1 / 12

ความแม่นยำ (accuracy)

ความแม่นยำ (accuracy). ก่อนดำเนินการสุ่มงาน ต้องกำหนดเปอร์เซ็นต์ความแม่นยำ (หรือความ คลาดเคลื่อน) ที่เราต้องการ (desire relative accuracy, s) เสียก่อน. ค่า s ยิ่งน้อย ยิ่งดี แต่ยิ่งน้อยก็ยิ่งต้องเก็บข้อมูลมาก. ที่นิยมกันคือ 5 % และ 10%. ที่ระดับความเชื่อมั่น 95 % จะได้ว่า.

amiel
Télécharger la présentation

ความแม่นยำ (accuracy)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ความแม่นยำ(accuracy) ก่อนดำเนินการสุ่มงาน ต้องกำหนดเปอร์เซ็นต์ความแม่นยำ (หรือความ คลาดเคลื่อน) ที่เราต้องการ(desire relative accuracy, s) เสียก่อน ค่า s ยิ่งน้อย ยิ่งดี แต่ยิ่งน้อยก็ยิ่งต้องเก็บข้อมูลมาก ที่นิยมกันคือ 5% และ 10% ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% จะได้ว่า

  2. แม้จะกำหนด s แล้ว แต่ก็ยังติดตัวแปร 2 ตัวคือ p กับ n เพื่อที่จะหา n ได้ จำเป็นต้องประมาณค่า p เริ่มต้น จงหาเปอร์เซ็นต์การว่างของเครื่องจักร และจำนวนครั้ง ในการสุ่มงาน เพื่อให้มี desired accuracy + 5% และ confidence level 95% ตัวอย่าง 2 เริ่มต้น จะต้องประมาณค่า p ก่อน สมมติทดลองสุ่มงาน 100 ครั้ง พบว่าเครื่องว่าง 25 ครั้ง ดังนั้นเปอร์เซ็นต์เครื่องว่าง = 25%

  3. จาก นั่นคือ แทนค่า ครั้ง สมมติสุ่มต่อไปจนถึง 500 ครั้ง พบว่าเครื่องว่าง 150 ครั้ง

  4. ใช้สูตรเดิม ได้ n = 3733 ครั้ง สุ่มเพิ่มอีก … พร้อมกันนั้น อาจตรวจสอบควบคู่ไปด้วยว่า desire accuracy ที่ได้ มีค่า น้อยกว่าหรือเท่ากับค่าที่ต้องการหรือยัง ถ้าน้อยกว่าก็หยุดสุ่ม สมมติสุ่มครบ 4000 ครั้ง พบว่าเครื่องว่าง 1400 ครั้ง นั่นคือ p = 0.35 ตรวจสอบ s จะได้ s = + 0.043

  5. เนื่องจาก + 0.043 น้อยกว่า + 0.05 แสดงว่าจำนวนตัวอย่างเพียงพอแล้ว ตัวอย่างนี้สรุปได้ว่า… เรามีความเชื่อมั่น 95% ที่เครื่องจักรจะว่างงานเท่ากับ 35% ของเวลางาน ทั้งหมด s = + 4.3% หมายความว่าเปอร์เซ็นต์การว่างงานที่ได้ (คือ 35%) มีความ คลาดเคลื่อน 4.3% ดังนั้น เปอร์เซ็นต์ความคลาดเคลื่อนจึงเท่ากับ ( + 4.3)(35) = + 1.5% นั่นคือ

  6. (s)(p) เรียกว่า absolute error กำหนดให้ accuracy = + 5% Confidence level = 95% ให้หา absolute error ที่ p = 1%, 5%, 10%, 50% ตัวอย่าง 3 Absolute error สำหรับ acc. ที่ p = 1% เท่ากับ (5)(0.01) = 0.05% ที่ p = 5% จะได้ abs. error = 0.25% ที่ p = 10% จะได้ abs. error = 0.50% ที่ p = 50% จะได้ abs. error = 2.50%

  7. ความสัมพันธ์ระหว่าง p กับ n ตัวอย่างการหาเวลาไปสุ่มงาน สมมติทำงานวันละ 1 กะ 08:00 - 17:00 น. Organization rest periods : 10:00 - 10:10 น. และ 15:00 - 15:10 น. สมมติต้องไปสุ่ม 10 ครั้ง เฉลี่ยห่างกันครั้งละ 540/10 = 54 นาที

  8. เวลาพัก คือนาทีที่ 121-130, 241 - 300, และ 421 - 430 แปลงเป็นเวลานาฬิกา

  9. การคำนวณเวลามาตรฐานโดยวิธี Work Sampling Work sampling จะเหมาะสำหรับตรวจสอบการปฏิบัติงานที่เป็น long-cycle operations หรืองานที่ทำโดยกลุ่มคน หรืองานที่ไม่สะดวกต่อการจับเวลา ถ้าเป็น short-cycle op. ควรใช้วิธีจับเวลา หรือ standard data หรือpredetermine จะเหมาะสมกว่า

  10. Standard time per piece

More Related