1 / 18

แนวทางการบริหารงบประมาณ กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2552

แนวทางการบริหารงบประมาณ กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2552. โครงการที่สำคัญ ปี 2552. การยกเลิกการจำกัดการคุ้มครองการเจ็บป่วยฉุกเฉินไม่เกินปีละ ๒ ครั้ง ต่างหน่วยบริการประจำ การพัฒนาให้ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง และการเข้าถึงวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่

uma-sanford
Télécharger la présentation

แนวทางการบริหารงบประมาณ กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2552

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวทางการบริหารงบประมาณแนวทางการบริหารงบประมาณ กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติปีงบประมาณ 2552

  2. โครงการที่สำคัญ ปี 2552 • การยกเลิกการจำกัดการคุ้มครองการเจ็บป่วยฉุกเฉินไม่เกินปีละ ๒ครั้ง ต่างหน่วยบริการประจำ • การพัฒนาให้ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง และการเข้าถึงวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ • การเพิ่มศักยภาพหน่วยบริการเพื่อให้บริการทดแทนไตสำหรับผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย • การเพิ่มศักยภาพหน่วยบริการปฐมภูมิให้ใกล้บ้านใกล้ใจ (เขตกรุงเทพฯ: รูปแบบนพรัตนราชธานี ภูมิพล ราชวิถี ,ต่างจังหวัด : ศูนย์สุขภาพชุมชน) • การพัฒนาระบบจัดการให้ประชาชนเข้าถึงยา เวชภัณฑ์ที่มีคุณภาพราคาแพง (Pharmaceutical Benefit Scheme: บัญชี จ.๒) • พัฒนาชุดสิทธิประโยชน์เพื่อคนพิการทุกประเภท • พัฒนาระบบบริการและสิทธิประโยชน์ครบวงจรสำหรับโรคเรื้อรังเฉพาะโรค

  3. งบกองทุนฯ ปี 2552 1.งบเหมาจ่ายรายหัว (รวมเงินเดือน) - จำนวนประชากรสิทธิ UC (คน) - อัตรา (บาท)2. งบบริการผู้ป่วยติดเชื้อ เอชไอวี / เอดส์3. งบบริการทดแทนไตสำหรับผู้ป่วยไตวายเรื้อรัง ระยะสุดท้าย

  4. สรุปกรอบบริหารงบเหมาจ่ายรายหัวปี 2552

  5. ประเด็นหลักในการปรับเปลี่ยนกรอบแนวทางบริหารงบเหมาจ่ายรายหัวปี 2552 (1) 1. บริการผู้ป่วยนอก • งบบริการผู้ป่วยนอกไม่น้อยกว่าร้อยละ 93 โดยเหมาจ่ายรายหัวให้CUP ตามการลงทะเบียนและโครงสร้างอายุประชากร • งบบริการผู้ป่วยนอกไม่เกินกว่าร้อยละ 7 จ่าย ให้CUP ตามจำนวนข้อมูลที่กำหนดสำหรับบริการผู้ป่วยนอกรายบุคคลและข้อมูลด้านการเงินการคลังของหน่วยบริการ

  6. ประเด็นหลักในการปรับเปลี่ยนกรอบแนวทางบริหารงบเหมาจ่ายรายหัวปี 2552 (2) 2. บริการผู้ป่วยใน (ทั่วไป) • แยกการบริหารระหว่างงบบริการผู้ป่วยนอกและบริการผู้ป่วยใน สำหรับหน่วยบริการทุกสังกัด โดยไม่มีข้อยกเว้น • ย้ายการจ่ายสำหรับเด็กแรกเกิดทุกราย ไปอยู่ในงบบริการค่าใช้จ่ายสูง/อุบัติเหตุฉุกเฉิน • ใช้ DRG version 4 ในการจ่ายชดเชย • การใช้บริการในเขตพื้นที่ให้จ่ายด้วยอัตราจ่ายต่อน้ำหนักสัมพัทธ์ (base rate) เดียวทั้งประเทศ และให้มีการกำหนดมาตรการการลงโทษกรณีมีการใช้บริการข้ามเขตพื้นที่ที่ไม่เหมาะสม • การใช้บริการข้ามเขตพื้นที่ เหมือนปี 2551 คือจ่ายด้วยราคากลาง 9,000 บาทต่อน้ำหนักสัมพัทธ์

  7. ประเด็นหลักในการปรับเปลี่ยนกรอบแนวทางบริหารงบเหมาจ่ายรายหัวปี 2552 (3) 3.การจ่ายกรณีส่งต่อผู้ป่วย 1.) กรณีผู้ป่วยนอก หน่วยบริการรักษาเรียกเก็บจากหน่วยบริการประจำตามค่าใช้จ่ายจริงหรืออัตราที่เห็นชอบร่วมกันระหว่างหน่วยรักษากับหน่วยประจำ ยกเว้นรายการที่เป็นค่าใช้จ่ายสูงเบิกจากสปสช. 2.) กรณีส่งต่อผู้ป่วยใน หน่วยบริการรักษาเรียกเก็บจากกองทุนผู้ป่วยในระดับประเทศ

  8. ประเด็นหลักในการปรับเปลี่ยนกรอบแนวทางบริหารงบเหมาจ่ายรายหัวปี 2552 (4) 4. บริการอุบัติเหตุฉุกเฉิน (บริหารส่วนกลาง) • เพิ่มความครอบคลุมกรณีเด็กแรกเกิดทุกราย เพื่อให้เป็นไปตามมาตรา 8 • ยกเลิกเพดานการจ่ายกรณีฉุกเฉินไม่เกิน 2 ครั้ง (ตามมติคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ) • รายการอื่นๆ เหมือนปี 2551

  9. ประเด็นหลักในการปรับเปลี่ยนกรอบแนวทางบริหารงบเหมาจ่ายรายหัวปี 2552 (5) 5. บริการค่าใช้จ่ายสูง (บริหารส่วนกลาง) • เพิ่มรายการสาร Methadoneสำหรับการให้สารเมทาโดนระยะยาว (Methadone Maintenance Treatment: MMT) ในการบำบัดรักษาผู้ป่วยที่ติดสารเสพติดในกลุ่มฝิ่นและอนุพันธ์ของฝิ่น (อาทิ เฮโรอีน) ที่สมัครใจ • เพิ่มรายการ Hyperbaric O2สำหรับโรคที่เกิดจากการดำน้ำ( Decompression Sickness) ทั้งผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน • ขยายความครอบคลุมวัคซีนไข้หวัดใหญ่ สำหรับผู้ป่วยโรคเรื้อรังทุกกลุ่มอายุ (ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ได้แก่ โรคหอบหืด ปอดอุดกั้นเรื้อรัง ไตวาย โรคหัวใจ เบาหวาน หลอดเลือดสมอง และผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับการรักษาเคมีบำบัด) • เพิ่มรายการยาตามบัญชียาฯ จ.2จำนวน 9 รายการ ( Botulinum toxin, IVIG, Leuprorelin, Docetaxel, Letrozole, Imatinib, Erythropoietin, Verteporfin, Liposomal amphotericin B) • รายการอื่นๆ เหมือนปี 2551

  10. ประเด็นหลักในการปรับเปลี่ยนกรอบแนวทางบริหารงบเหมาจ่ายรายหัวปี 2552 (6) 6. OP&IP รพช.เงื่อนไขพิเศษ • เป็นรายการใหม่ที่แยกมาจาก OP/IPในการเสนองบขาขึ้นภายใต้แนวคิดว่า “มี รพช.จำนวนหนึ่งที่มีต้นทุนส่วน Fix cost สูงด้วยเหตุจำเป็น” ซึ่งครอบคลุมงบเพิ่มเติมสำหรับพื้นที่กันดารและเสี่ยงภัยด้วย (ไม่รวม รพช.ขนาดใหญ่ 9 แห่ง) • กรอบการจัดสรรให้มีคณะทำงานร่วมระหว่าง สปสช. กับ สป. พิจารณากำหนดกรอบการจัดสรรในรายละเอียด ( รพช.ขนาดใหญ่ 9 แห่งที่ยกเว้นการจ่ายงบรายการนี้ ได้แก่ รพ.จอมทอง, บางละมุง, แกลง, ชุมแพ, ปากช่องนานา, นางรอง, กันทรลักษณ์, เดชอุดม, ทุ่งสง)

  11. ประเด็นหลักในการปรับเปลี่ยนกรอบแนวทางบริหารงบเหมาจ่ายรายหัวปี 2552 (7) 7. บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค • แบ่งงบประมาณเป็น 4 กลุ่มเช่นเดิม แต่ 1.1) งบระดับประเทศ ให้มีการพิจารณาดำเนินงานที่เป็น National priority(ตามแนวทางสธ.+สปสช.)และการจัดหาวัสดุที่จำเป็นต้องรวมจัดหาระดับประเทศ เช่น ค่าวัคซีนพื้นฐาน ค่าสมุดแม่และเด็ก ค่าสมุดงานอนามัยนักเรียน ค่านมผงสำหรับเด็กที่มีภาวะพร่องไทรอยด์

  12. ประเด็นหลักในการปรับเปลี่ยนกรอบแนวทางบริหารงบเหมาจ่ายรายหัวปี 2552 (8) 8. บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค • แบ่งงบประมาณเป็น 4 กลุ่มเช่นเดิม แต่(ต่อ) 1.2) ปรับกิจกรรมบริการจาก P&Parea base ที่หน่วยบริการส่วนใหญ่สามารถดำเนินการได้ ไปไว้ในรายการ P&P expressed demand 2 กิจกรรมคือ 1) การเคลือบหลุมร่องฟันและฟลูออไรด์ ในกลุ่มอายุ 6-12 ปี 2) การตรวจคัดกรองความเสี่ยง ในกลุ่มอายุ>15 ปี เป้าหมายร้อยละ 20 • ให้ปรับปรุงการบริหารจัดการให้มีการใช้งบประมาณเพื่อการบริการตามเป้าหมาย และให้มีข้อมูลเชิงประจักษ์ประสิทธิผล / คุณภาพการบริการ

  13. กรอบบริหารงบ P&P ปี2552 P&P Capitation (193.72 บาทต่อหัว) 63.614 ล้านคน สสจ. และ สาขา กทม.เป็น P&P manager และประเมินผลงานตามcomposite indicator คำนวณจาก 262.06 บาทต่อปชก.สิทธิ UC จำนวน 47.026 ล้านคน P&P National priority and central procurement (15.36) P&P Community (37.5) P&P Expressed demand (109.86) P&P Area based (31) Diff. by age group สปสช. สาขาจว.65% สปสช. สาขาเขต 35% • จ่ายตาม indicator • ระบบ M&E • โครงการระดับเขต กองทุนตำบล สาขาจังหวัด (เฉพาะประชากรพื้นที่ที่ไม่มีกองทุนตำบล) UC NON-UC • ปัญหาเฉพาะพื้นที่ • Vertical program & DMI • โครงการระดับจังหวัด • หน่วยบริการที่ลงทะเบียนในระบบUC และ ระบบ SSS ที่สมัคร • จังหวัด • สาขาพื้นที่ เหมาจ่ายต่อหัว จ่ายตามผลงาน CUP หน่วยบริการที่ลงทะเบียนในระบบUC และระบบ SSS ที่สมัคร Expressed demand 7 กิจกรรมหลัก ได้แก่ ANC, PNC, FP, EPI ทุกช่วงอายุ, อนามัยเด็กเล็ก, เคลือบหลุมร่องฟันและฟลูออไรด์ในกลุ่ม 6-12 ปี, 20% เป้าหมายบริการการตรวจคัดกรองความเสี่ยงในกลุ่ม 15-60 ปี

  14. เปรียบเทียบงบPP ปี 51-52

  15. ประเด็นหลักในการปรับเปลี่ยนกรอบแนวทางบริหารงบเหมาจ่ายรายหัวปี 2552 (9) 9. งบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ (สำหรับคนพิการ) • 70% เป็นค่าบริการฟื้นฟูและกายอุปกรณ์ • 30% สำหรับพัฒนาระบบและสนับสนุนบริการ • ให้ปรับปรุงการบริหารจัดการให้มีข้อมูลครบถ้วนมากขึ้น

  16. ประเด็นหลักในการปรับเปลี่ยนกรอบแนวทางบริหารงบเหมาจ่ายรายหัวปี 2552 (10) งบลงทุนเพื่อการทดแทนและซ่อมบำรุงปี 2552 (148.69 บาท/ปชก) งบซ่อมบำรุง 83% ภาครัฐสังกัด สป.สธ. ภาครัฐนอก สังกัด สป.สธ. ภาคเอกชน . ส่วนกลาง 10% เขต 30% จังหวัด 20% CUP 40% หน่วยบริการ หน่วยบริการ หน่วยบริการ

  17. การหักเงินเดือนหน่วยบริการภาครัฐ – ปี2552 • แยกเงินเดือนระหว่างหน่วยบริการสังกัด สป.สธ. และ หน่วยบริการรัฐสังกัดอื่น • ให้หักเงินเดือนเพิ่มเพื่อให้มีงบสำหรับสำหรับสนับสนุนบริการปฐมภูมิและตติยภูมิขั้นสูง จำนวน 715 ล้านบาท เพิ่มเติมในอัตราเท่ากันทั้งหน่วยงานสังกัด สป.สธ. และรัฐอื่นๆ โดย • หัก 300 ล้านบาท สำหรับสนับสนุนบริการปฐมภูมิจากบริการ OP ในอัตราต่อหัวประชากร • หัก 415 ล้านบาท สำหรับสนับสนุนบริการตติยภูมิขั้นสูงจากบริการ IP ในอัตราต่อน้ำหนักสัมพัทธ์ที่บริการ • วิธีการ 3.1 สำหรับหน่วยบริการสังกัด สป.สธ. ให้หักในภาพรวมระดับจังหวัด • 3.2 สำหรับหน่วยบริการรัฐสังกัดอื่น(ยกเว้น สป.สธ.) ให้หักเป็น % ตามรายรับที่ได้รับ โดย • หักจากรายรับค่าบริการ OP, PP ร้อยละ 33 • หักจากรายรับบริการ IP ร้อยละ 23ของอัตราจ่ายต่อน้ำหนักสัมพัทธ์ที่ให้บริการ

  18. กรอบการบริหารจัดการงบอัตราเหมาจ่ายสำหรับหน่วยบริการสังกัด สป.สธ. • สำหรับระดับประเทศ 1.1 ไม่ให้มีการเกลี่ยงบระหว่างรายการบริการ ( OP, IP, PP) 1.2 การกำหนดกรอบการจัดสรรรวมทั้งการกันเงินระดับจังหวัดและ/หรือระดับเขตในรายละเอียดให้มีคณะทำงานร่วมระหว่าง สปสช.กับ สป. 2. สำหรับระดับจังหวัดและ/หรือระดับเขต สปสช. 2.1 ให้มีการปรับเกลี่ยระหว่าง CUP ได้ตามความจำเป็นไม่เกินร้อยละ 20 2.2 ให้กันงบไว้ที่ระดับจังหวัดและ/หรือระดับเขตฯ รวมกันได้ไม่เกินร้อยละ 10 ของภาพรวมจังหวัด(งบ OP-ทั่วไป, IP-ทั่วไป และ PP-expressed) โดยให้กันมาจากงบรายการ OP-ทั่วไปเท่านั้นและให้มีระบบรายงานการใช้จ่ายเงินกันไว้ที่ระดับจังหวัดหรือระดับเขต 2.3 การปรับเกลี่ยตามข้อ 2.1 และการกันงบตามข้อ 2.2 ต้องให้หน่วยบริการทุกระดับมีส่วนร่วมในการจัดทำข้อเสนอ และเสนอให้คณะอนุกรรมการหลักประกันสุขภาพระดับเขตพื้นที่พิจารณาเห็นชอบ

More Related