนดเวทีและวาระการประชุมให้กับ อสม. จำนวน หมู่ 2. อสม. ร่วมกับเจ้าหน้าที่ กำหนดเวทีและวาระการประชุม จำนวน หมู่ 3. อสม. และองค์กรชุมชน เป็นผู้กำหนดเวทีและวาระการประชุม โดยเจ้าหน้าที่เป็นเพียงผู้สนับสนุน จำนวน หมู่

  24. 2. การมีส่วนร่วมขององค์กรต่างๆในการร่วมขับเคลื่อนการพัฒนาในชุมชน คะแนนเฉลี่ย 1. มีเพียงเจ้าหน้าที่ และ อสม. ที่เป็นผู้ดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพตามแผนงานพัฒนาสุขภาพในหมู่บ้าน จำนวน หมู่ 2. มีกลุ่ม อสม. ร่วมกับ สมาชิกอบต. และเจ้าหน้าที่จัดทำแผนงานพัฒนาสุขภาพในหมู่บ้าน จำนวน หมู่ 3. มีกลุ่มองค์กรต่างๆในชุมชนร่วมกับ อสม.(ทีมประชาคมในหมู่บ้าน) ร่วมกันผลักดันกิจกรรมพัฒนาสุขภาพ จำนวน หมู่

  25. 3. ชุมชนมีส่วนร่วมในการกำหนดข้อบังคับ คะแนนเฉลี่ย 1. ไม่มีการกำหนดข้อบังคับของหมู่บ้าน จำนวน หมู่ 2. มีการกำหนดข้อบังคับของหมู่บ้าน จากกลุ่ม อสม. / กลุ่มผู้นำชุมชน / เวทีประชาคมจำนวน หมู่ 3. ไม่มีการกำหนดข้อบังคับของตำบล หรือ อบต. จำนวน หมู่ 4. มีการกำหนดข้อบังคับโดยตำบล หรือ อบต. จำนวน หมู่

  26. นอกจาก เมื่อพิจารณาด้านองค์กรหรือกลุ่มต่างๆด้าน สุขภาพ ที่ยังดำเนินการอยู่ในหมู่บ้าน จากคะแนนเต็ม 2 คะแนน พบว่า มีคะแนนเฉลี่ย =

  27. จำแนกตามกลุ่มต่างๆที่ยังคงดำเนินงานในชุมชนมีดังนี้( เรียงจากมากไปน้อย ) 1.กลุ่มผู้สูงอายุ 1,069 หมู่ (95 %) 2. To be number one980 หมู่ (87 %) 3. กลุ่มแอโรบิค/ออกกำลังกาย 954 หมู่ (85 %) 4. กลุ่มกีฬา 874 หมู่ (78 %) 5.กลุ่มสร้างสุขภาพ 834 หมู่ (74%)

  28. 6. กลุ่มคุ้มครองฯ 740หมู่(66 %) 7. กลุ่มเกษตรปลอดสารพิษ 569หมู่(51 %) 8. กลุ่มแกนนำเอดส์ 484หมู่(43 %) 9.กลุ่มหมอพื้นบ้าน470หมู่(42 %) 10.กลุ่มพิทักษ์สิทธิ์ 313หมู่(28 %) 11. กลุ่มจิตอาสา 299หมู่(27 %)

  29. ผลการดำเนินงาน ศสมช.

  30. ผลการดำเนินงานเฝ้าระวังไข้หวัดนกผลการดำเนินงานเฝ้าระวังไข้หวัดนก

More Related