1 / 61

พฤติกรรมสารสนเทศ information behavior

พฤติกรรมสารสนเทศ information behavior. พฤติกรรมสารสนเทศ. พฤติกรรมทั้งมวลของบุคคลหนึ่ง ซึ่งเชื่อมโยงบุคคลนั้นให้เข้าถึงแหล่งสารสนเทศต่างๆ พฤติกรรมสารสนเทศมีความหมายกว้างและเป็นการมองกิจกรรมของมนุษย์ในระดับมหภาค. การศึกษาพฤติกรรมสารสนเทศ.

Télécharger la présentation

พฤติกรรมสารสนเทศ information behavior

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. พฤติกรรมสารสนเทศinformation behavior

  2. พฤติกรรมสารสนเทศ • พฤติกรรมทั้งมวลของบุคคลหนึ่ง ซึ่งเชื่อมโยงบุคคลนั้นให้เข้าถึงแหล่งสารสนเทศต่างๆ พฤติกรรมสารสนเทศมีความหมายกว้างและเป็นการมองกิจกรรมของมนุษย์ในระดับมหภาค

  3. การศึกษาพฤติกรรมสารสนเทศการศึกษาพฤติกรรมสารสนเทศ • ค.ศ.1984 ได้มีการนำเสนอผลการศึกษาพฤติกรรมของนักวิทยาศาสตร์และนักเทคโนโลยีในการแสวงหาสารสนเทศจากมุมมองของสถาบันบริการสารสนเทศและผู้ให้บริการสารสนเทศ

  4. แนวคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมสารสนเทศแนวคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมสารสนเทศ • ความต้องการสารสนเทศนำไปสู่พฤติกรรมสารสนเทศที่แตกต่างกันอย่างไรก็ตามผู้ที่มีความต้องการสารสนเทศอาจจะไม่ได้แสวงหาสารสนเทศเสมอไป เพราะอาจจะเกิดภาวะที่ขัดขวางหรือเป็นอุปสรรคอันทำให้ไม่สามารถแสวงหาสารสนเทศที่สนองตอบความต้องการของตนได้ เช่น ภาวะจิตใจ ภาวะแวดล้อม

  5. ความสัมพันธ์ระหว่าง • พฤติกรรมสารสนเทศ • พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ • พฤติกรรมการค้นหาสารสนเทศ

  6. พฤติกรรมสารสนเทศinformation behavior • พฤติกรรมโดยรวมของมนุษย์ที่เกี่ยวข้องกับแหล่งและช่องทางการสื่อสารสนเทศ ซึ่งประกอบด้วยพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศและพฤติกรรมการค้นหาสารสนเทศ

  7. พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศinformation – seeking behavior • การแสวงหาสารสนเทศอย่างมีวัตถุประสงค์ อันเป็นผลมาจากความต้องการ ซึ่งในระหว่างการแสวงหาสารสนเทศจะต้องมีปฏิสัมพันธ์กับระบบสารสนเทศต่าง ๆ

  8. พฤติกรรมการค้นหาสารสนเทศInformation search behavior • พฤติกรรมระดับจุลภาคที่ผู้ค้นหาสารสนเทศมีปฏิสัมพันธ์กับระบบสารสนเทศ โดยเฉพาะ การใช้อุปกรณ์ การใช้เม้าส์ คีบอร์ด และการใช้ความคิดสติปัญญา ความรู้ในการสืบค้นสารสนเทศ การใช้ตรรกะบูลีน การตัดสินใจเลือกสารสนเทศ

  9. ตัวแบบพฤติกรรมสารสนเทศA model of information behavior • Wilson’s information behavior model • 1981

  10. Wilson’s information behavior model • พฤติกรรมสารสนเทศครอบคลุม พฤติกรรมการแสวงหาและพฤติกรรมการใช้สารสนเทศ • พฤติกรรมสารสนเทศเกิดจากความต้องการสารสนเทศ

  11. Wilson’s information behavior model • ผู้ใช้แสวงหาสารสนเทศโดยใช้ระบบหรือบริการสารสนเทศทั้งเป็นทางการและไม่เป็นทางการ • ในกระบวนการแสวงหาสารสนเทศ ผู้ใช้สามารถแลกเปลี่ยน (information exchange) และถ่ายโอนสารสนเทศไปยังผู้อื่นด้วย (information transfer)

  12. Wilson’s information behavior model • ผลของการแสวงหาสารสนเทศอาจจะสำเร็จหรือล้มเหลว เมื่อหาไม่พบอาจจะย้อนไปค้นหาอีกครั้ง • เมื่อได้สารสนเทศก็จะนำไปใช้ตามวัตถุประสงค์

  13. พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ Wilson1996

  14. ความต้องการสารสนเทศ • ความต้องการสารสนเทศนำไปสู่การแสวงหาสารสนเทศ ( person in context)

  15. ตัวแปรแทรกซ้อน • ซึ่งอาจจะเป็นตัวสนับสนุนหรือเป็นอุปสรรคต่อการแสวงหาสารสนเทศได้ ดังนี้

  16. ตัวแปรแทรกซ้อน • คุณลักษณะส่วนบุคคล (personal characteristic) เช่น อารมณ์ พุทธิพิสัย หรือปัญญา (cognitive) ระดับการศึกษา พื้นความรู้ของผู้แสวงหาสารสนเทศ • ด้านประชากร (demographic variable) อายุ เพศ

  17. ตัวแปรแทรกซ้อน • ตัวแปรเชิงสังคมหรือระหว่างบุคคล (social/interpersonal variable) เช่น ทัศนคติของผู้ให้บริการสารสนเทศ ลักษณะการแข่งขันในการทำงาน ฯลฯ

  18. ตัวแปรแทรกซ้อน • ตัวแปรด้านสิ่งแวดล้อม (environmental variable) เช่น เวลาที่ใช้ในการแสวงหาสารสนเทศ วัฒนธรรม หรือความเชื่อพื้นฐานที่ส่งผลต่อการแสวงหาสารสนเทศ • คุณลักษณะของแหล่งสารสนเทศ (information source characteristics) การเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ ความน่าเชื่อถือของแหล่งสารสนเทศ

  19. ตัวกระตุ้นที่ก่อให้เกิดการแสวงหาสารสนเทศActivating mechanism • ความเครียดและปัญหาที่เผชิญ • ความเสี่ยงหรือรางวัล • การเรียนรู้ทางสังคม

  20. ความเครียดและปัญหา • ทำให้ต้องแสวงหาสารสนเทศเพื่ออธิบายปัญหาและลดความเครียด

  21. ความเสี่ยงและรางวัล • การแสวงหาสารสนเทศเป็นการลงทุนอย่างหนึ่งทั้งในเรื่องของเวลา แรงงาน สมอง และอื่นๆ ซึ่งเป็นความเสี่ยงอย่างหนึ่ง ดังนั้น ผู้แสวงหาสารสนเทศก็ต้องพิจารณาและตัดสินใจว่าคุ้มค่าหรือไม่

  22. ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคมทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคม • การรับรู้สมรรถนะของตนเอง (perceived self-efficacy) คือสภาวะการรับรู้ความสามารถในการแสวงหาสารสนเทศของตนเองเพื่อแก้ปัญหาและตัดสินใจต่างๆไม่ว่าจะเป็นการแสวงหาด้วยตนเอง หรือการเรียนรู้จากผู้อื่น เป็นต้น

  23. Dervin’s sense-making theory1983, 1996

  24. Dervin's 'sense-making' triangle. • สถานการณ์ ซึ่งขึ้นอยู่กับเวลาและสถานที่ • ช่องว่างซึ่งทำให้เกิดความไม่แน่ใจในเรื่องต่างๆ • ผลลัพธ์ซึ่งได้จากระบวนการตัดสินใจ

  25. จากรูปแบบสามเหลี่ยมการตัดสินใจของ Dervin’ sense making เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมสารสนเทศดังนี้ • เมื่อเกิดสถานการณ์ที่เป็นปัญหา • นำไปสู่การใช้สารสนเทศเพื่อลดความไม่แน่ใจและความสับสนต่างๆ • ทำให้ได้ผลลัพธ์จากการใช้สารสนเทศให้เป็นประโยชน์

  26. จากรูปแบบสามเหลี่ยมการตัดสินใจของ Dervin’ sense making เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมสารสนเทศในระดับจุลภาคโดยนำมาใช้สถานการณ์การบริการสารสนเทศ ดังนี้ • เมื่อผู้ใช้บริการตอบคำถามสอบถาม • บรรณารักษ์งานบริการสามารถสัมภาษณ์และซักถาม • ทำให้ได้เข้าใจปัญหาชัดเจนสามารถให้คำตอบได้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้

  27. David Ellis, 1989, 1993

  28. กิจกรรมการแสวงหาสารสนเทศกิจกรรมการแสวงหาสารสนเทศ การเริ่มต้น Starting: the means employed by the user to begin seeking information, for example, asking some knowledgeable colleague; การเชื่อมโยง Chaining: following footnotes and citations in known material or 'forward' chaining from known items through citation indexes;

  29. การสำรวจ Browsing: 'semi-directed or semi-structured searching' (Ellis, 1989: 187) • การแยกแยะความแตกต่าง Differentiating: using known differences in information sources as a way of filtering the amount of information obtained; • การติดตามMonitoring: keeping up-to-date or current awareness searching;

  30. การดึงหรือเลือกสารสนเทศออกมา Extracting: selectively identifying relevant material in an information source; การตรวจสอบ Verifying: checking the accuracy of information; การสิ้นการสืบค้น Ending: which may be defined as 'tying up loose ends' through a final search.

  31. การแยกกิจกรรมการแสวงหาสารสนเทศของ Ellis • ระดับจุลภาค micro-analysis of search behaviour (starting, chaining, extracting, verifying, ending) • ระดับมหาภาค macro-analysis of information behaviour generally (browsing, monitoring, differentiating)

  32. David Ellis, 1989 • พฤติกรรมหลายอย่างที่เกี่ยวข้องกับการแสวงหาสารสนเทศ ซึ่งกิจกรรมหลายอย่างเกิดขึ้นอาจจะไม่เรียงลำดับ และในแต่ละสถานการณ์ จะมีกิจกรรมแตกต่างกัน

  33. Kuhlthau model of the information search process (ISP) • Originally studying pupils & undergraduates but subsequently looking at other user groups as well, Kuhlthau (1991, 2004) formulated a six-stage information search process (ISP), each stage representing differing needs, behaviors, and cognitive and affective states

  34. Kuhlthau six stages • Initiation: user “becomes aware of a lack of knowledge or understanding” • Selection: user needs to “identify and select the general topic to be investigated” • Exploration: user needs to “investigate information on the general topic in order to extend personal understanding” • Formulation: user forms “a focus from the information encountered” • Collection: user needs “to gather information related to the focused topic” • Presentation: user completes the search and presents findings

  35. Kuhlthau model (cont.) Each stage – task - in the information search process incorporates three realms: • Affective(feelings) • Cognitive(thoughts) • Physical(actions) “The process of information seeking involves construction in which the user actively pursues understanding and seeks meaning from the information encountered over a period of time.” Links the process to reduction of uncertainty

  36. Tasks Initiation Selection Exploration Formulation Collection Presentation ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------→ Feelings uncertainly optimism confusion clarity sense of satisfaction or (affective) frustration direction/ disappointment doubt confidence Thoughts vague-------------------------------------→focused (cognitive) -----------------------------------------------→ increased interest Actions seeking relevant information----------------------------→seeking pertinent information (physical) exploring documenting Kuhlthau model (cont.)

  37. Kuhlthau’s search stages & feelings

  38. จิตพิสัย (Affective Domain) • เป็นพฤติกรรมทางด้านจิตใจซึ่งจะเกี่ยวกับค่านิยมความรู้สึกความซาบซึ้งทัศนคติความเชื่อความสนใจและคุณธรรมพฤติกรรมของผู้เรียนในด้านนี้อาจจะไม่เกิดขึ้นทันทีดังนั้นการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนจะต้องใช้วิธีปลูกฝังโดยจัดสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมและสอดแทรกสิ่งที่ดีงามอยู่ตลอดเวลาเพื่อทำให้พฤติกรรมของผู้เรียนเปลี่ยนไปในแนวทางที่พึงประสงค์ด้านจิตพิสัยจะประกอบด้วยพฤติกรรมย่อยๆ 5 ระดับได้แก่

  39. 1. การรับรู้ ... เป็นความรู้สึกที่เกิดขึ้นต่อปรากฎการณ์หรือสิ่งเร้าอย่างใดอย่างหนึ่งซึ่งเป็นไปในลักษณะของการแปลความหมายของสิ่งเร้านั้นว่าคืออะไรแล้วจะแสดงออกมาในรูปของความรู้สึกที่เกิดขึ้น

  40. 2. การตอบสนอง ... เป็นการกระทำที่แสดงออกมาในรูปของความเต็มใจยินยอมและพอใจต่อสิ่งเร้านั้นซึ่งเป็นการตอบสนองที่เกิดจากการเลือกสรรแล้ว

  41. 3. การเกิดค่านิยม ... เป็นการเลือกปฏิบัติในสิ่งที่เป็นที่ยอมรับกันในสังคมซึ่งจะแสดงออกมาในรูปของการยอมรับนับถือในคุณค่านั้นๆหรือปฏิบัติตามในเรื่องใดเรื่องหนึ่งจนกลายเป็นความเชื่อแล้วจึงเกิดทัศนคติที่ดีในสิ่งนั้น

  42. 4. การจัดรวบรวม ... เป็นการสร้างแนวคิดและจัดระบบของค่านิยมที่เกิดขึ้นซึ่งจะรวบรวมค่านิยมเหล่านั้นโดยอาศัยความสัมพันธ์กับสิ่งที่ยึดถือเพื่อใช้เป็นหลักในการพิจารณาในเรื่องต่างๆถ้าเข้ากันได้ก็จะยึดถือต่อไปแต่ถ้าขัดกันอาจไม่ยอมรับค่านิยมใหม่หรืออาจจะยอมรับค่านิยมใหม่โดยยกเลิกค่านิยมเก่าไปก็ได้

  43. 4. การจัดรวบรวม ... เป็นการสร้างแนวคิดและจัดระบบของค่านิยมที่เกิดขึ้นซึ่งจะรวบรวมค่านิยมเหล่านั้นโดยอาศัยความสัมพันธ์กับสิ่งที่ยึดถือเพื่อใช้เป็นหลักในการพิจารณาในเรื่องต่างๆถ้าเข้ากันได้ก็จะยึดถือต่อไปแต่ถ้าขัดกันอาจไม่ยอมรับค่านิยมใหม่หรืออาจจะยอมรับค่านิยมใหม่โดยยกเลิกค่านิยมเก่าไปก็ได้

  44. 5. สร้างลักษณะนิสัยตามค่านิยมที่ยึดถือ ... เป็นการนำค่านิยมที่ยึดถือนั้นมาใช้เป็นตัวควบคุมพฤติกรรมที่เป็นนิสัยประจำตัวของตนให้ประพฤติปฏิบัติแต่สิ่งที่ถูกต้องดีงาม

More Related