1 / 22

นำเสนอต่อ ผู้บริหารของ กรม สุขภาพจิต วันที่ 20 กันยายน 2548

โครงการ พัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ ปีงบประมาณ 2548 การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่องเข้าสู่ การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ. นำเสนอต่อ ผู้บริหารของ กรม สุขภาพจิต วันที่ 20 กันยายน 2548. ประเด็นนำเสนอ. ความเป็นมาของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ

yovela
Télécharger la présentation

นำเสนอต่อ ผู้บริหารของ กรม สุขภาพจิต วันที่ 20 กันยายน 2548

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ปีงบประมาณ2548การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่องเข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ นำเสนอต่อ ผู้บริหารของกรมสุขภาพจิต วันที่ 20 กันยายน 2548

  2. ประเด็นนำเสนอ • ความเป็นมาของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ • วัตถุประสงค์ของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ • เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ • วัตถุประสงค์ของการส่งเสริมส่วนราชการนำร่องเข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ • ประโยชน์ที่หน่วยงานนำร่องจะได้รับ • ขั้นตอนและระยะเวลาดำเนินงาน • ค่าใช้จ่ายและสถานที่ • ถาม-ตอบ

  3. 1 ความเป็นมาของการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ Good Governance พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 มาตรา 3/1 Efficiency Value-for-money Effectiveness Quality Accountability พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 Participation Transparency Responsiveness Decentralization แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. 2546 - พ.ศ. 2550) Rule of law

  4. องค์กรที่มุ่งเน้นยุทธศาสตร์องค์กรที่มุ่งเน้นยุทธศาสตร์ Strategy-focused Organization การบริหารกระบวนการ ประสิทธิภาพ efficiency ลดรอบระยะเวลาดำเนินการ การพัฒนาขั้นตอนการทำงานให้ดีขึ้น ลดต้นทุน & ความสูญเสีย Reengineering Lean Enterprise Six Sigma TQM เพิ่มผลผลิต กระบวนการบริหารลูกค้า การบริหารการเปลี่ยนแปลง Change Management คุณภาพ quality เพิ่มคุณค่า Value Creation สร้างความพึงพอใจ การดูแลผู้รับบริการ มีความไว้วางใจ ความโปร่งใส มีส่วนร่วม effectiveness ขีดสมรรถนะ capacity-building การวางระบบบริหารจัดการสินทรัพย์ที่จับต้องไม่ได้ มีความพร้อมเชิง ยุทธศาสตร์ ทุนมนุษย์ ทุนข้อมูลสารสนเทศ & ทุนความรู้ ทุนองค์กร

  5. การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ การดำเนินงานที่ผ่านมา การดำเนินงานขั้นต่อไป การเตรียมพร้อมเพื่อยกระดับและพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการบริหารงานภาครัฐ วางยุทธศาสตร์ • ให้มีการจัดทำแผนบริหารราชการแผ่นดิน • แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี • สร้างกลไกการผลักดัน การนำยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติ โดยเชื่อมโยงยุทธศาสตร์กับการวัดผลสัมฤทธิ์ครอบคลุม 4 มิติ และให้มีการทำคำรับรองฯ ภาครัฐ ภาคเอกชน รางวัล คุณภาพ การบริหาร จัดการ ภาครัฐ รางวัลคุณภาพ แห่งชาติ (TQA) นำยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติ • ให้มีการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี/รายปี • วางวิธีการจัดสรรงบประมาณ • การปรับแต่งองคาพยพของระบบราชการ: • กระบวนงาน • โครงสร้าง • เทคโนโลยี • คน • เพื่อผลักดันการทำงานตามยุทธศาสตร์ เกณฑ์ คุณภาพ การบริหาร จัดการ ภาครัฐ การควบคุมเชิงยุทธศาสตร์ MBNQA MBNQA + พรฎ. GG • วางระบบให้มีการประเมินผลตนเอง การตรวจสอบผลการดำเนินการตามคำรับรอง การวางระบบการบริหารการเงิน การคลัง (GFMIS)

  6. 2 วัตถุประสงค์การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ • เพื่อยกระดับคุณภาพการปฏิบัติงานของภาครัฐให้สอดคล้องกับพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 • เพื่อให้หน่วยงานภาครัฐนำไปใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการของหน่วยงานสู่ระดับมาตรฐานสากล • เพื่อใช้เป็นกรอบแนวทางในการประเมินตนเอง และเป็นบรรทัดฐานการติดตามและประเมินผลการบริหารจัดการของหน่วยงานภาครัฐ

  7. 3 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ สร้างความเชื่อมโยงกับพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 พรฎ. ตัวผลักดันให้เกิดผลลัพธ์(เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) ผลลัพธ์ 1. เกิดประโยชน์สุข ของประชาชน 2. เกิดผลสัมฤทธิ์ ต่อภารกิจของรัฐ 3. ประสิทธิภาพ และคุ้มค่า 4. ลดขั้นตอน การปฏิบัติงาน 5. ปรับปรุงภารกิจ ของส่วนราชการ 6. อำนวยความสะดวก ให้กับประชาชน 7. ประเมินผล การปฏิบัติราชการ การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ การมุ่งเน้น ทรัพยากร บุคคล ประสิทธิผล การนำ องค์กร คุณภาพ การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การจัดการ กระบวนการ ประสิทธิภาพ พัฒนาองค์กร การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้

  8. ส่วนราชการทราบจุดแข็งและโอกาสในการปรับปรุงส่วนราชการทราบจุดแข็งและโอกาสในการปรับปรุง การประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self-Assessment) 1 2 ดำเนินการปรับปรุง สร้างแผนปรับปรุง 3 4 บูรณาการเครื่องมือและโครงการต่าง ๆ ในการพัฒนาระบบราชการ (Management Tools and Projects) ประโยชน์ต่อส่วนราชการ

  9. Yes การแบ่งปันวิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice Sharing) No ได้รับรายงานป้อนกลับ ส่วนราชการทราบจุดแข็งและโอกาสในการปรับปรุง การประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self-Assessment) 1 2 ดำเนินการปรับปรุง สร้างแผนปรับปรุง 3 4 บูรณาการเครื่องมือและโครงการต่าง ๆ ในการพัฒนาระบบราชการ (Management Tools and Projects) การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ” ได้รับรางวัล และ/หรือได้รับการประกาศเกียรติคุณ สมัครเข้ารับรางวัล PMQA

  10. 4 วัตถุประสงค์ของการส่งเสริมส่วนราชการนำร่องเข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ สร้างความพร้อมให้ส่วนราชการนำร่อง เพื่อเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่การพัฒนาคุณภาพบริหารจัดการภาครัฐ

  11. 5 ประโยชน์ที่หน่วยงานนำร่องจะได้รับ • ได้เรียนรู้ระบบการพัฒนาคุณภาพบริหารจัดการภาครัฐก่อนหน่วยงานอื่น • ได้รับทราบสภาพองค์กรในปัจจุบัน ทราบจุดอ่อน และโอกาสในการปรับปรุงขององค์กร เพื่อการปรับปรุงพัฒนาตนเอง (Improvement Action Plan) • ได้เอกสารรายงานการดำเนินการบริหารจัดการขององค์กร ตามเกณฑ์คุณภาพ (Application Report)

  12. คำรับรองการปฏิบัติราชการคำรับรองการปฏิบัติราชการ แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี (แผนบริหารราชการแผ่นดิน) ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล พัฒนา องค์กร คุณภาพ Vision Mission Strategic เป้าประสงค์ การปรับกระบวนทัศน์ (I am Ready) ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล แผนแม่บทด้านทรัพยากรบุคคล 3-5 ปี (Competency) ระบบควบคุมภายใน 1. การนำ องค์กร 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ Blueprint for Change 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ Redesign Process การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติงาน Capacity Building 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ Knowledge Management e-government MIS เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ

  13. 6 ขั้นตอน & ระยะเวลาดำเนินงาน 1. ขั้น เตรียมการ 2. ขั้นตอน ดำเนินการ 3. ขั้นทบทวนผลการดำเนินงานโครงการ

  14. 1. ขั้นเตรียมการ • เข้าพบฝ่ายบริหารของกรมนำร่อง • จัดตั้งคณะทำงาน • เปิดโครงการ • ปูพื้นฐานให้คณะทำงาน และชี้แจงขั้นตอนการทำงาน

  15. Steering Committee ผู้บริหารสูงสุด ประธาน ผู้บริหารระดับรอง ผู้บริหารระดับรอง ผู้บริหารระดับรอง รองประธาน หน้าที่: สนับสนุน Working Team ในการดำเนินการ จัดสรรทรัพยากรสำหรับดำเนินการตามแผนปรับปรุง และสื่อสารให้ทุกคนในองค์กรตระหนักถึงความสำคัญของการใช้เกณฑ์มาปรับปรุงองค์กร

  16. Working Team< 20 คน รองประธานSteering Committee Category Champion 1…2.3 Category Champion 6 Members Members หน้าที่: ดำเนินการประเมินองค์กรด้วยตนเอง และเขียน Application Report ระบุจุดแข็ง โอกาสในการปรับปรุง และกำหนดแผนการปรับปรุง

  17. 2. ขั้นตอนดำเนินการ • แบ่งกลุ่มทำ workshop เป็น 6 กลุ่มตามหมวด • workshop ให้ตอบตามตาราง template โดยมี workshop10 ครั้ง

  18. 3. ขั้นตอนการทบทวนผลการดำเนินโครงการ • ทบทวนการเขียนเอกสารรายงานการดำเนินการบริหารจัดการ • ทบทวนการประเมินหา Strength กับ OFI • สรุปผลการดำเนินโครงการ

  19. Yes การแบ่งปันวิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice Sharing) No ได้รับรายงานป้อนกลับ การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ได้รับรางวัล และ/หรือได้รับการประกาศเกียรติคุณ สมัครเข้ารับรางวัล PMQA ส่วนราชการทราบจุดแข็งและโอกาสในการปรับปรุง การประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self-Assessment) 1 2 Grooming (Workshop 0-7) Implementation and another round of SA(2549) ApplicationReport Draft Application Report Improvement Result Improvement Action Plan Grooming (Workshop 8-10) ปรับปรุงเกณฑ์ ดำเนินการปรับปรุง สร้างแผนปรับปรุง 3 4 บูรณาการเครื่องมือและโครงการต่าง ๆ ในการพัฒนาระบบราชการ (Management Tools and Projects)

  20. 7 ค่าใช้จ่าย & สถานที่ • ค่าใช้จ่าย (ไม่เกิน 20 ท่าน) • สำนักงาน ก.พ.ร. เป็นผู้รับผิดชอบ • สถานที่ (โดยส่วนใหญ่จะจัดที่โรงแรม) • อาหาร • อุปกรณ์ และเอกสาร • วิทยากร • สำหรับค่าเบี้ยเลี้ยง ค่าเดินทาง หรือค่าใช้จ่ายอื่นๆ ที่เกิดนอกเหนือจากที่กล่าวข้างต้น ทางหน่วยงานนำร่องจะเป็นผู้รับผิดชอบ

  21. ... ถาม – ตอบ ... ..Q.&.A..

More Related